SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 19
Baixar para ler offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
บทที่ 11
เทคโนโลยีสารสนเทศ
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษา
พัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และหาทางนํามาประยุกต์ให้
เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้าที่มีความหมายกว้างไกล เป็นคําที่เราได้พบเห็นและได้ยินอยู่ตลอดมา
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิด
มาได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เป็นจํานวนมาก เรียนรู้สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และวิชาการ ลอง
จินตนาการดูว่าภายในสมองของเราเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เราคงตอบไม่ได้ แต่สามารถเรียกเอาข้อมูลมา
ใช้ได้ ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมองเป็นสิ่งที่สะสมกันมาเป็นเวลานาน ความรอบรู้ของแต่ละคนจึงขึ้นอยู่กับการ
เรียกใช้ข้อมูลนั้น ดังนั้นจะเห็นได้ชัดความรู้เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การ
รวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยี
สารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทําให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล เทคโนโลยี
สารสนเทศจึงมีความหมายที่กว้างขวางมาก นักเรียนจะได้พบกับสิ่งรอบ ๆ ตัวที่เกี่ยวกับการใช้
สารสนเทศอยู่มาก เช่น
การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลเข้าสู่ระบบ นักเรียนอาจเห็นพนักงานการไฟฟ้ าไปที่
บ้านพร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเพื่อบันทึกข้อมูลการใช้ไฟฟ้ า ในการสอบแข่งขันที่มีผู้สอบ
จํานวนมาก ก็มีการใช้ดินสอระบายตามช่องที่เลือกตอบ เพื่อให้เครื่องอ่านเก็บรวบรวมข้อมูลได้
การประมวลผล ข้อมูลที่เก็บมาได้มักจะเก็บในสื่อต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี หรือเทป เป็นต้น
ข้อมูลเหล่านี้จะถูกนํามาประมวลผลตามต้องการ เช่น แยกแยะข้อมูลเป็นกลุ่ม เรียงลําดับข้อมูล คํานวณ
หรือจัดการคัดแยกข้อมุลที่จัดเก็บนั้น
การแสดงผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีในการแสดงผลลัพธ์มีมาก สามารถแสดงเป็นตัวหนังสือ
เป็นรูปภาพ ตลอดจนพิมพ์ออกมาที่กระดาษ การแสดงผลลัพธ์มีทั้งที่แสดงเป็นภาพ เป็นเสียง เป็นวีดิ
ทัศน์ เป็นต้น
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ )Information system) หมายถึง หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบ
คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ พนักงานที่
เกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบนี้ทํางานร่วมกันเพื่อกําหนด รวบรวม จัดเก็บ
ข้อมูล ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ใช้เพื่อช่วยสนับสนุน
การทํางาน การตัดสินใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดําเนินงาน
ขององค์กร ชุดขององค์ประกอบที่ทําหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อช่วย
การตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ในการทํางานของระบบสารสนเทศประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง
คือ การนําข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Processing) และ การนําเสนอผลลัพธ์
(Output) ระบบสารสนเทศอาจจะมีการสะท้อนกลับ (Feedback) เพื่อการประเมินและปรับปรุงข้อมูล
นําเข้า ระบบสารสนเทศอาจจะเป็นระบบที่ประมวลด้วยมือ(Manual) หรือระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ ระบบ
คอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บข้อมูล และประมวลผลเป็นสารสนเทศ และระบบสารสนเทศเป็นระบบที่ต้องอาศัย
ฐานข้อมูล
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศทุกประเภท ก็คือต้องประกอบด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ ระบบต้องมีการนําเข้า
ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล และการแสดงผลลัพธ์ของข้อมูล
1. ระดับบุคคล
ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับบุคคลนั้น จะเป็นการที่แต่ละบุคคลในองค์กรจะ
สร้างและใช้สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานส่วนตัวเท่านั้น เช่น การใช้โปรแกรม
ไมโครซอฟต์เวิร์ดในการพิมพ์เอกสาร การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ในงานนําเสนอ
สําหรับการสอนหรือบรรยาย โดยสามารถกรอกข้อความ ตาราง ภาพ ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ที่ช่วย
ดึงดูดให้ผู้ฟังสนใจตลอดเวลา การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซลล์กรอกข้อมูล คํานวณ สร้างกราฟ
และทํานายผลลัพธ์ของข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
2. ระดับกลุ่ม
ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับกลุ่มนั้น จะเป็นการที่กลุ่มของคนในองค์กรที่
ต้องทํางานร่วมกันจะสร้างและใช้สารสนเทศร่วมกัน ซึ่งจะส่งเสริมการดําเนินงานของกลุ่มให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
หลักการ คือ นําเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายระยะใกล้หรือ
ระยะไกล ทําให้มีการใช้ทรัพยากร ได้แก่ ข้อมูลและอุปกรณ์เทคโนโลยีพื้นฐานร่วมกัน
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
3. ระดับองค์กร
ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับองค์กรนั้น จะเป็นการที่แผนกต่าง ๆ ในองค์กร
เช่น แผนการขายและการตลาด แผนการผลิต แผนกจัดซื้อ แผนกบุคคล แผนกการเงินและการบัญชี
เป็นต้น มีการสร้างและส่งผ่านสารสนเทศจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่งได้โดยสร้างสารสนเทศใน
รูปแบบรายงาน หรือกราฟเพื่อให้ผู้บริหารนําไปประกอบการตัดสินใจได้
หลักการ คือ นําเครื่องคอมพิวเตอร์ของแผนกต่าง ๆ มาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิด
การใช้ข้อมูลร่วมกัน
สิ่งที่สําคัญของระบบสารสนเทศระดับกลุ่มและระดับองค์กร คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็น
เครือข่ายทั้งภายในองค์กรและการเชื่อมโยงภายนอกองค์กร เพื่อให้มีการสื่อสารและส่งข้อมูลถึงกันได้
อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ประเภทระบบสารสนเทศ
1.ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็นระบบที่ทําหน้าที่ใน
การปฏิบัติงานประจํา ทําการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์ทํางานแทนการทํางานด้วยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทําการสรุปข้อมูลเพื่อสร้างเป็นสารสนเทศ
ระบบประมวลผลรายการนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกค้า ตัวอย่าง เช่น ระบบการ
จองบัตรโดยสารเครื่องบิน ระบบการฝากถอนเงินอัตโนมัติ เป็นต้น ในระบบต้องสร้างฐานข้อมูลที่
จําเป็น ระบบนี้มักจัดทําเพื่อสนองความต้องการของผู้บริหารระดับต้นเป็นส่วนใหญ่เพื่อให้สามารถ
ปฏิบัติงานประจําได้ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักจะอยู่ในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผล
เบื้องต้น
2. ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เป็นระบบที่สนับสนุนงานใน
สํานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทํางานของบุคลากรรวมทั้งกับ
บุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการเอกสาร โดยการใช้ซอฟท์แวร์ด้าน
การพิมพ์ การติดต่อผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ
เอกสาร กําหนดการ สิ่งพิมพ์
3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ) Management Information Systems- MIS) เป็นระบบ
สารสนเทศสําหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม
ระบบจะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้าด้วยกัน เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศ
ที่เหมาะสมและจําเป็นต่อการบริหารงาน ตัวอย่าง เช่น ระบบบริหารงานบุคลากร ผลลัพธ์ของระบบนี้
มักอยู่ในรูปของรายงานสรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ประเภทระบบสารสนเทศ
4. ระบบงานสร้างความรู้) Knowledge Work Systems - KWS) เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุน
บุคลากรที่ทํางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ใหม่
เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงานต้องนําเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การพัฒนา
เกิดขึ้นได้โดยสะดวก สามารถแข่งขันได้ทั้งในด้านเวลา คุณภาพ และราคา ระบบต้องอาศัยแบบจําลองที่
สร้างขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดําเนินการ ก่อนที่จะนําเข้ามาดําเนินการจริงในธุรกิจ ผลลัพธ์
ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็นต้น
5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ) Decision Support Systems – DSS) เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารในการ
ตัดสินใจสําหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้นตอนในการหาคําตอบที่แน่นอนเพียงบางส่วน ข้อมูลที่ใช้
ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการประกอบกัน ระบบยังต้องสามารถเสนอทางเลือกให้
ผู้บริหารพิจารณา เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดสําหรับสถานการณ์นั้น หลักการของระบบ สร้างขึ้น
จากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้ผู้ใช้โต้ตอบโดยตรงกับระบบ ทําให้สามารถ
วิเคราะห์ ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได้ โดยอาศัยประสบการณ์ และ ความสามารถของ
ผู้บริหารเอง ผู้บริหารอาจกําหนดเงื่อนไขและทําการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขต่างๆ ไปจนกระทั่งพบสถานการณ์
ที่เหมาะสมที่สุด แล้วใช้เป็นสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ รูปแบบของผลลัพธ์ อาจจะอยู่ในรูปของ รายงาน
เฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทํานาย หรือ พยากรณ์เหตุการณ์
6. ระบบสารสนเทศสําหรับผู้บริหารระดับสูง) Executive Information System - EIS) เป็นระบบที่
สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สําหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทําหน้าที่กําหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของ
กิจการ สารสนเทศสําหรับผู้บริหารระดับสูงนี้จําเป็นต้องอาศัยข้อมูลภายนอกกิจกรรมเป็นอย่างมาก ยิ่งใน
ยุคปัจจุบันที่เป็นยุค Globalization ข้อมูลระดับโลก แนวโน้มระดับสากลเป็นข้อมูลที่จําเป็นสําหรับการ
แข่งขันของธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของการพยากรณ์ /การคาดการณ์
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในเอกสารการวิจัยของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ กล่าวถึงคุณสมบัติของ
เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทําให้เกิดการแพร่กระจายของการใช้อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
แพร่หลายในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยคุณสมบัติต่างๆดังนี้
การรวมตัวกันของเทคโนโลยี(Convergence) เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการรวมตัวกันของ
เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร รวมถึงระบบเทคโนโลยีอื่นๆ เช่น การกระจายเสียงเข้าไว้
ด้วยกัน ทําให้สามารถรับส่งสัญญาณ โดยเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในรูปของสื่อแบบผสม ที่ประกอบด้วยภาพ
เสียงและข้อความต่างๆได้อย่างรวดเร็ว สมบูรณ์และสามารถส่งได้ปริมาณมาก การเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ
ทําได้อย่างทั่วถึงกันมากขึ้น โดยเฉพาะการเผยแพร่ยุคไร้พรมแดน
ต้นทุนที่ถูกลง(Cost reduction) เทคโนโลยีมีคุณสมบัติทําให้ราคาและการเป็นเจ้าของ
อุปกรณ์เทคโนโลยีถูกลง ทั้งในส่วนของอัตราค่าบริการสื่อโทรคมนาคม เช่น ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการ
อินเทอร์เน็ต ค่าเช่าสัญญาณเครือข่าย รวมถึงราคาของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีแน้มโน้มถูกลงเรื่อยๆ
การพัฒนาอุปกรณ์ที่เล็กลง(Miniaturization) อุปกรณ์เทททททคโนโลยีสารสนเทศ
หลากหลายประเภท รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์ได้รับการพัฒนา ให้มีขนาดเล็กลงกว่าแต่
เดิมมาก ด้วยวิวัฒนาการของไมโครชิพ ทําให้สะดวกต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
การประมวลผลที่ดีขึ้น (Processing Power) โดยอาศัยพัฒนาการของผู้ผลิตหน่วย
ประมวลผลกลางหรือพีซียูที่ทํางานเร็ซฃวขึ้นกว่าเดิม รวมถึงการสร้างโปรแกรมเพื่อตอบสนองการทํางาน
ของผู้ใช้ที่มีประสิทธืภาพดียิ่งขึ้น
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
การใช้งานทีง่าย(User Friendliness) การพัฒนาโปรแกรมในปัจจุบัน มีการออกแบบ
ส่วนประสานงานกับผู้ใช้เพื่อช่วยเหลือ และสนับสนุนการทํางานให้ง่ายยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับ
คนที่ไม่คุ้นเคยเรื่องเทคโนโลยีมากนัก หรือที่เรียกว่า user-friendliness นั่นเอง
การเปลี่ยนอะตอมเป็นบิต(Bits versus Atoms) ทิศทางของความนิยมและการกระจาย
ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว ผ่านการใช้งานโดยเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นับได้ว่า
เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของการหันเหกิจกรรมที่ใช้ "อะตอม" เช่นการส่งเอกสารที่เป็นกระดาษ ไปสู่การ
ใช้"บิต"มากยิ่งขึ้น ปัจจุบันจะเห็นว่าหลายองค์กรปรับเปลี่ยนการใช้งาน ที่มุ่งเน้นสู่สํานักงานแบบไร้
กระดาษ(paperless office) กันบ้างแล้ว
สื่อผสม(Multimidia) เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถเผยแพร่สารสนเทศ ที่เป็นแบบ
สื่อผสมมากขึ้น ประกอบด้วยสา(รสนเทศที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ภาพกราฟฟิก เสียง ภาพนิ่ง
รวมถึงภาพเคลื่อนไหวต่างๆเข้าด้วยกัน
เวลาและภูมิศาสตร์ (Time S Distance) วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศทําให้
มนุษย์สามารถเอาชนะเงื่อนไขด้าน"เวลา" และ"ภูมิศาสตร์"ได้เป็นอย่างมาก เช่น การประชุมทางไกล
สําหรับองค์การที่มีขนาดใหญ่และมีสาขาอยู่ทั่วประเทศ หากต้องการจัดประชุมโดยให้ผู้บริหารทุกสาขา
เดินทางมายังสํานักงานใหญพร้อมกัน อาจทําได้ไม่สะดวกหรือจัดเวลาไม่ตรงกัน การประชุมแบบ
ทางไกลสามารถเข้ามาช่วยแก้ปัญหานี้ได้ หรือการใช้รับสัญญาณดาวเทียม เพื่อถ่ายทอดสัญญาณ
รายการเพื่อการศึกษาให้กับโรงเรียนชนบทที่ห่างไกล(tele-education) โดยที่นักเรียนไม่จําเป็นต้องเข้า
มาแสวงความรุ้ในเมืองใหญ่ ก็สามารถได้แหล่งความรู้ที่เหมือนๆกัน เป็นการลดปัญหาในเรื่อง
ภูมิศาสตร์
11
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนํามาประยุกต์ใช้ประโยชน์และเพิ่ม
ขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศ และเพื่อ
การส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อม เช่น
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) หมายถึง การดําเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่
เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือ
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือการดําเนินธุรกิจการค้าหรือการซื้อขายบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
โดยผู้ซื้อ (Customer) สามารถดําเนินการ เลือกสินค้าคํานวณเงิน ตัดสินใจซื้อสินค้า โดยใช้
วงเงินในบัตรเครดิตได้โดยอัตโนมัติ ผู้ขาย (Business)สามารถนําเสนอสินค้า ตรวจสอบ
วงเงินบัตรเครดิตของลูกค้า รับเงินชําระค่าสินค้า ตัดสินค้าจากคลังสินค้า และประสานงานไป
ยังผู้จัดส่งสินค้าโดยอัตโนมัติ กระบวนการดังกล่าวจะดําเนินการเสร็จสิ้นบนระบบเครือข่าย
12
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
ด้านสังคม
ด้านสังคม ช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตามพระราชดําริชองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มี
คอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล ผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถ
อ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY ( Digital Accessible Information System)
13
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
ด้านการศึกษา
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) มีหลายรูปแบบเช่น Drill
and Practice, Linear Program , Branching Program, Simulation, Game, Multimedia,
Intelligence CAI
.การศึกษาทางไกล (Distance Learning) ซึ่งจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์ การ
สื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม (Direct to Home : DTH) หรือระบบการแระชุมทางไกล (Video
Teleconference)
.เครือข่ายการศึกษา (Education Network) ซึ่งเป็นการนําเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ ซึ่งมี
บริการในหลายรูปแบบ เช่น Electronic Mail , File Transfer Protocol, Telnet , World Wide Web
เป็นต้น เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์จะสามารถให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มีจํานวนมากมายที่
เชื่อมโยงในเครือข่ายทั่วโลก
.การใช้งานในห้องสมุด (Electronic Library) เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบค้นข้อมูลหนังสือ
วารสาร หรือบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ผลงานการวิจัย
การใช้งานในห้องปฏิบัติการ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจําลองสถานการณ์ (Simulation)
การใช้ในงานประจําและงานบริหาร (Computer Manage Instruction) เป็นการประยุกต์ใช้ในสํานักงาน
เพื่อช่วยในการบริหาร จัดการ ทําให้เกิดความคล่องตัว รวดเร็วและแม่นยํา การตัดสินใจในการดําเนินการ
