SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 22
การทาหมันในเพศชายและหญิง
กลุ่มที่ 4
งานนี้เป็นส่วนนึงของวิชาชีววิทยา (ว30244)
ระดับชั้น ม.5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการ (คศ.2)
สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
สมาชิกกลุ่มที่ 4 ห้อง 335
นายณชพล สุวินทรากร เลขที่ 26
นายปรวัฒน์ ปรีชาวุฒิเดช เลขที่ 33
นายภูวิช ป้อมพิมพ์ เลขที่ 34
นายพัสกร ลีลานันทกิจ เลขที่ 35
นายเมธัส วังอรรครัชต์ เลขที่ 38
คานา
งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 3 (ว30244) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง
335 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อนาเสนอข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับการทาหมันใน
หญิงและชาย เช่น วิธีการทาหมันในหญิงและชาย ความเสี่ยงที่เกิดจากการทาหมันในหญิงและชาย เป็น
ต้น
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า งานนาเสนอชิ้นนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการ
ทาหมันในหญิงและชายไม่มากก็น้อย
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
คานา
สารบัญ
การทาหมันคืออะไร
จุดประสงค์ของการทาหมัน
การทาหมันชาย
ขั้นตอนในการทาหมันชาย
การเตรียมตัวก่อนการทาหมันชาย
การดูแลหลังการทาหมันชาย
ผลข้างเคียงของการทาหมันชาย
ประสิทธิภาพของการทาหมันชาย
การทาหมันหญิง
ขั้นตอนในการทาหมันหญิง
การเตรียมตัวก่อนการทาหมันหญิง
การดูแลหลังการทาหมันหญิง
ผลข้างเคียงของการทาหมันหญิง
ประสิทธิภาพของการทาหมันหญิง
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ก
ข
1
1
2
2
3
4
5
6
7
7
8
9
10
10
11
12
การทาหมัน คืออะไร
ทาหมัน (Female/Male Surgical Sterilization) เป็นวิธีคุมกาเนิดแบบถาวรสาหรับผู้ชายและผู้หญิง โดยทางการแพทย์
หมายถึงการป้องกัออสุจิหรือสเปิร์มเข้าไปปฏิสนธิกับไข่จนเกิดการฝังตัวขึ้นในโพรงมดลูกของผู้หญิง ทาให้เกิดการตั้งครรภ์ขึ้นในอนาคต ซึ่งถือว่า
เป็นวิธีคุมกาเนิดที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพและป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่าวิธีอื่น
จุดประสงค์ในการทาหมัน
การทาหมันเป็นการคุมกาเนิดถาวรสาหรับผู้ใหญ่วัยเจริญพันธุ์ที่ไม่ต้องการจะมีบุตรด้วยหลายเหตุผล อาจเป็นความสมัครใจในการ
เลือกคุมกาเนิดระหว่างคู่ครองกันเอง บางรายหากเกิดการตั้งครรภ์อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพของฝ่ายหญิง หรือไม่ต้องการถ่ายทอดความผิดปกติ
ทางด้านพันธุกรรมของพ่อแม่ไปยังบุตร
การทาหมันในผู้ชายเรียกว่า การทาหมันชาย (Vasectomy/Male Surgical Sterilization) และการทาหมันในผู้หญิงเรียกว่า การทาหมัน
หญิง (Tubal Ligation/Female Surgical Sterilization) โดยหลักการถือว่าเป็นการคุมกาเนิดแบบถาวรเหมือนกัน แต่แตกต่างกันใน
รายละเอียด
ขั้นตอนในการทาหมันชาย
การทาหมันชายเป็นการคุมกาเนิดถาวรด้วยการตัดและผูกท่อนาอสุจิ เพื่อป้องกันตัวอสุจิจากอัณฑะเคลื่อนไปผสมกับน้าเลี้ยงอสุจิ
และไปยังท่อปัสสาวะ ซึ่งจะปล่อยออกมาเมื่อถึงจุดสุดยอดขณะมีเพศสัมพันธ์ ทาให้น้าอสุจิที่หลั่งออกมาไม่มีตัวอสุจิ จึงไม่เกิดการปฏิสนธิเกิดขึ้น
การทาหมันชาย
การทาหมันชายมีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก ใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที อาจทาในโรงพยาบาลหรือคลินิก โดยแพทย์หลายสาขาซึ่งวิธีการทาหมันชายที่นิยมทาใน
ปัจจุบันมี 2 วิธี
การทาหมันชายแบบดั้งเดิม (Conventional Vasectomy) ในขั้นตอนแรกแพทย์จะทาความสะอาดบริเวณลูกอัณฑะและถุงอัณฑะด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ใน
บางรายอาจต้องโกนขนบริเวณนั้นให้เรียบร้อย รวมทั้งต้องรับประทานยาหรือฉีดยาที่ช่วยให้ผู้เข้ารับการผ่าตัดผ่อนคลาย จากนั้นแพทย์จะคลาหาท่อนา
อสุจิบริเวณถุงอัณฑะ เพื่อหาตาแหน่งในการผ่าตัดและฉีดยาชา ก่อนกรีดเปิดผิวหนัง 1-2 แผลยาวประมาณ 1 เซนติเมตร จากนั้นจึงลงมือตัดและผูกท่อนา
อสุจิ ก่อนเย็บปิดผิวหนังที่กรีดให้เรียบร้อย
การทาหมันเจาะ (Non-Scalpel Vasectomy/Nonsurgical Vasectomy) ขั้นตอนคล้ายกับวิธีแรก แต่แพทย์จะใช้เครื่องมือขนาดเล็กที่มีปลาย
แหลมเจาะผิวหนังเข้าไปตัดและผูกท่อนาน้าอสุจิแทนการใช้ใบมีดกรีดเปิดผิวหนัง ทาให้แผลมีขนาดเล็ก ไม่ต้องเย็บปิดแผล และเสี่ยงกับภาวะเลือดออกน้อย
