SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
พระราชบัญญัตการศึกษาแห่ง
            ิ
         ชาติ
         พ.ศ. ๒๕๔๒ กษาแห่งชาติ
     สำานักงานคณะกรรมการการศึ
           สำานักนายกรัฐมนตรี
 นายวชิรพงษ์ ศิริพงษ์มงคล
รหัส ๔๙๑๑๑๑๐๑๐๐๙
 นายคมสันต์ สนไธสง
รหัส ๔๙๑๑๑๑๐๑๐๒๓
 นางสาวนัชไม มีคณ ุ     รหัส
๔๙๑๑๑๑๐๑๐๔๑

     โปรแกรมวิชาภาษาไทย คณะ
ครุศาสตร์
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
    ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
          เป็นปีที่ ๕๔ ในรัชกาลปัจจุบัน
       พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล
อดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
ประกาศว่าโดยที่เป็นการสมควรให้มกฎหมายว่า
                                    ี
ด้วยการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัตินี้มี
บทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำากัดสิทธิ
และเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบ
กับมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราช
อาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำาได้โดยอาศัย
อำานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขนไว้ึ้
มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนา
คนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติ
ปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม
ในการดำารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความ
สุข

         มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝัง
จิตสำานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข รู้จกรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความ
            ั
เคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็น
มนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผล
ประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริม
ศาสนา ศิลปะวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอด
จนอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความ
สามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความ
ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
(๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้
เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
    มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการ
จัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้
        (๑) มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลาก
หลายในการปฏิบัติ
        (๒) มีการกระจายอำานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษา และองค์กร                 ปกครองส่วน
ท้องถิ่น
        (๓) มีการกำาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัด
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุก                 ระดับและ
ประเภทการศึกษา
        (๔) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา              และการ
พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่าง
ต่อเนื่อง
        (๕) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ใน
การจัดการศึกษา
        (๖) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน
สรุป
   พระราชบัญญัติฉบับนี้มเจตนารมณ์ที่ต้องการเน้นยำ้า
                            ี
   ว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อ
พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ
   สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี
จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำารงชีวิตสามารถอยูร่วม ่
   กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
   การจัดการศึกษา ให้ยดหลักดังนี้
                          ึ
   1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำาหรับประชาชน
   2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และพัฒนา
   กระบวนการเรียนรู้
สำาหรับเรื่องการจัดระบบ โครงสร้างและกระบวนการ
   จัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้
   1) มีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายใน
   การปฏิบัติ
   2) มีการกระจายอำานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถาน
   ศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
   3) มีการกำาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบ
   ประกันคุณภาพการศึกษาทุก ระดับและประเภท
ความคิดเห็นต่อพ.ร.บ.การศึกษาไทย
พ.ศ. ๒๕๔๒
       “ จาก พ.ร.บ. การศึกษาไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวดที่ ๑
 นีจะเห็นได้ว่าเขาได้จัดเนือหาหลักทั้งหมดของกฎหมายไว้
   ้                       ้
 ในบทเริ่มต้นก็คือหมวดที่ ๑ นี้เอง เรื่องทีการศึกษาไทยได้
                                           ่
 วางเป้าเป็นไปตามพ.ร.บ. นี้ไหม อาจารย์คดว่าตรงตามเป้า
                                             ิ
 แต่ไม่สมบูรณ์เพราะในหมวดนีได้กล่าวไว้ว่า พัฒนาคนไทย
                                 ้
 ให้เป็นมนุษย์ แปลว่าคนไทยยังไม่เป็นมนุษย์ทพร้อมด้วย
                                                   ี่
 จริยธรรม คุณธรรม และสติปัญญา จึงกำาหนดให้คนไทยทุก
 คนมีการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นคนดี อยู่ร่วมกับผูอื่น
                                                       ้
 ได้อย่างมีความสุข แค่หมวดแรกยังไม่ตรงตามเป้าหมายที่จะ
 พัฒนาคนไทยเลย เพราะว่าโรงเรียนต้องเปิดรับนักเรียนทุก
 คนเข้ารับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทังสิ้นตาม
                                                 ้
 มาตรา ๑๐ ทุกคนต้องได้เรียน พ่อแม่มีความผิดถ้าไม่ส่งลูก
 เข้ารับการศึกษา พ่อแม่บ้างคนกล่าวว่า เรียนฟรีที่ไหน
 โรงเรียนเก็บค่าอะไรก็ไม่รู้ตั้งมากมาย ไหนค่าธรรมเนียม ค่า
 ไฟ ค่านำ้า จนกระทั่งค่าขยะ รวมแล้วมากกว่าค่าเล่าเรียนอีก
 ทำาให้เด็กขาดโอกาสทางการศึกษา เพราะผูปกครองไม่มี
                                               ้
 เงินที่จะส่งเสียลูก”
ความคิดเห็นต่อพ.ร.บ.การศึกษาไทย
พ.ศ. ๒๕๔๒
     ในตัวของข้าพเจ้าคิดว่าการศึกษาไทยมี
 บทบาทสำาคัญต่อคนไทยทุกคนที่จะพัฒนา
 ตนเองให้มีความรู้และมีคุณธรรม จริยธรรม
 ช่วยทำาให้ผู้เรียนมีสำานึกในความรักในศิลป
 วัฒนธรรมและศาสนา รู้จักรักษาประเทศชาติ
 มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย

              นักศึกษาปีที่ 3 เอกภาษา
 ไทย
ความคิดเห็นต่อพ.ร.บ.การศึกษาไทย
พ.ศ. ๒๕๔๒
       “ ส่วนใหญ่การศึกษาตรงตามเป้าหมาย แต่ส่วนน้อยไม่
 ตรงตามเป้าหมายเพราะมาจากพฤติกรรมของผูเรียน เช่น    ้
 การแต่งกาย การพูดจา และอารมณ์ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง
 วัฒนธรรมไทยเริ่มถอยลง ถึงแม้ว่าสถานศึกษาจะมีการส่ง
 เสริมศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา แต่ว่าการจัดกิจกรรมมี
 การจัดไม่เต็มรูปแบบ บางโรงเรียนส่วนน้อยก็ไม่ร่วมส่งเสริม
 สิ่งเหล่านีให้กบผูเรียน จึงทำาให้ผู้เรียนไม่รู้จักประเพณี
            ้   ั ้
 คุณค่าทางวัฒนธรรม
        แต่บางโรงเรียนได้มีการส่งเสริมให้ผเรียนมีคณภาพ
                                              ู้       ุ
 ทางการศึกษาที่ดและส่งให้อนาคตการศึกษาไทยไม่ลดถอย
                    ี
 ไป ถ้าทุกฝ่ายช่วยกันแก้ไขและพัฒนาองค์กรต่างๆ”

                           นางสาวพาขวัญ ลั่นนาวา
                    สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปี ๓ คณะ
ขอจบการนำาเสนอ

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Original edu 1

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)Muhammadrusdee Almaarify
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22teerawut123
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51Manchai
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 

Semelhante a Original edu 1 (20)

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทยการพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22
 
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51หลักสูตรเรณูนครฯปี51
หลักสูตรเรณูนครฯปี51
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 

Mais de pui003

Unit10
Unit10Unit10
Unit10pui003
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearningpui003
 
E education
E educationE education
E educationpui003
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์pui003
 
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์pui003
 

Mais de pui003 (6)

Unit10
Unit10Unit10
Unit10
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
E education
E educationE education
E education
 
ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์ภาษาไทย ไตรยางค์
ภาษาไทย ไตรยางค์
 