ต่างๆ ย่อมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
14
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม
ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีต
จนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว
(pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้
งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดู
โทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ โทรศัพท์บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital
Assistant : PDA) ซึ่งสามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทําให้สะดวกต่อการใช้
งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus) คือใช้ปากกาป้อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่นสามารถสั่งการด้วย
เสียง ตัวอย่างอุปกรณ์สื่อสารและสารสนเทศแบบพกพา
15
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
ด้านสาธาณสุข
ด้านสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนํามาใช้เริ่มต้งแต่การทําทะเบียนคนไข้ การ
รักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆ ได้อย่ารวดเร็วและแม่นยํา นอกจากนี้ยังใช้ใน
ห้องทดลอง การศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์ รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่าน
เครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ ( EMI scanner ) ถูก
นํามาใช้ถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในสมอง เช่น ดูเนื้องอกพยาธิเลือดออกในสมอง และ
ต่อมาได้พัฒนาให้ถ่ายภาพหน้าตัดได้ทั่วร่างกาย เรียกชื่อว่า ซีเอที ( CAT-Computerized Axial
Tomography scanner: CAT scanner ) ใช้วิธีฉายแสงเป็นจังหวะไปรอบๆ ร่างกายของมนุษย์ ถ่าย
เอ็กซเรย์และเครื่องรับแสงเอกซเรย์ที่อยู่ตรงข้ามจะเปลี่ยนแสงเอ็กซเรย์ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้ าเก็บไว้ในจาน
แม่เหล็ก จากนั้นจะนําสัญญาณไฟฟ้ าเหล่านี้เข้าไปวิเคราะห์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และแสดงผลลัพธ์เป็น
ภาพทางจอโทรทัศน์หรือพิมพ์ภาพออกมาทางเครื่องพิมพ์ ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
16
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์ในด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เช่น ระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศร่วมกับการจดเก็บ
รักษาข้อมูลระดับนํ้าทะเล ความสูงของคลื่นจากระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และนําข้อมูลมา
วางแผนและสร้างระบบเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ในรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์แบบผสม (hybrid engine) เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมก็ต้องใช้เทคโนโลยี
เพื่อควบคุมให้เครื่องยนต์ลดการเผาไหม้นํ้ามันเชื้อเพลิง เป็นการช่วยลดมลภาวะจากก๊าซ-ไนโตรเจนออกไซด์
ไฮโดรคาร์บอน และก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ ที่ทําให้เกิดภาวะโลกร้อน ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารช่วยรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
17
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย
เมื่อ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ
พ.ศ.2544 – 2553 ของประเทศไทยได้เสนอเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และความเชื่อมโยงระหว่าง
ยุทธศาสตร์กับการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้เพื่อใช้และสร้างภูมิ
ปัญญาของคนไทยที่จะทําให้ประเทศไทยมีความแข็งแกร่งและความสามารถเพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญา
ของคนไทยที่จะทําให้ประเทศไทยมีความแข็งแกร่งและความสามารถที่จะรับการท้าทายของการแข่งขัน
ในระบบเศรษฐกิจใหม่ของสังคมโลกาภิวัฒน์ได้อย่างเต็มที่
กรอบนโยบายมี 3 เรื่อง คือ
1. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัฒน์
2. สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
3. ประเทศไทยในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21
นโยบายฯ นี้มีสาระโดยรวมว่า เทคโนโลยีใหม่ที่รวมคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และการสื่อสาร
)โทรคมนาคม(เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Information and Communications
Technology หรือ ICT) ได้ก่อให้เกิดกิจรรมใหม่ๆ ในทางเศรษฐกิจและสังคมอันส่งผลต่อการดํารงอยู่
และการพัฒนาของประเทศต่างๆ ในโลกที่แตกต่างจากอดีตอย่างมาก จนเป็นที่ยอมรับกันว่าใน
ศตวรรษที่ 21 (เริ่มจาก ค .ศ. 2001 หรือ พ .ศ. 2544 เป็นต้นไป (จะเกิดเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า
เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้) Knowledge – based Learning Economy) และจะมีผล
ทําให้ประเทศไทยซึ่งมีทรัพยากรบุคคล อันมีความรู้เป็นพื้นฐานสามารถจะพัฒนาลํ้าหน้าประเทศอื่นๆ
ที่ด้อยในส่วนนี้อย่างมาก
18
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย
กรอบนโยบายนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทําให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายสําคัญ 3 ประการ คือ
1. เพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือพัฒนาประเทศ โดยมีเป้าหมายในการ
เลื่อนสถานภาพของประเทศไทยจากประเทศ ในกลุ่มผู้ตามมีพลวัต (dynamic adopters) อันดับต้นๆ
ไปสู่ประเทศ ในกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพเป็นผู้นํา (potential leaders) อันดับต้นๆ โดยใช้ดัชนี
ผลสัมฤทธิ์ทางเทคโนโลยีของสํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เป็นเครื่องมือประเมิน
วัด
2. เพิ่มจํานวนแรงงานความรู้ของประเทศจากประมาณร้อยละ 12 ของแรงงานทั้งหมดให้เป็นร้อย
ละ 30 ซึ่งเท่ากับค่าเฉลี่ยของแรงงานความรู้ของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (OECD) ใน พ.ศ. 2544 ตามสถิติ
ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO)
3. พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มสัดส่วนของมูลค่าอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการใช้ความรู้
เป็นพื้นฐานให้มีมูลค่าถึงร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP)
จากวิสัยทัศน์และนโยบายดังกล่าว นําไปสู่การกําหนดกลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่
สําคัญไว้ 5 กลุ่ม คือ
1. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านภาครัฐ (e – Government)
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านพาณิชย์ (e – Commerce)
3. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม (e – Industry)
4. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา (e – Education)
5. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านสังคม (e – Society)
19
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย
เป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาใน นโยบาย IT 2010
ด้านภาครัฐ )e – Govemment) มีเป้าหมายในการนํา ICT มาพัฒนาและปรับปรุง
ระบบงานบริหารที่สําคัญทุกประเภทของส่วนงานของรัฐ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ภายใน พ .ศ. 2547
และพัฒนาบริการที่ให้แก่สาธารณชนให้ได้ครบทุกขั้นตอนใน พ .ศง 2553
ด้านพาณิชย์ )e – Cbommerce) มีเป้าหมายมุ่งสร้างประโยชน์โดยรวมในกิจการพาณิชย์
ของประเทศ ทั้งในความสามารถในการแข่งขันของคนไทย และการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สําหรับ
ธุรกิจส่งออก การค้าและบริการ
ด้านอุตสาหกรรม )e – Industry) มีเป้าหมายในการส่งเสริมและพัฒนาการใช้และการ
ผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศของภาคเอกชน เพื่อให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้ความรู้เป็น
ทรัพยากรสําคัญ ใน พ .ศ. 2553
ด้านสังคม )e – Society) มีเป้าหมายที่จะลดความเหลื่อมลํ้าของสังคม อันเป็นผล
เนื่องมาจากความเหลื่อมลํ้าในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ ซึ่งหมายถึงการพัฒนาให้คุณภาพชีวิต
ของประชาชนทั่วไปดีขึ้น
ด้านการศึกษา (e – Education) มีเป้าหมายในการสร้างความพร้อมของทรัพยากรมนุษย์
ทั้งหมดของประเทศ เพื่อช่วยกันพัฒนาให้เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศtaenmai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศsongpop
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjongkoi
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimproncharita
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkanokwan8941
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42poptnw
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slidejune006
 
