SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 47
กระบวนการวินจฉัยชุมชน
             ิ
  แบบให้ชุมชนมีส่วนร่วม
  (PROCESS of COMMUNITY
      DIAGNOSIS and
 COMMUNITY PARTICIPATION)




พ . ต . หญิง ศศิพ ร อุ่น ใจชน
การสร้างความเข้าใจที่ถกต้องต่อ
                        ู
            “ชุมชน”
• การเข้า ใจชุม ชน การเข้า ถึง ชุม ชน
การเข้า หาชุม ชน
การทำางานสร้างเสริมสุขภาพของ
           วิชาชีพพยาบาล
       พยาบาลควรคำานึงถึง ...
   ปรับ มามองสุข ภาพมากขึ้น
   สร้า งสุข ภาพทั้ง ผูป ว ยและผูไ ม่ป ว ย
                        ้ ่       ้     ่
   ผสมผสานกิจ กรรมสร้า งสุข ภาพในทุก
    ระดับ ของการพยาบาล
   ผสมผสานกิจ กรรมสร้า งสุข ภาพในทุก
    หน่ว ยของการพยาบาล
การทำางานสร้างเสริมสุขภาพของ
            วิชาชีพพยาบาล
               พยาบาลควรคำานึงถึง...
   ประยุกต์แนวคิดหลักการบริการสร้างเสริมสุข
    ภาพในการพยาบาล
   ขยายกลุ่มเป้าหมาย
    •   ครอบครัว
    •   ชุมชน
    •   กลุ่มเป้าหมายพิเศษ เช่น คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส
การทำางานสร้างเสริมสุขภาพของ
           วิชาชีพพยาบาล
        พยาบาลควรคำานึงถึง...
   เพิ่มขอบข่ายการประเมินผู้ปวยให้ครอบคลุม
                              ่
    กาย ใจ สังคม เศรษฐกิจ จิต วิญญาณ เพิ่มระบบ
    การส่งต่อ และ การดูแลต่อเนื่อง

   ประเมินศักยภาพชุมชน และ เพิ่มการทำางานให้
    ชุมชนมีสวนร่วมในการดูแลสุขภาพชุมชน
             ่
ครื่อ งมือ ศึก ษาชุม ชน
   แผนที่เ ดิน ดิน
   ผัง เครือ ญาติ
   โครงสร้า งองค์ก รชุม ชน
   ระบบสุข ภาพชุม ชน
   ปฏิท น ชุม ชน
         ิ
   ประวัต ิศ าสตร์ช ุม ชน
   ชีว ประวัต ิบ ค คลสำา คัญ
                 ุ
1. แผนที่เ ดิน ดิน
  สำา คัญ ที่ส ุด
  เพราะ ….
       เห็น ภาพรวม
       ได้ข ้อ มูล
  มาก / เร็ว
       ข้อ มูล เชื่อ ถือ
  ได้
ะเภทของแผนที่ช ุม ชน
  1. แผนที) ประกอบด้ว ย (หรือ ทาง
  กายภาพ ่ท างภูม ิศ าสตร์
  ระยะทางการกำา หนดทิศ มาตราส่ว น
  เดือ น เครืี่ทงหมายสัญ ลัก ษณ์ วัน
          ปีท ่อ ำา แผนที่
         และชื่อ ผู้ท ำา แผนที่ เป็น การให้
  ความสำา คัญ กับ
  space) พืน ทีท างกายภาพ (Physical
           ้ ่

  2. แผนที่เ ดิน ดิน เน้น พื้น ที่ท างสัง คม
  (social space)
        และหน้า ทีท างสัง คม (social
                    ่
2. ผัม พัน ธ์ร ากฐาน
  ความสั ง เครือ
       ของชีว ิต
      ญาติ

80% ของการเจ็บ ป่ว ยเกิด
  ขึ้น และถูก เยีย วยาใน
ครงสร้า งองค์ก รชุม


   เศรษฐกิจ: อาหาร รายได้
   สังคม:เงินกู้ /องค์พรทาง
          กลุ่ม อาชี ก
อง:แหล่ง ร/ผู้นำาทางการ/ไม่เป็น
    องค์ก
   สังคม/วัฒนธรรม
4. ระบบสุข ภาพ
     ชุม ชน
ระบบการแพทย์
      พหุล ัก ษณ์
      MEDICAL
     PLURALISM POPULAR
                  SECTOR
                ภาคประชาชน
         80%
PROFESSIONAL    FOLK SECTOR
   SECTOR         พื้น บ้า น
  ภาควิช าชีพ
ปฏิท น กิจ กรรมชุม
     ิ
   คือ วิถ ีช ีว ิต
  ปฏิท ิน เศรษฐกิจ
  ปฏิท ิน วัฒ นธรรม
ประวัต ิศ าสตร์ช ุม
           เศรษฐกิจ
           สัง คม
           การเมือ ง
           สาธารณส
           ข
. ชีว ประวัต ิ
  คนจน
  คนทุก ข์
  คนป่ว ย
   หมอบ้า น
   คนเฒ่า คนแก่
   ผู้น ำา ทางการ/
   ธรรมชาติ
Process of
Community diagnosis
COMMUNITY
         NURSING PROCESS
          1. COMMUNITY ASSESSMENT