กว่าการทาหมันชายแบบดั้งเดิม แต่ให้ผลค่อนข้างมีประสิทธิภาพเหมือนกัน
การเตรียมตัวก่อนการทาหมันชาย
การทาหมันชายสามารถทาได้ในทุกช่วงอายุ ในกรณีที่ผู้เข้ารับการผ่าตัดมีอายุไม่เกิน 30 ปีและยังไม่มีบุตร แพทย์อาจแนะนาไม่ให้
ทาหมัน เนื่องจากเป็นวิธีการคุมกาเนิดถาวรและหากต้องการมีบุตรภายหลังจะค่อนข้างยุ่งยาก วิธีการผ่าตัดแก้หมันนั้นซับซ้อน และการแก้หมัน
อาจไม่ประสบความสาเร็จ ดังนั้นจึงควรปรึกษาคู่ครองให้รอบคอบก่อนตัดสินใจ เมื่อได้ข้อสรุปว่าจะเข้ารับการผ่าตัด แพทย์จะอธิบายขั้นตอน
พร้อมพูดคุยกับผู้เข้ารับการผ่าตัดเกี่ยวกับรายละเอียดในการผ่าตัด ทั้งผลดี ผลเสีย ความเสี่ยงด้านสุขภาพหลังเข้ารับการผ่าตัด หรือวิธีคุมกาเนิด
อื่น ๆ ที่เหมาะสม
หากผู้เข้ารับการผ่าตัดมีโรคประจาตัวหรือรับประทานยาเป็นประจา ควรแจ้งให้แพทย์ทราบ รวมทั้งการใช้ยา สมุนไพร วิตามิน หรืออาหารเสริม
ในขณะนั้น และสภาวะความผิดปกติของร่างกายอื่น ๆ โดยทั่วไปแพทย์จะแนะนาให้หยุดรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดก่อนเข้ารับการ
ผ่าตัด ทั้งนี้ การเตรียมตัวก่อนมาโรงพยาบาลในวันที่เข้ารับการผ่าตัด ควรทาความสะอาดร่างกายให้เรียบร้อย และเตรียมกางเกงชั้นในที่สวมใส่
ได้กระชับ เพื่อช่วยปกป้องถุงอัณฑะ แต่ในบางราย แพทย์อาจมีคาแนะนาตามความเสี่ยงเฉพาะบุคคล
หลังการผ่าตัดสามารถกลับบ้านได้ภายในวันเดียวกัน ระยะเวลาการพักฟื้นจะอยู่ที่ประมาณ 1 สัปดาห์แต่
สามารถกลับไปทางานได้ปกติภายใน 1-3 วัน ขึ้นอยู่กับประเภทของงาน ในวันแรกหลังการทาหมันอาจมีอาการปวดและ
บวม จึงควรใช้ไอซ์แพคหรือไอซ์เจล (Ice Pack) ช่วยประคบ สวมใส่กางเกงชั้นในที่ช่วยปกป้องบริเวณถุงอัณฑะ
(Jockstrap) หลีกเลี่ยงการทากิจกรรมหรือการออกกาลังกายที่กระทบกระเทือนบริเวณที่ผ่าตัด และการยกของหนักใน
ช่วงแรกของการพักฟื้น
การทาหมันชายไม่ส่งผลต่อสมรรถภาพทางเพศ ผู้เข้ารับการทาหมันสามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ตามปกติหลังการผ่าตัดอย่าง
น้อย 1 สัปดาห์หรือแผลผ่าตัดหายดี อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องคุมกาเนิดด้วยวิธีอื่นจนกว่าจะได้รับการตรวจน้าเชื้อว่าไม่
พบตัวอสุจิ ซึ่งต้องกลับไปตรวจกับแพทย์อีกครั้งในช่วง 6-12 สัปดาห์ถัดมาหรือสามารถใช้ชุดตรวจสอบจานวนอสุจิ
สาเร็จรูป
หลังการผ่าตัดหากพบอาการดังต่อไปนี้ ควรรีบพบแพทย์ทันที
• อัณฑะบวม ปวด มีขนาดใหญ่มากขึ้น
• มีน้า เลือด อาการบวมแดง หรือหนองบริเวณแผลผ่าตัด
• มีไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว
• มีปัญหาในการปัสสาวะ
การดูแลหลังการทาหมันชาย
การทาหมันชายส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงร้ายแรง ผู้ชายส่วนใหญ่จะมีอาการเจ็บ ปวด บวม ความรู้สึก
ไวรอบ ๆ ถุงอัณฑะในช่วง 2-3 วันหลังการผ่าตัด แต่ในบางรายอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ค่อนข้างร้ายแรงขึ้นได้ เช่น
• เลือดออกและเกิดลิ่มเลือดบริเวณถุงอัณฑะ เป็นการคั่งของเลือดในเนื้อเยื่อรอบ ๆ เส้นเลือดที่ฉีกขาดบริเวณรอบท่อ
นาน้าอสุจิ มักจะมีปริมาณไม่มาก โดยปะปนออกมาในน้าอสุจิ แต่หากเกิดการคั่งของเลือดมากจะทาให้ถุงอัณฑะบวม และ
ก่อให้เกิดอาการปวด ซึ่งจาเป็นต้องกลับมาผ่าตัดแก้ไขอีกครั้ง
•ก้อนในถุงอัณฑะ การตัดท่อนาอสุจิในขณะทาหมันอาจทาให้เกิดการรั่วของตัวอสุจิเข้าไปในเนื้อเยื่อรอบ ๆ จึงส่งผลให้
เกิดการกระจุกของตัวอสุจิเป็นก้อน ส่วนมากไม่ค่อยมีอาการเจ็บปวด แพทย์อาจให้รับประทานยากลุ่มลดการอักเสบ ใน
กรณีที่ไม่ดีขึ้นอาจต้องใช้การผ่าตัดออก
•แผลติดเชื้อ หลังจากการทาหมันมีโอกาสติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นจากการที่แบคทีเรียเข้าสู่ร่างกายทางแผลผ่าตัด ดังนั้น จึง
ควรรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศและหลีกเลี่ยงไม่ให้แผลโดนน้า
•ปวดที่บริเวณอัณฑะเรื้อรัง โดยปกติหลังการผ่าตัดอาการปวดจะค่อย ๆ ดีขึ้นจนหายเป็นปกติ แต่ผู้เข้ารับการผ่าตัด
บางรายอาจมีอาการปวดในลักษณะเป็น ๆ หาย ๆ ไม่หายขาด และมีอาการปวดไม่มาก เนื่องจากระหว่างการผ่าตัดทา
หมันอาจเกิดการบาดเจ็บของเส้นประสาทหรือเส้นประสาทโดนบีบรัดได้
ผลข้างเคียงของการทาหมันชาย
การทาหมันชายเป็นวิธีคุมกาเนิดที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และปลอดภัย โอกาสที่จะเกิดการตั้งครรภ์
พบได้น้อยมาก โดยผู้หญิง 1,000 คนที่คู่สมรสทาหมันชายนั้นตั้งครรภ์เพียง 1-2 คนในช่วงปีแรก