Ch08 slide
Ch08 slideCh08 slide
Ch08 slidejune006
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAuraiwan Worrasiri
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศKrieangsak Pholwiboon
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 

Mais procurados (19)

Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประวัติความเป็นมาและการพัฒนาของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 febChapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
Chapter2 M1-foundation concepts-thai-62 feb
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slide
 
Ch08 slide
Ch08 slideCh08 slide
Ch08 slide
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและพัฒนาการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
01
0101
01
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 

Destaque (17)

Valutazione delle performance: come quando e perchè!
Valutazione delle performance: come quando e perchè!Valutazione delle performance: come quando e perchè!
Valutazione delle performance: come quando e perchè!
 
salud hasta la sierra
salud hasta la sierra salud hasta la sierra
salud hasta la sierra
 
Composer namespacing
Composer namespacingComposer namespacing
Composer namespacing
 
Space 134 Workshop #2 - Summary
Space 134 Workshop #2 - SummarySpace 134 Workshop #2 - Summary
Space 134 Workshop #2 - Summary
 
Samina khan
Samina khanSamina khan
Samina khan
 
Sonalika biswal
Sonalika biswalSonalika biswal
Sonalika biswal
 
Unidad I Tema 1: El Estado
Unidad I Tema 1: El Estado Unidad I Tema 1: El Estado
Unidad I Tema 1: El Estado
 
IEEE Photonics Technology Letters vol 8 2016 [table of content only]
IEEE Photonics Technology Letters vol 8 2016 [table of content only]IEEE Photonics Technology Letters vol 8 2016 [table of content only]
IEEE Photonics Technology Letters vol 8 2016 [table of content only]
 
El sistema digestivo
El sistema digestivoEl sistema digestivo
El sistema digestivo
 
Corporate Diaries
Corporate DiariesCorporate Diaries
Corporate Diaries
 
DNS について
DNS についてDNS について
DNS について
 
A2 media trailers
A2 media trailersA2 media trailers
A2 media trailers
 
Il ruolo delle hr in azienda: possono guidare il business?
Il ruolo delle hr in azienda: possono guidare il business?Il ruolo delle hr in azienda: possono guidare il business?
Il ruolo delle hr in azienda: possono guidare il business?
 