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
 
Speak
SpeakSpeak
Speak
 

Original edu 1

  • 1. พระราชบัญญัตการศึกษาแห่ง ิ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ กษาแห่งชาติ สำานักงานคณะกรรมการการศึ สำานักนายกรัฐมนตรี
  • 2.  นายวชิรพงษ์ ศิริพงษ์มงคล รหัส ๔๙๑๑๑๑๐๑๐๐๙  นายคมสันต์ สนไธสง รหัส ๔๙๑๑๑๑๐๑๐๒๓  นางสาวนัชไม มีคณ ุ รหัส ๔๙๑๑๑๑๐๑๐๔๑ โปรแกรมวิชาภาษาไทย คณะ ครุศาสตร์
  • 3. ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ เป็นปีที่ ๕๔ ในรัชกาลปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ ประกาศว่าโดยที่เป็นการสมควรให้มกฎหมายว่า ี ด้วยการศึกษาแห่งชาติ พระราชบัญญัตินี้มี บทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจำากัดสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบ กับมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราช อาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทำาได้โดยอาศัย อำานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย จึงทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขนไว้ึ้
  • 4.
  • 5. มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนา คนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบรูณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติ ปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรม ในการดำารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความ สุข มาตรา ๗ ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝัง จิตสำานึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข รู้จกรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความ ั เคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็น มนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผล ประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริม ศาสนา ศิลปะวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญา ท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอด จนอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความ สามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตนเอง มีความ ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง
  • 6. (๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้ เป็นไปอย่างต่อเนื่อง มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการ จัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้ (๑) มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลาก หลายในการปฏิบัติ (๒) มีการกระจายอำานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น (๓) มีการกำาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัด ระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุก ระดับและ ประเภทการศึกษา (๔) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการ พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง (๕) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ใน การจัดการศึกษา (๖) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน
  • 7. สรุป พระราชบัญญัติฉบับนี้มเจตนารมณ์ที่ต้องการเน้นยำ้า ี ว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อ พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มี จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำารงชีวิตสามารถอยูร่วม ่ กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การจัดการศึกษา ให้ยดหลักดังนี้ ึ 1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำาหรับประชาชน 2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา และพัฒนา กระบวนการเรียนรู้ สำาหรับเรื่องการจัดระบบ โครงสร้างและกระบวนการ จัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้ 1) มีเอกภาพด้านนโยบายและมีความหลากหลายใน การปฏิบัติ 2) มีการกระจายอำานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถาน ศึกษา และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 3) มีการกำาหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาทุก ระดับและประเภท
  • 8. ความคิดเห็นต่อพ.ร.บ.การศึกษาไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ “ จาก พ.ร.บ. การศึกษาไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวดที่ ๑ นีจะเห็นได้ว่าเขาได้จัดเนือหาหลักทั้งหมดของกฎหมายไว้ ้ ้ ในบทเริ่มต้นก็คือหมวดที่ ๑ นี้เอง เรื่องทีการศึกษาไทยได้ ่ วางเป้าเป็นไปตามพ.ร.บ. นี้ไหม อาจารย์คดว่าตรงตามเป้า ิ แต่ไม่สมบูรณ์เพราะในหมวดนีได้กล่าวไว้ว่า พัฒนาคนไทย ้ ให้เป็นมนุษย์ แปลว่าคนไทยยังไม่เป็นมนุษย์ทพร้อมด้วย ี่ จริยธรรม คุณธรรม และสติปัญญา จึงกำาหนดให้คนไทยทุก คนมีการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นคนดี อยู่ร่วมกับผูอื่น ้ ได้อย่างมีความสุข แค่หมวดแรกยังไม่ตรงตามเป้าหมายที่จะ พัฒนาคนไทยเลย เพราะว่าโรงเรียนต้องเปิดรับนักเรียนทุก คนเข้ารับการศึกษาโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทังสิ้นตาม ้ มาตรา ๑๐ ทุกคนต้องได้เรียน พ่อแม่มีความผิดถ้าไม่ส่งลูก เข้ารับการศึกษา พ่อแม่บ้างคนกล่าวว่า เรียนฟรีที่ไหน โรงเรียนเก็บค่าอะไรก็ไม่รู้ตั้งมากมาย ไหนค่าธรรมเนียม ค่า ไฟ ค่านำ้า จนกระทั่งค่าขยะ รวมแล้วมากกว่าค่าเล่าเรียนอีก ทำาให้เด็กขาดโอกาสทางการศึกษา เพราะผูปกครองไม่มี ้ เงินที่จะส่งเสียลูก”
  • 9. ความคิดเห็นต่อพ.ร.บ.การศึกษาไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ ในตัวของข้าพเจ้าคิดว่าการศึกษาไทยมี บทบาทสำาคัญต่อคนไทยทุกคนที่จะพัฒนา ตนเองให้มีความรู้และมีคุณธรรม จริยธรรม ช่วยทำาให้ผู้เรียนมีสำานึกในความรักในศิลป วัฒนธรรมและศาสนา รู้จักรักษาประเทศชาติ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย นักศึกษาปีที่ 3 เอกภาษา ไทย
  • 10. ความคิดเห็นต่อพ.ร.บ.การศึกษาไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ “ ส่วนใหญ่การศึกษาตรงตามเป้าหมาย แต่ส่วนน้อยไม่ ตรงตามเป้าหมายเพราะมาจากพฤติกรรมของผูเรียน เช่น ้ การแต่งกาย การพูดจา และอารมณ์ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง วัฒนธรรมไทยเริ่มถอยลง ถึงแม้ว่าสถานศึกษาจะมีการส่ง เสริมศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา แต่ว่าการจัดกิจกรรมมี การจัดไม่เต็มรูปแบบ บางโรงเรียนส่วนน้อยก็ไม่ร่วมส่งเสริม สิ่งเหล่านีให้กบผูเรียน จึงทำาให้ผู้เรียนไม่รู้จักประเพณี ้ ั ้ คุณค่าทางวัฒนธรรม แต่บางโรงเรียนได้มีการส่งเสริมให้ผเรียนมีคณภาพ ู้ ุ ทางการศึกษาที่ดและส่งให้อนาคตการศึกษาไทยไม่ลดถอย ี ไป ถ้าทุกฝ่ายช่วยกันแก้ไขและพัฒนาองค์กรต่างๆ” นางสาวพาขวัญ ลั่นนาวา สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ปี ๓ คณะ