อย่างไรก็ตาม การทาหมันไม่ได้ทาให้ผู้ชายเป็นหมันทันทีหลังการผ่าตัดและยังคงเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์อยู่ เพราะตัวอสุจิ
ตกค้างอยู่ในท่อนาอสุจิส่วนบน จึงควรคุมกาเนิดด้วยวิธีอื่นไปสักระยะจนกว่าจะเข้ารับการตรวจน้าเชื้อเพื่อยืนยันว่าไม่พบ
ตัวอสุจิ หรือในบางกรณีอาจเกิดความผิดพลาดระหว่างการผ่าตัดก็มีโอกาสทาให้ตัวอสุจิเล็ดลอดปนออกมาผสมกับน้าเชื้อ
ได้เช่นกัน แต่พบได้น้อยราย การทาหมันไม่ใช่วิธีการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป็นเพียงวิธีคุมกาเนิดเท่านั้น ซึ่ง
ผู้ชายสามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ปกติ โดยไม่มีผลต่อสมรรถภาพทางเพศ
ประสิทธิภาพของการทาหมันชาย
ขั้นตอนในการทาหมันหญิง
การทาหมันหญิงเป็นการคุมกาเนิดถาวรในผู้หญิงด้วยการตัดและผูกท่อนาไข่ หรือทาให้ท่อนาไข่ตีบตัน เช่น การใช้ยางรัด คลิปหนีบ
ใส่อุปกรณ์ขวางท่อนาไข่ หรือจี้ด้วยไฟฟ้า เพื่อป้องกันไข่เคลื่อนที่มาปฏิสนธิกับตัวอสุจิในโพรงมดลูกจนเกิดการตั้งครรภ์ขึ้น
การทาหมันหญิง
การทาหมันหญิงสามารถทาได้ทั้งที่โรงพยาบาลและคลินิก เป็นการผ่าตัดที่มีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก ใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที โดยสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายวิธี แต่หากแบ่ง
ตามช่วงเวลาในการทาหมันจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่
•การทาหมันหลังคลอด หรือที่เรียกว่า การทาหมันเปียก เป็นการทาหมันภายในช่วงเวลาประมาณ 24-36 ชั่วโมงหลังคลอดบุตร เนื่องจากการคลอดบุตรทาให้มดลูก
ลอยตัวและเห็นท่อนาไข่ได้ค่อนข้างชัด โดยแพทย์จะกรีดเปิดแผลที่หน้าท้องบริเวณใต้สะดือแล้วจึงตัดและผูกท่อนาไข่ แต่หากเป็นการผ่าคลอดจะทาไปพร้อมกับการผ่าคลอด
ด้วยวิธีการตัดและผูกท่อนาไข่เช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมกันมาก โดยทาทันทีเมื่อคลอดบุตรเรียบร้อยแล้ว
•การทาหมันปกติ หรือที่เรียกว่า การทาหมันแห้ง เป็นการทาหมันในช่วงเวลาใดก็ได้ หลักการมีความคล้ายคลึงกับการทาหมันหลังคลอด โดยขั้นตอนแรกคือฉีดยาชาเข้าไข
สันหลังหรือที่เรียกว่า บล็อกหลัง เพื่อช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวด ในบางรายอาจต้องดมยาสลบ ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวขณะเข้ารับการผ่าตัด ซึ่งเทคนิคในการทาหมันนี้
สามารถแยกออกได้เป็นหลายวิธีเช่น
• การผ่าตัดทางหน้าท้อง แพทย์จะกรีดเปิดแผลบริเวณสะดือ จากนั้นจึงตัดและผูกท่อนาไข่ (Minilaparotomy)
• การผ่าตัดผ่านกล้อง (Laparoscope) เมื่อยาสลบออกฤทธิ์ แพทย์จะเริ่มกรีดเปิดปากแผลบริเวณผนังหน้าท้องประมาณ 1-2 แผล โดยตาแหน่งมักอยู่
บริเวณใต้สะดือ และต้องใส่ก๊าซในช่องท้องระหว่างการผ่าตัด เพื่อช่วยให้แพทย์ผ่าตัดมองเห็นมดลูกและท่อนาไข่ได้ชัดเจนขึ้น แพทย์จะสอดอุปกรณ์และเครื่องมือ
พิเศษเข้าไปในช่องท้อง จากนั้นอาจใช้วิธีการจี้ไฟฟ้า การตัดท่อนาไข่ หรือใช้อุปกรณ์พิเศษในรูปแบบต่าง ๆ ไปรัดท่อรังไข่ให้ตีบตัน
• การทาให้ท่อนาไข่อุดตัน (Hysteroscopy/Hysteroscopic Sterilization) แพทย์จะสอดกล้องผ่านทางช่องคลอด พร้อมนาอุปกรณ์ขนาดเล็กเข้าไปวาง
ไว้บริเวณภายในท่อนาไข่ เพื่อทาให้เกิดพังผืดพันรอบอุปกรณ์ ซึ่งจะขวางทางการเคลื่อนตัวของไข่ไปยังโพรงมดลูก เทคนิคนี้จะใช้เฉพาะยาชาเฉพาะที่และจะยัง
ไม่เป็นหมันทันที เพราะต้องกลับมาตรวจยืนยันผลอีกครั้งว่าท่อนาไข่เกิดการอุดตันเรียบร้อยแล้วหรือไม่ จึงทาให้ต้องคุมกาเนิดด้วยวิธีอื่นไปสักระยะหากมี
เพศสัมพันธ์
การเตรียมตัวก่อนการทาหมันหญิง
แพทย์จาเป็นต้องพูดคุยกับผู้เข้ารับการผ่าตัดและชี้แจงรายละเอียดถึงผลดี ผลเสีย ความเสี่ยงในการผ่าตัด ตลอดจนวิธีคุมกาเนิดอื่น ๆ ที่มีประสิทธิภาพ
ดีเทียบเท่ากับการทาหมันที่เหมาะสมตามสถานการณ์ เนื่องจากการทาหมันเป็นวิธีคุมกาเนิดถาวรที่ป้องกันการตั้งครรภ์ได้สูง และโอกาสการกลับมามี
บุตรอีกครั้งนั้นเป็นไปได้น้อยมาก โดยเฉพาะผู้เข้ารับการผ่าตัดที่มีอายุน้อยหรือไม่เคยผ่านการมีบุตรมาก่อน สิ่งสาคัญที่สุดก่อนเข้ารับการผ่าตัดทาหมัน ผู้
เข้ารับการผ่าตัดต้องปรึกษาร่วมกับคู่ครองก่อนตัดสินใจว่าไม่ต้องการมีบุตรเพิ่มอย่างแน่นอน
ก่อนเข้ารับการผ่าตัดควรแจ้งแพทย์เกี่ยวกับการใช้ยา สมุนไพร หรืออาหารเสริมทุกชนิด รวมไปถึงหยุดรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดอื่น ๆ เช่น