Infografiche
InfograficheInfografiche
Infografiche
 
Ayesha tanwir ppt
Ayesha tanwir pptAyesha tanwir ppt
Ayesha tanwir ppt
 
Blore Production Offerings for Enterprise
Blore Production Offerings for EnterpriseBlore Production Offerings for Enterprise
Blore Production Offerings for Enterprise
 
L'importanza di premiare i dipendenti (soprattutto a Natale).
L'importanza di premiare i dipendenti (soprattutto a Natale).L'importanza di premiare i dipendenti (soprattutto a Natale).
L'importanza di premiare i dipendenti (soprattutto a Natale).
 

Semelhante a Work3 23

Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศWork3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศmulhee
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42poptnw
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2Kriangx Ch
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnut jpt
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1sawitri555
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1amphaiboon
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพรjunyapron
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องAriya Soparux
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารSirithorn609
 

Semelhante a Work3 23 (20)

Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศWork3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Work3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
1
11
1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1งานนำเสนอ บทที่1
งานนำเสนอ บทที่1
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพร
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

Work3 23

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved บทที่ 11 เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์ การศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และหาทางนํามาประยุกต์ให้ เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้าที่มีความหมายกว้างไกล เป็นคําที่เราได้พบเห็นและได้ยินอยู่ตลอดมา สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่เกิด มาได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เป็นจํานวนมาก เรียนรู้สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และวิชาการ ลอง จินตนาการดูว่าภายในสมองของเราเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เราคงตอบไม่ได้ แต่สามารถเรียกเอาข้อมูลมา ใช้ได้ ข้อมูลที่เก็บไว้ในสมองเป็นสิ่งที่สะสมกันมาเป็นเวลานาน ความรอบรู้ของแต่ละคนจึงขึ้นอยู่กับการ เรียกใช้ข้อมูลนั้น ดังนั้นจะเห็นได้ชัดความรู้เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การ รวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยี สารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทําให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล เทคโนโลยี สารสนเทศจึงมีความหมายที่กว้างขวางมาก นักเรียนจะได้พบกับสิ่งรอบ ๆ ตัวที่เกี่ยวกับการใช้ สารสนเทศอยู่มาก เช่น การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นวิธีการรวบรวมข้อมูลเข้าสู่ระบบ นักเรียนอาจเห็นพนักงานการไฟฟ้ าไปที่ บ้านพร้อมเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กเพื่อบันทึกข้อมูลการใช้ไฟฟ้ า ในการสอบแข่งขันที่มีผู้สอบ จํานวนมาก ก็มีการใช้ดินสอระบายตามช่องที่เลือกตอบ เพื่อให้เครื่องอ่านเก็บรวบรวมข้อมูลได้ การประมวลผล ข้อมูลที่เก็บมาได้มักจะเก็บในสื่อต่าง ๆ เช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี หรือเทป เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะถูกนํามาประมวลผลตามต้องการ เช่น แยกแยะข้อมูลเป็นกลุ่ม เรียงลําดับข้อมูล คํานวณ หรือจัดการคัดแยกข้อมุลที่จัดเก็บนั้น การแสดงผลลัพธ์ อุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีในการแสดงผลลัพธ์มีมาก สามารถแสดงเป็นตัวหนังสือ เป็นรูปภาพ ตลอดจนพิมพ์ออกมาที่กระดาษ การแสดงผลลัพธ์มีทั้งที่แสดงเป็นภาพ เป็นเสียง เป็นวีดิ ทัศน์ เป็นต้น
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ )Information system) หมายถึง หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ ระบบ คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ระบบเครือข่าย ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาระบบ ผู้ใช้ระบบ พนักงานที่ เกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบนี้ทํางานร่วมกันเพื่อกําหนด รวบรวม จัดเก็บ ข้อมูล ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ใช้เพื่อช่วยสนับสนุน การทํางาน การตัดสินใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดําเนินงาน ขององค์กร ชุดขององค์ประกอบที่ทําหน้าที่รวบรวม ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อช่วย การตัดสินใจ และการควบคุมในองค์กร ในการทํางานของระบบสารสนเทศประกอบไปด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การนําข้อมูลเข้าสู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Processing) และ การนําเสนอผลลัพธ์ (Output) ระบบสารสนเทศอาจจะมีการสะท้อนกลับ (Feedback) เพื่อการประเมินและปรับปรุงข้อมูล นําเข้า ระบบสารสนเทศอาจจะเป็นระบบที่ประมวลด้วยมือ(Manual) หรือระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ได้ ระบบ คอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บข้อมูล และประมวลผลเป็นสารสนเทศ และระบบสารสนเทศเป็นระบบที่ต้องอาศัย ฐานข้อมูล
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศทุกประเภท ก็คือต้องประกอบด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ ระบบต้องมีการนําเข้า ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล และการแสดงผลลัพธ์ของข้อมูล 1. ระดับบุคคล ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับบุคคลนั้น จะเป็นการที่แต่ละบุคคลในองค์กรจะ สร้างและใช้สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานส่วนตัวเท่านั้น เช่น การใช้โปรแกรม ไมโครซอฟต์เวิร์ดในการพิมพ์เอกสาร การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ในงานนําเสนอ สําหรับการสอนหรือบรรยาย โดยสามารถกรอกข้อความ ตาราง ภาพ ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ที่ช่วย ดึงดูดให้ผู้ฟังสนใจตลอดเวลา การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซลล์กรอกข้อมูล คํานวณ สร้างกราฟ และทํานายผลลัพธ์ของข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ 2. ระดับกลุ่ม ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับกลุ่มนั้น จะเป็นการที่กลุ่มของคนในองค์กรที่ ต้องทํางานร่วมกันจะสร้างและใช้สารสนเทศร่วมกัน ซึ่งจะส่งเสริมการดําเนินงานของกลุ่มให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น หลักการ คือ นําเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายระยะใกล้หรือ ระยะไกล ทําให้มีการใช้ทรัพยากร ได้แก่ ข้อมูลและอุปกรณ์เทคโนโลยีพื้นฐานร่วมกัน