2. DATA COLLECTION & DATA ANALYSIS


                                6. PROJECT EVALUATION &
3. PRIORITY SETTING             CONTINUATION




 4. PROBLEM ANALYSIS


                      5. PROJECT INTERVENTION
* Community
assessment                * Nursing activity
- Demographic             - primary care,
characteristic            BMC
- Community               - health education
background                - health
- Physical environment    counselling
- Socio-cultural          - home visiting
environment               - surveillance
- Network assessment :    - school health
social & support          promotion                       Family
network                   - coordination &                Well-
- Economic resource :     advocation      -               being
financial, health         etc.
insurance                      Planni        Interven
- Health behaviors :           ng            tion                  QO
    : HSU & illness                                                L
behaviors
* Community                * Nursing
    : health promoting &                                   Commu
participation              role
preventing behaviors                                       nity
- sharing life             - Health                        Well-
experiences                educator                        being
- problem                  - Health
diagnosis &                counsellor
prioritization             - Home
- problem analysis         visitor
(emic view)                - Mediator &
- planning Conceptual framework of community diagnosis process
                           Advocator
ขั้นตอนที่ 1 การทำาแผนที่
            ชุมชน
 แผนทีช ุม ชน แผนที่เ ดิน ดิน
       ่
 Overview Mapping

  Community
Family Folder
 เครือ ญาติข องครอบครัว
ฏิท น ชีว ิต
    ิ
ผนเชิง รุก
 ะวัต ิช ีว ต
            ิ
2. DATA COLLECTION & DATA
          ANALYSIS
 การประมวลข้อ มูล การวิเ คราะห์แ ละ
 การวิเ คราะห์ข ้อ มูล : ต้อ งจัด หมวด
           การนำา เสนอข้อ มูล
  และแจกแจงข้อ มูล พื้น ฐานของ
  ประชากรได้ โดยต้อ งคำา นวณจำา นวน
  ประชากรกลางปี, อัต ราการเพิ่ม
  ประชากร , อัต ราการเกิด , อัต ราการ
  ตาย , อัต ราอุบ ต ิก ารณ์ก ารเกิด โรค
                  ั
  ต่า งๆ ฯลฯ
 การนำา เสนอข้อ มูล ของชุม ชน เน้น เรื่อ ง
  สำา คัญ คือ
- จำา นวนประชากร จำา แนกตามเพศและ
  อายุ ที่แ บ่ง เป็น ช่ว ง ทุก 5 ปี โดยการสร้า ง
  แผนภูม ิป ร ามิด ประชากร
             ิ
- จำา แนกประชากรตาม ระดับ การศึก ษา
  อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส ศาสนา
  ฯลฯ
- ข้อ มูล ทางด้า นสุข ภาพของชุม ชน ด้ว ย
  ตาราง กราฟ แผนภูม ช นิด ต่า งๆ ตาม
                              ิ
  ความเหมาะสม เช่น แผนภูม ิแ ท่ง แผนภูม ิ
3. PRIORITY
               SETTING ่เ ร่ง
   ต้อ งเลือ กแก้ไ ขปัญ หาที
    ด่ว นและจำา เป็น ที่ส ุด ก่อ น
    ...
         1.เนื่องจากทรัพยากรในการ
         แก้ไขปัญหาจำากัด
รจัด ลำา ดับ ความสำา คัญ ของปัญ บัติงานงเน้น
         2. ระยะเวลาในการปฏิหา ต้อ
าชนในชุม านวย ว นร่ว ม : การทำา เวทีป ระ
    ไม่เอื้ออำชนมีส ่
            หรือระยะเวลาในการปฏิบัติ
การระบุปญหาและความต้องการของชุม
        ั