ยาแอสไพริน (Aspirin) ยาวาร์ฟาริน (Warfarin) หรือยาในกลุ่มระงับอาการปวดที่หาซื้อได้ทั่วไปอย่างยาไอบูโพรเฟน (Ibuprofen) เพราะอาจทาให้
เลือดออกมากขึ้นในขณะการผ่าตัด
นอกจากนี้ ในรายที่ต้องดมยาสลบควรงดน้าและอาหารหลังเที่ยงคืนหรือ 8 ชั่วโมงก่อนเข้ารับการผ่าตัด เมื่อถึงวันผ่าตัดควรสวมใส่เสื้อผ้าที่ไม่รัดแน่น
จนเกินไปและถอดเปลี่ยนได้ง่าย นอกจากนี้ แพทย์อาจมีคาแนะนาเฉพาะเป็นรายบุคคล
การดูแลหลังการทาหมันหญิง
หลังการผ่าตัดเสร็จสิ้นสามารถกลับบ้านได้ภายในวันเดียวกัน แต่จะค่อย ๆ เริ่มทากิจกรรมอื่นได้ตามปกติในอีก 2-3 วันถัดมาหรือภายใน 1 สัปดาห์ ทั้งนี้
ควรหลีกเลี่ยงการยกสิ่งของที่มีน้าหนักมากอย่างน้อย 3 สัปดาห์ ในรายที่ใช้ยาสลบในการผ่าตัดควรมีคนใกล้ชิด เพื่อน หรือญาติช่วยดูแล
โดยทั่วไปหลังการผ่าตัดมักจะมีอาการปวดขึ้นได้ แพทย์อาจมีการจ่ายยาแก้ปวด เพื่อช่วยบรรเทาอาการ ผู้เข้ารับการผ่าตัดอาจเกิดความรู้สึกไม่สบายตัว
หลังการทาหมัน อาจมีอาการที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล แต่หากเกิดอาการผิดปกติดังต่อไปนี้ติดต่อกันนานหลายวัน ควรรีบไปพบแพทย์ เช่น
•เวียนศีรษะ
•ปวดไหล่
•ตะคริว
•ท้องอืด ท้องเฟ้อ
การทาหมันหญิงเป็นการผ่าตัดบริเวณช่องท้อง จึงอาจเสี่ยงต่อการสร้างความเสียหายให้แก่ลาไส้ กระเพาะปัสสาวะ หรือหลอดเลือดแดง ไป
จนถึงแผลผ่าตัดติดเชื้อ มีอาการปวดบริเวณกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน บางรายอาจมีปฏิกิริยาแพ้ยาชาหรือยาสลบ ผู้หญิงที่เคยผ่าตัดบริเวณกล้ามเนื้ออุ้งเชิง
กรานหรือช่องท้อง มีภาวะอ้วน หรือโรคเบาหวานจะยิ่งเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนได้มากขึ้นเมื่อเทียบกับคนปกติ
ผลข้างเคียงของการทาหมันหญิง
ประสิทธิภาพของการทาหมันหญิง
การทาหมันหญิงเป็นวิธีการคุมกาเนิดถาวรที่ป้องกันการตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ไม่สามารถป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โดยในช่วงปีแรกของการทาหมันหญิงพบว่าผู้หญิงใน 1,000 คน มีโอกาสตั้งครรภ์ 1 คนหรือน้อยกว่า แต่หากเกิดการตั้งครรภ์หลังการทาหมันอาจเสี่ยงต่อ
การตั้งครรภ์นอกมดลูกได้
บรรณานุกรม
• ทาหมัน ทางออกของคนไม่อยากมีลูก - พบแพทย์ (pobpad.com)
• https://www.bumrungrad.com/th/treatments/vasectomy
• https://www.si.mahidol.ac.th/siriraj_online/thai_version
/Health_detail.asp?id=185
กิตติกรรมประกาศ
การจัดทารายงาน เรื่อง การทาหมันในหญิงและชาย สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลือจากคุณครูวิชัย ลิขิต
พรรักษ์ ที่ให้คาแนะนาและคาปรึกษาในการจัดทารายงาน และขอขอบคุณการสนับสนุนการทาโครงงาน และกาลังใจจาก บิดา
มารดา ญาติ ครอบครัวของคณะผู้จัดทา
ทางคณะผู้จัดทาจึงขอขอบพระคุณทุก ๆ ท่านที่ให้ข้อเสนอแนะ ให้การสนับสนุน และให้กาลังใจ จนกระทั้งการศึกษาค้นคว้า
รายงานนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี อันความดีที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าขอมอบแด่บิดา มารดา คุณครู ผู้มีพระคุณทุกท่าน คณะ
ผู้จัดทามีความซาบซึ้งในความกรุณาอันยิ่งใหญ่จากท่านที่ได้กล่าวมา ขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
นายณชพล สุวินทรากร เลขที่ 26
นายปรวัฒน์ ปรีชาวุฒิเดช เลขที่ 33
นายภูวิช ป้อมพิมพ์ เลขที่ 34
นายพัสกร ลีลานันทกิจ เลขที่ 35
นายเมธัส วังอรรครัชต์ เลขที่ 38
ภาคผนวก
ขณะตัดต่อคลิป
ขณะทาสไลด์
ขณะทาโปสเตอร์
ขอบคุณครับ

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a การทำหมันในเพศชายและหญิง 335

ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
 ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต  ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต vila20012
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for healthSirintra Chaiwong
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน44LIFEYES
 
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4Pakorn Korn
 
computer 2
computer 2 computer 2
computer 2 MEMImi
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSpipepipe10
 
การคุมกำเนิดในเพศหญิง กลุ่ม3 825
การคุมกำเนิดในเพศหญิง กลุ่ม3 825การคุมกำเนิดในเพศหญิง กลุ่ม3 825