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ 3. ระดับองค์กร ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับองค์กรนั้น จะเป็นการที่แผนกต่าง ๆ ในองค์กร เช่น แผนการขายและการตลาด แผนการผลิต แผนกจัดซื้อ แผนกบุคคล แผนกการเงินและการบัญชี เป็นต้น มีการสร้างและส่งผ่านสารสนเทศจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่งได้โดยสร้างสารสนเทศใน รูปแบบรายงาน หรือกราฟเพื่อให้ผู้บริหารนําไปประกอบการตัดสินใจได้ หลักการ คือ นําเครื่องคอมพิวเตอร์ของแผนกต่าง ๆ มาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิด การใช้ข้อมูลร่วมกัน สิ่งที่สําคัญของระบบสารสนเทศระดับกลุ่มและระดับองค์กร คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็น เครือข่ายทั้งภายในองค์กรและการเชื่อมโยงภายนอกองค์กร เพื่อให้มีการสื่อสารและส่งข้อมูลถึงกันได้ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ประเภทระบบสารสนเทศ 1.ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็นระบบที่ทําหน้าที่ใน การปฏิบัติงานประจํา ทําการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน โดยใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ทํางานแทนการทํางานด้วยมือ ทั้งนี้เพื่อที่จะทําการสรุปข้อมูลเพื่อสร้างเป็นสารสนเทศ ระบบประมวลผลรายการนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นระบบที่เชื่อมโยงกิจการกับลูกค้า ตัวอย่าง เช่น ระบบการ จองบัตรโดยสารเครื่องบิน ระบบการฝากถอนเงินอัตโนมัติ เป็นต้น ในระบบต้องสร้างฐานข้อมูลที่ จําเป็น ระบบนี้มักจัดทําเพื่อสนองความต้องการของผู้บริหารระดับต้นเป็นส่วนใหญ่เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติงานประจําได้ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักจะอยู่ในรูปของ รายงานที่มีรายละเอียด รายงานผล เบื้องต้น 2. ระบบสํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เป็นระบบที่สนับสนุนงานใน สํานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทํางานของบุคลากรรวมทั้งกับ บุคคลภายนอก หรือหน่วยงานอื่น ระบบนี้จะเกี่ยวข้องกับการจัดการเอกสาร โดยการใช้ซอฟท์แวร์ด้าน การพิมพ์ การติดต่อผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ เอกสาร กําหนดการ สิ่งพิมพ์ 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ) Management Information Systems- MIS) เป็นระบบ สารสนเทศสําหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม ระบบจะเชื่อมโยงข้อมูลที่มีอยู่ในระบบประมวลผลรายการเข้าด้วยกัน เพื่อประมวลและสร้างสารสนเทศ ที่เหมาะสมและจําเป็นต่อการบริหารงาน ตัวอย่าง เช่น ระบบบริหารงานบุคลากร ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของรายงานสรุป รายงานของสิ่งผิดปกติ
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ประเภทระบบสารสนเทศ 4. ระบบงานสร้างความรู้) Knowledge Work Systems - KWS) เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุน บุคลากรที่ทํางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ใหม่ เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน หน่วยงานต้องนําเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การพัฒนา เกิดขึ้นได้โดยสะดวก สามารถแข่งขันได้ทั้งในด้านเวลา คุณภาพ และราคา ระบบต้องอาศัยแบบจําลองที่ สร้างขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดําเนินการ ก่อนที่จะนําเข้ามาดําเนินการจริงในธุรกิจ ผลลัพธ์ ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็นต้น 5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ) Decision Support Systems – DSS) เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารในการ ตัดสินใจสําหรับปัญหา หรือที่มีโครงสร้างหรือขั้นตอนในการหาคําตอบที่แน่นอนเพียงบางส่วน ข้อมูลที่ใช้ ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการประกอบกัน ระบบยังต้องสามารถเสนอทางเลือกให้ ผู้บริหารพิจารณา เพื่อเลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุดสําหรับสถานการณ์นั้น หลักการของระบบ สร้างขึ้น จากแนวคิดของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยการตัดสินใจ โดยให้ผู้ใช้โต้ตอบโดยตรงกับระบบ ทําให้สามารถ วิเคราะห์ ปรับเปลี่ยนเงื่อนไขและกระบวนการพิจารณาได้ โดยอาศัยประสบการณ์ และ ความสามารถของ ผู้บริหารเอง ผู้บริหารอาจกําหนดเงื่อนไขและทําการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขต่างๆ ไปจนกระทั่งพบสถานการณ์ ที่เหมาะสมที่สุด แล้วใช้เป็นสารสนเทศที่ช่วยตัดสินใจ รูปแบบของผลลัพธ์ อาจจะอยู่ในรูปของ รายงาน เฉพาะกิจ รายงานการวิเคราะห์เพื่อตัดสินใจ การทํานาย หรือ พยากรณ์เหตุการณ์ 6. ระบบสารสนเทศสําหรับผู้บริหารระดับสูง) Executive Information System - EIS) เป็นระบบที่ สร้างสารสนเทศเชิงกลยุทธ์สําหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทําหน้าที่กําหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของ กิจการ สารสนเทศสําหรับผู้บริหารระดับสูงนี้จําเป็นต้องอาศัยข้อมูลภายนอกกิจกรรมเป็นอย่างมาก ยิ่งใน ยุคปัจจุบันที่เป็นยุค Globalization ข้อมูลระดับโลก แนวโน้มระดับสากลเป็นข้อมูลที่จําเป็นสําหรับการ แข่งขันของธุรกิจ ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของการพยากรณ์ /การคาดการณ์
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในเอกสารการวิจัยของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ กล่าวถึงคุณสมบัติของ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทําให้เกิดการแพร่กระจายของการใช้อุปกรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง แพร่หลายในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยคุณสมบัติต่างๆดังนี้ การรวมตัวกันของเทคโนโลยี(Convergence) เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นการรวมตัวกันของ เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร รวมถึงระบบเทคโนโลยีอื่นๆ เช่น การกระจายเสียงเข้าไว้ ด้วยกัน ทําให้สามารถรับส่งสัญญาณ โดยเฉพาะข้อมูลที่อยู่ในรูปของสื่อแบบผสม ที่ประกอบด้วยภาพ เสียงและข้อความต่างๆได้อย่างรวดเร็ว สมบูรณ์และสามารถส่งได้ปริมาณมาก การเผยแพร่ข้อมูลต่างๆ ทําได้อย่างทั่วถึงกันมากขึ้น โดยเฉพาะการเผยแพร่ยุคไร้พรมแดน ต้นทุนที่ถูกลง(Cost reduction) เทคโนโลยีมีคุณสมบัติทําให้ราคาและการเป็นเจ้าของ อุปกรณ์เทคโนโลยีถูกลง ทั้งในส่วนของอัตราค่าบริการสื่อโทรคมนาคม เช่น ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการ อินเทอร์เน็ต ค่าเช่าสัญญาณเครือข่าย รวมถึงราคาของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีแน้มโน้มถูกลงเรื่อยๆ การพัฒนาอุปกรณ์ที่เล็กลง(Miniaturization) อุปกรณ์เทททททคโนโลยีสารสนเทศ หลากหลายประเภท รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์และโทรศัพท์ได้รับการพัฒนา ให้มีขนาดเล็กลงกว่าแต่ เดิมมาก ด้วยวิวัฒนาการของไมโครชิพ ทําให้สะดวกต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น การประมวลผลที่ดีขึ้น (Processing Power) โดยอาศัยพัฒนาการของผู้ผลิตหน่วย ประมวลผลกลางหรือพีซียูที่ทํางานเร็ซฃวขึ้นกว่าเดิม รวมถึงการสร้างโปรแกรมเพื่อตอบสนองการทํางาน ของผู้ใช้ที่มีประสิทธืภาพดียิ่งขึ้น