  ปัญหาของชุมชนทางด้าน
  สุขภาพอนามัย
       หมายถึง โรคหรือภาวะ
  เสี่ยงอันอาจจะก่อให้เกิดโรค
  อื่น ๆตามมา มีผลให้
  ประชาชนไม่สามารถมีชีวิต
การเขียนปัญหา
     1. ระบุว่าใคร เป็น
     อะไร
     2. จำานวนเท่าไร
     3. คิดเป็นร้อยละ
ตัวอย่างปัญหา

    ประชาชนป่วยด้วยโรคอุจจาระ
ร่วง จำานวน 300 คน คิดเป็นร้อย
ละ81.20
วิธ ีก ารจัด ลำา ดับ ความ
        สำา คัญ ของปัญงนี้
พิจารณา 3 องค์ประกอบ ดั    หา
1.ด้า นสุข ภาพอนามัย ของ
  ประชากรในชุม ชน
   โดยพิจารณาถึง
   1.1 ขนาดของปัญ หา
        (size of problem or
  prevalence)
   1.2 ความรุน แรงของปัญ หา
       (Severity of problem)
2. ด้า นความยากง่า ยในการแก้
ปัญ หา
(Ease of management
หรือ Feasibility)
2.1 ด้า นวิช าการ
2.2 ด้า นการบริห าร
2.3 ระยะเวลา
2.4 ด้า นกฎหมายและศีล
ธรรม
3.ความวิต กกัง วลต่อ ปัญ หาของ
  ชุม ชน
   (Community concerns)
การที่ประชาชนในชุมชนเห็นว่า
ปัญหาที่เกิดขึ้นมีความสำาคัญหรือ
ไม่ มีความวิตกกังวลห่วงใยหรือ
ต้องการแก้ไขปัญหาหรือไม่ หรือมี
ความต้องการ
ร่วมมือในการแก้ไขปัญหามากน้อย
การจัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาตาม
ขนาดของปัญหา

          ร้อยละของผู้ป่วย
คะแนน

 มากกว่าร้อยละ 0 ถึง 25
      1
               26 ถึง 50
      2
การจัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาตาม
        ความรุนแรงของปัญหา

        ความรุนแรงของปัญหา
คะแนน

 มากกว่าร้อยละ 0 ถึง 25
      1
               26 ถึง 50
   2
               51 ถึง 75
การจัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาตาม
    ความยากง่ายในการแก้ปัญหา

        การแก้ปัญหา       คะแนน


           ยากมาก          1
           ยาก             2
           ง่าย
    3
การจัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาตาม
 ความวิตกกังวลต่อปัญหาของชุมชน

    ความวิตกกังวลต่อปัญหา
  คะแนน

   วิตกกังวลน้อยมาก / ให้ความร่วมมือ
น้อยมาก 1
   วิตกกังวลน้อย    / ให้ความร่วมมือ
น้อย            2
การคิด คะแนนเพือ จัด ลำา ดับ ความสำา คัญ ขอ
               ่
         คะแนนองค์ประกอบ                    คะแนน
     ปัญหา
    ขนาด ความรุนแรง ความยากง่าย วิตกกังวล   วิธีบวก
     2       2              3           1



    4         2            2            3
4. PROBLEM ANALYSIS
การวิเ คราะห์ส าเหตุข องปัญ หา
          (Problem Analysis) หรือ
   การ โยงใยสาเหตุข องปัญ หา (Web of
1. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดของ
   วิทยาการระบาด   causation)
   (Host – Agent – Environment) ... DHF
2. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดทาง
   พฤติกรรมศาสตร์ ... HT
3. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดวัฏจักร
   (Vicious cycle)
    (โง่ - จน – เจ็บ) ... Malnutrition
5. PROJECT INTERVENTION