การคุมกำเนิดในเพศหญิง กลุ่ม3 825PhatwarinSaksomboon
 

Semelhante a การทำหมันในเพศชายและหญิง 335 (11)

2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry2555 orientation community dentistry
2555 orientation community dentistry
 
ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
 ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต  ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน4
 
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
การคุมกำเนิดเพศชาย 342 กลุ่ม 4
 
computer 2
computer 2 computer 2
computer 2
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
2562 final-project 18
2562 final-project 182562 final-project 18
2562 final-project 18
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
 
การคุมกำเนิดในเพศหญิง กลุ่ม3 825
การคุมกำเนิดในเพศหญิง กลุ่ม3 825การคุมกำเนิดในเพศหญิง กลุ่ม3 825
การคุมกำเนิดในเพศหญิง กลุ่ม3 825
 

การทำหมันในเพศชายและหญิง 335

  • 2. ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครูชานาญการ (คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
  • 3. สมาชิกกลุ่มที่ 4 ห้อง 335 นายณชพล สุวินทรากร เลขที่ 26 นายปรวัฒน์ ปรีชาวุฒิเดช เลขที่ 33 นายภูวิช ป้อมพิมพ์ เลขที่ 34 นายพัสกร ลีลานันทกิจ เลขที่ 35 นายเมธัส วังอรรครัชต์ เลขที่ 38
  • 4. คานา งานนาเสนอนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 3 (ว30244) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้อง 335 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อนาเสนอข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับการทาหมันใน หญิงและชาย เช่น วิธีการทาหมันในหญิงและชาย ความเสี่ยงที่เกิดจากการทาหมันในหญิงและชาย เป็น ต้น คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า งานนาเสนอชิ้นนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการ ทาหมันในหญิงและชายไม่มากก็น้อย คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ คานา สารบัญ การทาหมันคืออะไร จุดประสงค์ของการทาหมัน การทาหมันชาย ขั้นตอนในการทาหมันชาย การเตรียมตัวก่อนการทาหมันชาย การดูแลหลังการทาหมันชาย ผลข้างเคียงของการทาหมันชาย ประสิทธิภาพของการทาหมันชาย การทาหมันหญิง ขั้นตอนในการทาหมันหญิง การเตรียมตัวก่อนการทาหมันหญิง การดูแลหลังการทาหมันหญิง ผลข้างเคียงของการทาหมันหญิง ประสิทธิภาพของการทาหมันหญิง บรรณานุกรม ภาคผนวก ก ข 1 1 2 2 3 4 5 6 7 7 8 9 10 10 11 12
  • 6. การทาหมัน คืออะไร ทาหมัน (Female/Male Surgical Sterilization) เป็นวิธีคุมกาเนิดแบบถาวรสาหรับผู้ชายและผู้หญิง โดยทางการแพทย์ หมายถึงการป้องกัออสุจิหรือสเปิร์มเข้าไปปฏิสนธิกับไข่จนเกิดการฝังตัวขึ้นในโพรงมดลูกของผู้หญิง ทาให้เกิดการตั้งครรภ์ขึ้นในอนาคต ซึ่งถือว่า เป็นวิธีคุมกาเนิดที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพและป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดีกว่าวิธีอื่น จุดประสงค์ในการทาหมัน การทาหมันเป็นการคุมกาเนิดถาวรสาหรับผู้ใหญ่วัยเจริญพันธุ์ที่ไม่ต้องการจะมีบุตรด้วยหลายเหตุผล อาจเป็นความสมัครใจในการ เลือกคุมกาเนิดระหว่างคู่ครองกันเอง บางรายหากเกิดการตั้งครรภ์อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพของฝ่ายหญิง หรือไม่ต้องการถ่ายทอดความผิดปกติ ทางด้านพันธุกรรมของพ่อแม่ไปยังบุตร การทาหมันในผู้ชายเรียกว่า การทาหมันชาย (Vasectomy/Male Surgical Sterilization) และการทาหมันในผู้หญิงเรียกว่า การทาหมัน หญิง (Tubal Ligation/Female Surgical Sterilization) โดยหลักการถือว่าเป็นการคุมกาเนิดแบบถาวรเหมือนกัน แต่แตกต่างกันใน รายละเอียด