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้งานทีง่าย(User Friendliness) การพัฒนาโปรแกรมในปัจจุบัน มีการออกแบบ ส่วนประสานงานกับผู้ใช้เพื่อช่วยเหลือ และสนับสนุนการทํางานให้ง่ายยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับ คนที่ไม่คุ้นเคยเรื่องเทคโนโลยีมากนัก หรือที่เรียกว่า user-friendliness นั่นเอง การเปลี่ยนอะตอมเป็นบิต(Bits versus Atoms) ทิศทางของความนิยมและการกระจาย ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว ผ่านการใช้งานโดยเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นับได้ว่า เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนของการหันเหกิจกรรมที่ใช้ "อะตอม" เช่นการส่งเอกสารที่เป็นกระดาษ ไปสู่การ ใช้"บิต"มากยิ่งขึ้น ปัจจุบันจะเห็นว่าหลายองค์กรปรับเปลี่ยนการใช้งาน ที่มุ่งเน้นสู่สํานักงานแบบไร้ กระดาษ(paperless office) กันบ้างแล้ว สื่อผสม(Multimidia) เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถเผยแพร่สารสนเทศ ที่เป็นแบบ สื่อผสมมากขึ้น ประกอบด้วยสา(รสนเทศที่อยู่ในรูปแบบตัวอักษร ภาพกราฟฟิก เสียง ภาพนิ่ง รวมถึงภาพเคลื่อนไหวต่างๆเข้าด้วยกัน เวลาและภูมิศาสตร์ (Time S Distance) วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศทําให้ มนุษย์สามารถเอาชนะเงื่อนไขด้าน"เวลา" และ"ภูมิศาสตร์"ได้เป็นอย่างมาก เช่น การประชุมทางไกล สําหรับองค์การที่มีขนาดใหญ่และมีสาขาอยู่ทั่วประเทศ หากต้องการจัดประชุมโดยให้ผู้บริหารทุกสาขา เดินทางมายังสํานักงานใหญพร้อมกัน อาจทําได้ไม่สะดวกหรือจัดเวลาไม่ตรงกัน การประชุมแบบ ทางไกลสามารถเข้ามาช่วยแก้ปัญหานี้ได้ หรือการใช้รับสัญญาณดาวเทียม เพื่อถ่ายทอดสัญญาณ รายการเพื่อการศึกษาให้กับโรงเรียนชนบทที่ห่างไกล(tele-education) โดยที่นักเรียนไม่จําเป็นต้องเข้า มาแสวงความรุ้ในเมืองใหญ่ ก็สามารถได้แหล่งความรู้ที่เหมือนๆกัน เป็นการลดปัญหาในเรื่อง ภูมิศาสตร์
  • 11. 11 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนํามาประยุกต์ใช้ประโยชน์และเพิ่ม ขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศ และเพื่อ การส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม เช่น พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) หมายถึง การดําเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่ เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือการดําเนินธุรกิจการค้าหรือการซื้อขายบนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ซื้อ (Customer) สามารถดําเนินการ เลือกสินค้าคํานวณเงิน ตัดสินใจซื้อสินค้า โดยใช้ วงเงินในบัตรเครดิตได้โดยอัตโนมัติ ผู้ขาย (Business)สามารถนําเสนอสินค้า ตรวจสอบ วงเงินบัตรเครดิตของลูกค้า รับเงินชําระค่าสินค้า ตัดสินค้าจากคลังสินค้า และประสานงานไป ยังผู้จัดส่งสินค้าโดยอัตโนมัติ กระบวนการดังกล่าวจะดําเนินการเสร็จสิ้นบนระบบเครือข่าย
  • 12. 12 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ ด้านสังคม ด้านสังคม ช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชดําริชองสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มี คอมพิวเตอร์ใช้ เช่นโรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาล ผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถ อ่านหนังสือได้ด้วยระบบ DAISY ( Digital Accessible Information System)
  • 13. 13 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ ด้านการศึกษา การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) มีหลายรูปแบบเช่น Drill and Practice, Linear Program , Branching Program, Simulation, Game, Multimedia, Intelligence CAI .การศึกษาทางไกล (Distance Learning) ซึ่งจัดได้หลายรูปแบบ เช่น การใช้วิทยุ โทรทัศน์ การ สื่อสารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม (Direct to Home : DTH) หรือระบบการแระชุมทางไกล (Video Teleconference) .เครือข่ายการศึกษา (Education Network) ซึ่งเป็นการนําเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้ ซึ่งมี บริการในหลายรูปแบบ เช่น Electronic Mail , File Transfer Protocol, Telnet , World Wide Web เป็นต้น เครื่องข่ายคอมพิวเตอร์จะสามารถให้ผู้เรียนได้เข้าถึงแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มีจํานวนมากมายที่ เชื่อมโยงในเครือข่ายทั่วโลก .การใช้งานในห้องสมุด (Electronic Library) เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบค้นข้อมูลหนังสือ วารสาร หรือบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ ผลงานการวิจัย การใช้งานในห้องปฏิบัติการ เช่น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจําลองสถานการณ์ (Simulation) การใช้ในงานประจําและงานบริหาร (Computer Manage Instruction) เป็นการประยุกต์ใช้ในสํานักงาน เพื่อช่วยในการบริหาร จัดการ ทําให้เกิดความคล่องตัว รวดเร็วและแม่นยํา การตัดสินใจในการดําเนินการ ต่างๆ ย่อมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
  • 14. 14 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ ด้านการสื่อสารและโทรคมนาคม ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจารณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจากอดีต จนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่มจากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้ งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดู โทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ โทรศัพท์บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบสัมผัส ทําให้สะดวกต่อการใช้ งานมากขึ้น บางรุ่นมีอุปกรณ์สไตลัส (stylus) คือใช้ปากกาป้อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่นสามารถสั่งการด้วย เสียง ตัวอย่างอุปกรณ์สื่อสารและสารสนเทศแบบพกพา