  • 7. ขั้นตอนในการทาหมันชาย การทาหมันชายเป็นการคุมกาเนิดถาวรด้วยการตัดและผูกท่อนาอสุจิ เพื่อป้องกันตัวอสุจิจากอัณฑะเคลื่อนไปผสมกับน้าเลี้ยงอสุจิ และไปยังท่อปัสสาวะ ซึ่งจะปล่อยออกมาเมื่อถึงจุดสุดยอดขณะมีเพศสัมพันธ์ ทาให้น้าอสุจิที่หลั่งออกมาไม่มีตัวอสุจิ จึงไม่เกิดการปฏิสนธิเกิดขึ้น การทาหมันชาย การทาหมันชายมีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก ใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที อาจทาในโรงพยาบาลหรือคลินิก โดยแพทย์หลายสาขาซึ่งวิธีการทาหมันชายที่นิยมทาใน ปัจจุบันมี 2 วิธี การทาหมันชายแบบดั้งเดิม (Conventional Vasectomy) ในขั้นตอนแรกแพทย์จะทาความสะอาดบริเวณลูกอัณฑะและถุงอัณฑะด้วยน้ายาฆ่าเชื้อ ใน บางรายอาจต้องโกนขนบริเวณนั้นให้เรียบร้อย รวมทั้งต้องรับประทานยาหรือฉีดยาที่ช่วยให้ผู้เข้ารับการผ่าตัดผ่อนคลาย จากนั้นแพทย์จะคลาหาท่อนา อสุจิบริเวณถุงอัณฑะ เพื่อหาตาแหน่งในการผ่าตัดและฉีดยาชา ก่อนกรีดเปิดผิวหนัง 1-2 แผลยาวประมาณ 1 เซนติเมตร จากนั้นจึงลงมือตัดและผูกท่อนา อสุจิ ก่อนเย็บปิดผิวหนังที่กรีดให้เรียบร้อย การทาหมันเจาะ (Non-Scalpel Vasectomy/Nonsurgical Vasectomy) ขั้นตอนคล้ายกับวิธีแรก แต่แพทย์จะใช้เครื่องมือขนาดเล็กที่มีปลาย แหลมเจาะผิวหนังเข้าไปตัดและผูกท่อนาน้าอสุจิแทนการใช้ใบมีดกรีดเปิดผิวหนัง ทาให้แผลมีขนาดเล็ก ไม่ต้องเย็บปิดแผล และเสี่ยงกับภาวะเลือดออกน้อย กว่าการทาหมันชายแบบดั้งเดิม แต่ให้ผลค่อนข้างมีประสิทธิภาพเหมือนกัน
  • 8. การเตรียมตัวก่อนการทาหมันชาย การทาหมันชายสามารถทาได้ในทุกช่วงอายุ ในกรณีที่ผู้เข้ารับการผ่าตัดมีอายุไม่เกิน 30 ปีและยังไม่มีบุตร แพทย์อาจแนะนาไม่ให้ ทาหมัน เนื่องจากเป็นวิธีการคุมกาเนิดถาวรและหากต้องการมีบุตรภายหลังจะค่อนข้างยุ่งยาก วิธีการผ่าตัดแก้หมันนั้นซับซ้อน และการแก้หมัน อาจไม่ประสบความสาเร็จ ดังนั้นจึงควรปรึกษาคู่ครองให้รอบคอบก่อนตัดสินใจ เมื่อได้ข้อสรุปว่าจะเข้ารับการผ่าตัด แพทย์จะอธิบายขั้นตอน พร้อมพูดคุยกับผู้เข้ารับการผ่าตัดเกี่ยวกับรายละเอียดในการผ่าตัด ทั้งผลดี ผลเสีย ความเสี่ยงด้านสุขภาพหลังเข้ารับการผ่าตัด หรือวิธีคุมกาเนิด อื่น ๆ ที่เหมาะสม หากผู้เข้ารับการผ่าตัดมีโรคประจาตัวหรือรับประทานยาเป็นประจา ควรแจ้งให้แพทย์ทราบ รวมทั้งการใช้ยา สมุนไพร วิตามิน หรืออาหารเสริม ในขณะนั้น และสภาวะความผิดปกติของร่างกายอื่น ๆ โดยทั่วไปแพทย์จะแนะนาให้หยุดรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดก่อนเข้ารับการ ผ่าตัด ทั้งนี้ การเตรียมตัวก่อนมาโรงพยาบาลในวันที่เข้ารับการผ่าตัด ควรทาความสะอาดร่างกายให้เรียบร้อย และเตรียมกางเกงชั้นในที่สวมใส่ ได้กระชับ เพื่อช่วยปกป้องถุงอัณฑะ แต่ในบางราย แพทย์อาจมีคาแนะนาตามความเสี่ยงเฉพาะบุคคล
  • 9. หลังการผ่าตัดสามารถกลับบ้านได้ภายในวันเดียวกัน ระยะเวลาการพักฟื้นจะอยู่ที่ประมาณ 1 สัปดาห์แต่ สามารถกลับไปทางานได้ปกติภายใน 1-3 วัน ขึ้นอยู่กับประเภทของงาน ในวันแรกหลังการทาหมันอาจมีอาการปวดและ บวม จึงควรใช้ไอซ์แพคหรือไอซ์เจล (Ice Pack) ช่วยประคบ สวมใส่กางเกงชั้นในที่ช่วยปกป้องบริเวณถุงอัณฑะ (Jockstrap) หลีกเลี่ยงการทากิจกรรมหรือการออกกาลังกายที่กระทบกระเทือนบริเวณที่ผ่าตัด และการยกของหนักใน ช่วงแรกของการพักฟื้น การทาหมันชายไม่ส่งผลต่อสมรรถภาพทางเพศ ผู้เข้ารับการทาหมันสามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ตามปกติหลังการผ่าตัดอย่าง น้อย 1 สัปดาห์หรือแผลผ่าตัดหายดี อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องคุมกาเนิดด้วยวิธีอื่นจนกว่าจะได้รับการตรวจน้าเชื้อว่าไม่ พบตัวอสุจิ ซึ่งต้องกลับไปตรวจกับแพทย์อีกครั้งในช่วง 6-12 สัปดาห์ถัดมาหรือสามารถใช้ชุดตรวจสอบจานวนอสุจิ สาเร็จรูป หลังการผ่าตัดหากพบอาการดังต่อไปนี้ ควรรีบพบแพทย์ทันที • อัณฑะบวม ปวด มีขนาดใหญ่มากขึ้น • มีน้า เลือด อาการบวมแดง หรือหนองบริเวณแผลผ่าตัด • มีไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว • มีปัญหาในการปัสสาวะ การดูแลหลังการทาหมันชาย
  • 10. การทาหมันชายส่วนใหญ่ไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียงร้ายแรง ผู้ชายส่วนใหญ่จะมีอาการเจ็บ ปวด บวม ความรู้สึก ไวรอบ ๆ ถุงอัณฑะในช่วง 2-3 วันหลังการผ่าตัด แต่ในบางรายอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ค่อนข้างร้ายแรงขึ้นได้ เช่น • เลือดออกและเกิดลิ่มเลือดบริเวณถุงอัณฑะ เป็นการคั่งของเลือดในเนื้อเยื่อรอบ ๆ เส้นเลือดที่ฉีกขาดบริเวณรอบท่อ นาน้าอสุจิ มักจะมีปริมาณไม่มาก โดยปะปนออกมาในน้าอสุจิ แต่หากเกิดการคั่งของเลือดมากจะทาให้ถุงอัณฑะบวม และ ก่อให้เกิดอาการปวด ซึ่งจาเป็นต้องกลับมาผ่าตัดแก้ไขอีกครั้ง •ก้อนในถุงอัณฑะ การตัดท่อนาอสุจิในขณะทาหมันอาจทาให้เกิดการรั่วของตัวอสุจิเข้าไปในเนื้อเยื่อรอบ ๆ จึงส่งผลให้ เกิดการกระจุกของตัวอสุจิเป็นก้อน ส่วนมากไม่ค่อยมีอาการเจ็บปวด แพทย์อาจให้รับประทานยากลุ่มลดการอักเสบ ใน