  • 15. 15 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ ด้านสาธาณสุข ด้านสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนํามาใช้เริ่มต้งแต่การทําทะเบียนคนไข้ การ รักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆ ได้อย่ารวดเร็วและแม่นยํา นอกจากนี้ยังใช้ใน ห้องทดลอง การศึกษาและการวิจัยทางการแพทย์ รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่าน เครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ ( EMI scanner ) ถูก นํามาใช้ถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหาความผิดปกติในสมอง เช่น ดูเนื้องอกพยาธิเลือดออกในสมอง และ ต่อมาได้พัฒนาให้ถ่ายภาพหน้าตัดได้ทั่วร่างกาย เรียกชื่อว่า ซีเอที ( CAT-Computerized Axial Tomography scanner: CAT scanner ) ใช้วิธีฉายแสงเป็นจังหวะไปรอบๆ ร่างกายของมนุษย์ ถ่าย เอ็กซเรย์และเครื่องรับแสงเอกซเรย์ที่อยู่ตรงข้ามจะเปลี่ยนแสงเอ็กซเรย์ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้ าเก็บไว้ในจาน แม่เหล็ก จากนั้นจะนําสัญญาณไฟฟ้ าเหล่านี้เข้าไปวิเคราะห์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ และแสดงผลลัพธ์เป็น ภาพทางจอโทรทัศน์หรือพิมพ์ภาพออกมาทางเครื่องพิมพ์ ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 16. 16 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีประโยชน์ในด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม หรือภาพถ่ายทางอากาศร่วมกับการจดเก็บ รักษาข้อมูลระดับนํ้าทะเล ความสูงของคลื่นจากระบบเรดาร์ เป็นการศึกษาเพื่อหาสาเหตุ และนําข้อมูลมา วางแผนและสร้างระบบเพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งแต่ละแห่งได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ในรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์แบบผสม (hybrid engine) เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมก็ต้องใช้เทคโนโลยี เพื่อควบคุมให้เครื่องยนต์ลดการเผาไหม้นํ้ามันเชื้อเพลิง เป็นการช่วยลดมลภาวะจากก๊าซ-ไนโตรเจนออกไซด์ ไฮโดรคาร์บอน และก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ ที่ทําให้เกิดภาวะโลกร้อน ตัวอย่างเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารช่วยรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • 17. 17 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย เมื่อ 19 มีนาคม พ.ศ. 2545 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ.ศ.2544 – 2553 ของประเทศไทยได้เสนอเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และความเชื่อมโยงระหว่าง ยุทธศาสตร์กับการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้เพื่อใช้และสร้างภูมิ ปัญญาของคนไทยที่จะทําให้ประเทศไทยมีความแข็งแกร่งและความสามารถเพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญา ของคนไทยที่จะทําให้ประเทศไทยมีความแข็งแกร่งและความสามารถที่จะรับการท้าทายของการแข่งขัน ในระบบเศรษฐกิจใหม่ของสังคมโลกาภิวัฒน์ได้อย่างเต็มที่ กรอบนโยบายมี 3 เรื่อง คือ 1. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัฒน์ 2. สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 3. ประเทศไทยในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21 นโยบายฯ นี้มีสาระโดยรวมว่า เทคโนโลยีใหม่ที่รวมคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และการสื่อสาร )โทรคมนาคม(เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Information and Communications Technology หรือ ICT) ได้ก่อให้เกิดกิจรรมใหม่ๆ ในทางเศรษฐกิจและสังคมอันส่งผลต่อการดํารงอยู่ และการพัฒนาของประเทศต่างๆ ในโลกที่แตกต่างจากอดีตอย่างมาก จนเป็นที่ยอมรับกันว่าใน ศตวรรษที่ 21 (เริ่มจาก ค .ศ. 2001 หรือ พ .ศ. 2544 เป็นต้นไป (จะเกิดเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า เศรษฐกิจแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้) Knowledge – based Learning Economy) และจะมีผล ทําให้ประเทศไทยซึ่งมีทรัพยากรบุคคล อันมีความรู้เป็นพื้นฐานสามารถจะพัฒนาลํ้าหน้าประเทศอื่นๆ ที่ด้อยในส่วนนี้อย่างมาก
  • 18. 18 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย กรอบนโยบายนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทําให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายสําคัญ 3 ประการ คือ 1. เพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือพัฒนาประเทศ โดยมีเป้าหมายในการ เลื่อนสถานภาพของประเทศไทยจากประเทศ ในกลุ่มผู้ตามมีพลวัต (dynamic adopters) อันดับต้นๆ ไปสู่ประเทศ ในกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพเป็นผู้นํา (potential leaders) อันดับต้นๆ โดยใช้ดัชนี ผลสัมฤทธิ์ทางเทคโนโลยีของสํานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เป็นเครื่องมือประเมิน วัด 2. เพิ่มจํานวนแรงงานความรู้ของประเทศจากประมาณร้อยละ 12 ของแรงงานทั้งหมดให้เป็นร้อย ละ 30 ซึ่งเท่ากับค่าเฉลี่ยของแรงงานความรู้ของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (OECD) ใน พ.ศ. 2544 ตามสถิติ ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) 3. พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มสัดส่วนของมูลค่าอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการใช้ความรู้ เป็นพื้นฐานให้มีมูลค่าถึงร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) จากวิสัยทัศน์และนโยบายดังกล่าว นําไปสู่การกําหนดกลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ สําคัญไว้ 5 กลุ่ม คือ 1. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านภาครัฐ (e – Government) 2. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านพาณิชย์ (e – Commerce) 3. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม (e – Industry) 4. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา (e – Education) 5. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านสังคม (e – Society)
  • 19. 19 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย เป้าหมายและยุทธศาสตร์การพัฒนาใน นโยบาย IT 2010 ด้านภาครัฐ )e – Govemment) มีเป้าหมายในการนํา ICT มาพัฒนาและปรับปรุง ระบบงานบริหารที่สําคัญทุกประเภทของส่วนงานของรัฐ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ภายใน พ .ศ. 2547 และพัฒนาบริการที่ให้แก่สาธารณชนให้ได้ครบทุกขั้นตอนใน พ .ศง 2553 ด้านพาณิชย์ )e – Cbommerce) มีเป้าหมายมุ่งสร้างประโยชน์โดยรวมในกิจการพาณิชย์ ของประเทศ ทั้งในความสามารถในการแข่งขันของคนไทย และการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์สําหรับ ธุรกิจส่งออก การค้าและบริการ ด้านอุตสาหกรรม )e – Industry) มีเป้าหมายในการส่งเสริมและพัฒนาการใช้และการ ผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศของภาคเอกชน เพื่อให้เกิดอุตสาหกรรมการผลิตที่ใช้ความรู้เป็น ทรัพยากรสําคัญ ใน พ .ศ. 2553 ด้านสังคม )e – Society) มีเป้าหมายที่จะลดความเหลื่อมลํ้าของสังคม อันเป็นผล เนื่องมาจากความเหลื่อมลํ้าในการเข้าถึงสารสนเทศและความรู้ ซึ่งหมายถึงการพัฒนาให้คุณภาพชีวิต ของประชาชนทั่วไปดีขึ้น ด้านการศึกษา (e – Education) มีเป้าหมายในการสร้างความพร้อมของทรัพยากรมนุษย์ ทั้งหมดของประเทศ เพื่อช่วยกันพัฒนาให้เกิดสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