กรณีที่ไม่ดีขึ้นอาจต้องใช้การผ่าตัดออก •แผลติดเชื้อ หลังจากการทาหมันมีโอกาสติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นจากการที่แบคทีเรียเข้าสู่ร่างกายทางแผลผ่าตัด ดังนั้น จึง ควรรักษาความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศและหลีกเลี่ยงไม่ให้แผลโดนน้า •ปวดที่บริเวณอัณฑะเรื้อรัง โดยปกติหลังการผ่าตัดอาการปวดจะค่อย ๆ ดีขึ้นจนหายเป็นปกติ แต่ผู้เข้ารับการผ่าตัด บางรายอาจมีอาการปวดในลักษณะเป็น ๆ หาย ๆ ไม่หายขาด และมีอาการปวดไม่มาก เนื่องจากระหว่างการผ่าตัดทา หมันอาจเกิดการบาดเจ็บของเส้นประสาทหรือเส้นประสาทโดนบีบรัดได้ ผลข้างเคียงของการทาหมันชาย
  • 11. การทาหมันชายเป็นวิธีคุมกาเนิดที่ค่อนข้างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และปลอดภัย โอกาสที่จะเกิดการตั้งครรภ์ พบได้น้อยมาก โดยผู้หญิง 1,000 คนที่คู่สมรสทาหมันชายนั้นตั้งครรภ์เพียง 1-2 คนในช่วงปีแรก อย่างไรก็ตาม การทาหมันไม่ได้ทาให้ผู้ชายเป็นหมันทันทีหลังการผ่าตัดและยังคงเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์อยู่ เพราะตัวอสุจิ ตกค้างอยู่ในท่อนาอสุจิส่วนบน จึงควรคุมกาเนิดด้วยวิธีอื่นไปสักระยะจนกว่าจะเข้ารับการตรวจน้าเชื้อเพื่อยืนยันว่าไม่พบ ตัวอสุจิ หรือในบางกรณีอาจเกิดความผิดพลาดระหว่างการผ่าตัดก็มีโอกาสทาให้ตัวอสุจิเล็ดลอดปนออกมาผสมกับน้าเชื้อ ได้เช่นกัน แต่พบได้น้อยราย การทาหมันไม่ใช่วิธีการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เป็นเพียงวิธีคุมกาเนิดเท่านั้น ซึ่ง ผู้ชายสามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ปกติ โดยไม่มีผลต่อสมรรถภาพทางเพศ ประสิทธิภาพของการทาหมันชาย
  • 12. ขั้นตอนในการทาหมันหญิง การทาหมันหญิงเป็นการคุมกาเนิดถาวรในผู้หญิงด้วยการตัดและผูกท่อนาไข่ หรือทาให้ท่อนาไข่ตีบตัน เช่น การใช้ยางรัด คลิปหนีบ ใส่อุปกรณ์ขวางท่อนาไข่ หรือจี้ด้วยไฟฟ้า เพื่อป้องกันไข่เคลื่อนที่มาปฏิสนธิกับตัวอสุจิในโพรงมดลูกจนเกิดการตั้งครรภ์ขึ้น การทาหมันหญิง การทาหมันหญิงสามารถทาได้ทั้งที่โรงพยาบาลและคลินิก เป็นการผ่าตัดที่มีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก ใช้เวลาไม่เกิน 30 นาที โดยสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายวิธี แต่หากแบ่ง ตามช่วงเวลาในการทาหมันจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ •การทาหมันหลังคลอด หรือที่เรียกว่า การทาหมันเปียก เป็นการทาหมันภายในช่วงเวลาประมาณ 24-36 ชั่วโมงหลังคลอดบุตร เนื่องจากการคลอดบุตรทาให้มดลูก ลอยตัวและเห็นท่อนาไข่ได้ค่อนข้างชัด โดยแพทย์จะกรีดเปิดแผลที่หน้าท้องบริเวณใต้สะดือแล้วจึงตัดและผูกท่อนาไข่ แต่หากเป็นการผ่าคลอดจะทาไปพร้อมกับการผ่าคลอด ด้วยวิธีการตัดและผูกท่อนาไข่เช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมกันมาก โดยทาทันทีเมื่อคลอดบุตรเรียบร้อยแล้ว •การทาหมันปกติ หรือที่เรียกว่า การทาหมันแห้ง เป็นการทาหมันในช่วงเวลาใดก็ได้ หลักการมีความคล้ายคลึงกับการทาหมันหลังคลอด โดยขั้นตอนแรกคือฉีดยาชาเข้าไข สันหลังหรือที่เรียกว่า บล็อกหลัง เพื่อช่วยบรรเทาอาการเจ็บปวด ในบางรายอาจต้องดมยาสลบ ซึ่งจะทาให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวขณะเข้ารับการผ่าตัด ซึ่งเทคนิคในการทาหมันนี้ สามารถแยกออกได้เป็นหลายวิธีเช่น • การผ่าตัดทางหน้าท้อง แพทย์จะกรีดเปิดแผลบริเวณสะดือ จากนั้นจึงตัดและผูกท่อนาไข่ (Minilaparotomy) • การผ่าตัดผ่านกล้อง (Laparoscope) เมื่อยาสลบออกฤทธิ์ แพทย์จะเริ่มกรีดเปิดปากแผลบริเวณผนังหน้าท้องประมาณ 1-2 แผล โดยตาแหน่งมักอยู่ บริเวณใต้สะดือ และต้องใส่ก๊าซในช่องท้องระหว่างการผ่าตัด เพื่อช่วยให้แพทย์ผ่าตัดมองเห็นมดลูกและท่อนาไข่ได้ชัดเจนขึ้น แพทย์จะสอดอุปกรณ์และเครื่องมือ พิเศษเข้าไปในช่องท้อง จากนั้นอาจใช้วิธีการจี้ไฟฟ้า การตัดท่อนาไข่ หรือใช้อุปกรณ์พิเศษในรูปแบบต่าง ๆ ไปรัดท่อรังไข่ให้ตีบตัน • การทาให้ท่อนาไข่อุดตัน (Hysteroscopy/Hysteroscopic Sterilization) แพทย์จะสอดกล้องผ่านทางช่องคลอด พร้อมนาอุปกรณ์ขนาดเล็กเข้าไปวาง ไว้บริเวณภายในท่อนาไข่ เพื่อทาให้เกิดพังผืดพันรอบอุปกรณ์ ซึ่งจะขวางทางการเคลื่อนตัวของไข่ไปยังโพรงมดลูก เทคนิคนี้จะใช้เฉพาะยาชาเฉพาะที่และจะยัง ไม่เป็นหมันทันที เพราะต้องกลับมาตรวจยืนยันผลอีกครั้งว่าท่อนาไข่เกิดการอุดตันเรียบร้อยแล้วหรือไม่ จึงทาให้ต้องคุมกาเนิดด้วยวิธีอื่นไปสักระยะหากมี เพศสัมพันธ์
  • 13. การเตรียมตัวก่อนการทาหมันหญิง แพทย์จาเป็นต้องพูดคุยกับผู้เข้ารับการผ่าตัดและชี้แจงรายละเอียดถึงผลดี ผลเสีย ความเสี่ยงในการผ่าตัด ตลอดจนวิธีคุมกาเนิดอื่น ๆ ที่มีประสิทธิภาพ ดีเทียบเท่ากับการทาหมันที่เหมาะสมตามสถานการณ์ เนื่องจากการทาหมันเป็นวิธีคุมกาเนิดถาวรที่ป้องกันการตั้งครรภ์ได้สูง และโอกาสการกลับมามี บุตรอีกครั้งนั้นเป็นไปได้น้อยมาก โดยเฉพาะผู้เข้ารับการผ่าตัดที่มีอายุน้อยหรือไม่เคยผ่านการมีบุตรมาก่อน สิ่งสาคัญที่สุดก่อนเข้ารับการผ่าตัดทาหมัน ผู้ เข้ารับการผ่าตัดต้องปรึกษาร่วมกับคู่ครองก่อนตัดสินใจว่าไม่ต้องการมีบุตรเพิ่มอย่างแน่นอน ก่อนเข้ารับการผ่าตัดควรแจ้งแพทย์เกี่ยวกับการใช้ยา สมุนไพร หรืออาหารเสริมทุกชนิด รวมไปถึงหยุดรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดอื่น ๆ เช่น ยาแอสไพริน (Aspirin) ยาวาร์ฟาริน (Warfarin) หรือยาในกลุ่มระงับอาการปวดที่หาซื้อได้ทั่วไปอย่างยาไอบูโพรเฟน (Ibuprofen) เพราะอาจทาให้ เลือดออกมากขึ้นในขณะการผ่าตัด นอกจากนี้ ในรายที่ต้องดมยาสลบควรงดน้าและอาหารหลังเที่ยงคืนหรือ 8 ชั่วโมงก่อนเข้ารับการผ่าตัด เมื่อถึงวันผ่าตัดควรสวมใส่เสื้อผ้าที่ไม่รัดแน่น จนเกินไปและถอดเปลี่ยนได้ง่าย นอกจากนี้ แพทย์อาจมีคาแนะนาเฉพาะเป็นรายบุคคล
  • 14. การดูแลหลังการทาหมันหญิง หลังการผ่าตัดเสร็จสิ้นสามารถกลับบ้านได้ภายในวันเดียวกัน แต่จะค่อย ๆ เริ่มทากิจกรรมอื่นได้ตามปกติในอีก 2-3 วันถัดมาหรือภายใน 1 สัปดาห์ ทั้งนี้ ควรหลีกเลี่ยงการยกสิ่งของที่มีน้าหนักมากอย่างน้อย 3 สัปดาห์ ในรายที่ใช้ยาสลบในการผ่าตัดควรมีคนใกล้ชิด เพื่อน หรือญาติช่วยดูแล โดยทั่วไปหลังการผ่าตัดมักจะมีอาการปวดขึ้นได้ แพทย์อาจมีการจ่ายยาแก้ปวด เพื่อช่วยบรรเทาอาการ ผู้เข้ารับการผ่าตัดอาจเกิดความรู้สึกไม่สบายตัว หลังการทาหมัน อาจมีอาการที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล แต่หากเกิดอาการผิดปกติดังต่อไปนี้ติดต่อกันนานหลายวัน ควรรีบไปพบแพทย์ เช่น •เวียนศีรษะ •ปวดไหล่ •ตะคริว •ท้องอืด ท้องเฟ้อ
  • 15. การทาหมันหญิงเป็นการผ่าตัดบริเวณช่องท้อง จึงอาจเสี่ยงต่อการสร้างความเสียหายให้แก่ลาไส้ กระเพาะปัสสาวะ หรือหลอดเลือดแดง ไป จนถึงแผลผ่าตัดติดเชื้อ มีอาการปวดบริเวณกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน บางรายอาจมีปฏิกิริยาแพ้ยาชาหรือยาสลบ ผู้หญิงที่เคยผ่าตัดบริเวณกล้ามเนื้ออุ้งเชิง กรานหรือช่องท้อง มีภาวะอ้วน หรือโรคเบาหวานจะยิ่งเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนได้มากขึ้นเมื่อเทียบกับคนปกติ ผลข้างเคียงของการทาหมันหญิง ประสิทธิภาพของการทาหมันหญิง การทาหมันหญิงเป็นวิธีการคุมกาเนิดถาวรที่ป้องกันการตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ไม่สามารถป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ โดยในช่วงปีแรกของการทาหมันหญิงพบว่าผู้หญิงใน 1,000 คน มีโอกาสตั้งครรภ์ 1 คนหรือน้อยกว่า แต่หากเกิดการตั้งครรภ์หลังการทาหมันอาจเสี่ยงต่อ การตั้งครรภ์นอกมดลูกได้
  • 16. บรรณานุกรม • ทาหมัน ทางออกของคนไม่อยากมีลูก - พบแพทย์ (pobpad.com) • https://www.bumrungrad.com/th/treatments/vasectomy • https://www.si.mahidol.ac.th/siriraj_online/thai_version /Health_detail.asp?id=185
  • 17. กิตติกรรมประกาศ การจัดทารายงาน เรื่อง การทาหมันในหญิงและชาย สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลือจากคุณครูวิชัย ลิขิต พรรักษ์ ที่ให้คาแนะนาและคาปรึกษาในการจัดทารายงาน และขอขอบคุณการสนับสนุนการทาโครงงาน และกาลังใจจาก บิดา มารดา ญาติ ครอบครัวของคณะผู้จัดทา ทางคณะผู้จัดทาจึงขอขอบพระคุณทุก ๆ ท่านที่ให้ข้อเสนอแนะ ให้การสนับสนุน และให้กาลังใจ จนกระทั้งการศึกษาค้นคว้า รายงานนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี อันความดีที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าขอมอบแด่บิดา มารดา คุณครู ผู้มีพระคุณทุกท่าน คณะ ผู้จัดทามีความซาบซึ้งในความกรุณาอันยิ่งใหญ่จากท่านที่ได้กล่าวมา ขอกราบขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา นายณชพล สุวินทรากร เลขที่ 26 นายปรวัฒน์ ปรีชาวุฒิเดช เลขที่ 33 นายภูวิช ป้อมพิมพ์ เลขที่ 34 นายพัสกร ลีลานันทกิจ เลขที่ 35 นายเมธัส วังอรรครัชต์ เลขที่ 38