การเขียนโครงการ
การเขีย นโครงการสุข ภาพ
       ในงานสาธารณสุข
   องค์ป ระกอบของโครงการ
       1. ชือ โครงการ เป็น การสื่อ ความ
               ่
    ถึง ผู้อ ่า นให้เ ข้า ใจในภาพรวม /ภาพ
    กว้า งของโครงการนี้ว ่า ต้อ งการ
    ดำา เนิน การเกี่ย วกับ อะไร หรือ มีเ ป้า
    หมายหลัก อย่า งไร
                 “นรพ.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ”
       2. หลัก การและเหตุผ ล หมายถึง
    ที่มาและปัญหาสุขภาพที่ต้องการแก้ไขนั้น
องค์ป ระกอบของโครงการ
3. วัต ถุป ระสงค์ข องโครงการ
 (Objective) เป็นการกำาหนดสิ่งที่ต้องการ
 ให้เกิดขึ้นหลังเสร็จสินโครงการ
                        ้
  __ประชาชนตระหนักถึงความสำาคัญของ
 การกำาจัดลูกนำ้ายุงลาย
   __นทน.มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สีหน้ายิมแย้ม
                                         ้
 ไม่เครียด
4. เป้า หมาย /ตัว ชี้ว ัด ความสำา เร็จ ของ
 โครงการ (Targets/Indicators) เป็นการ
 กำาหนดสิงที่ต้องการให้เกิดหลังดำาเนิน
            ่
5. วิธ ด ำา เนิน การและกิจ กรรม
       ี
 (Activity) ให้ระบุวิธการทำางานเพือให้
                        ี            ่
 บังเกิดผลดังกล่าว ช่องทางหรือแนวทาง
 ปฏิบัติ กิจกรรม รวมทั้งระบุขั้นตอนในการ
 ปฏิบัติและเครื่องมือไว้ดวย
                          ้
         ... H/E, H/V, อบรมผู้นำาชุมชน, จัด
 นิทรรศการ
6. ระยะเวลาดำา เนิน การ เป็นการกำาหนด
 วันหรือช่วงเวลาที่จะปฏิบัติตามโครงการ
 อาจจัดทำาเป็นผังควบคุมกำากับงาน
 (Gantt chart/Time table)
 8. ทรัพ ยากร เป็นการระบุปัจจัยทังหลาย
                                  ้
  ที่ถูกนำามาใช้ทั้งหมดในโครงการ ได้แก่
  บุคคล อุปกรณ์ งบประมาณ แหล่งและ
  จำานวนเงินทุน (money) รวมทั้งยอดค่า
  ใช้จ่ายจำาแนกตามหมวดหรือรายการจ่าย
 9. การประเมิน ผล เป็นการกำาหนดราย

  ละเอียดของการประเมินความสำาเร็จของ
  โครงการ
   ... การสังเกตความสนใจ คะแนนสอบ
  จำานวนผู้เข้าร่วม
 10. ผลที่ค าดว่า จะได้ร ับ

  (Benefits/positive impacts) เป็นการ
11. ผู้ร ับ ผิด ชอบโครงการ นิยมระบุเป็น
 หน่วยงานหรือองค์กร มักไม่ระบุชื่อเป็น
 รายบุคคล

12. ผัง ควบคุม กำา กับ งาน (Gantt
  chart) เป็นการแสดงรายละเอียดของ
  กิจกรรม
 วัน-เวลา ทรัพยากรและการประเมินผล
6. PROJECT
   EVALUATION
การประเมิน ผลโครงการ
      สุข ภาพ
1. ชนิด ของการประเมิน มี 2
              แบบ คือ
   แบบที่ 1 เป็นการประเมินขณะดำาเนินการเพื่อ
    ใช้เป็นเครื่องมือปรับปรุงงานเป็นระยะ
    (Formative evaluation)

   แบบที่ 2 เป็นการประเมินหลังดำาเนินการ
    (Summative evaluation) เป็นการสรุปใน
    ภาพรวมว่าโครงการนีสำาเร็จหรือไม่ โดยใช้
                        ้
    การประเมินในประเด็นต่างๆที่จะกล่าวในราย
    ละเอียดต่อไป
ประเด็น การประเมิน
1. ประสิท ธิผ ล (Effectiveness) หรือ
   ความสำาเร็จของงานสาธารณสุข เป็น
   องค์ประกอบที่สามารถประเมินได้จาก
   การเปรียบเทียบผลงานที่ได้หรือผล
   สัมฤทธิของโครงการ กับเป้าหมาย/ตัว
          ์
   ชีวัดความสำาเร็จของโครงการที่กำาหนด
     ้
   ไว้

*การประเมินประสิทธิผลจะทำาได้เมือสิ้น
                                ่
  สุดโครงการแล้ว
(Summative evaluation) ด้วยข้อมูล
2. ประสิท ธิภ าพ (Efficiency) สามารถประเมิน
  ได้จากการพิจารณาว่าโครงการนั้นสามารถ
  ดำาเนินไปตามแผนปฏิบัติการในแต่ละขั้นตอน
  อย่างสะดวก ราบรื่น เสร็จสินตามเวลาและงบ
                            ้
  ประมาณที่กำาหนด
*เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพต้องสอดคล้อง
  กับวัตถุประสงค์ของโครงการ
                 ของโครงการ

3. ความก้า วหน้า (Progress) การประเมิน
 ความก้าวหน้าเป็นการวิเคราะห์ความพยายาม
                              ความพยายาม
 ในการดำาเนินกิจกรรมตลอดจนอัตราการปฏิบติ   ั
 งานจริงเมื่อเปรียบเทียบกับแผนงานที่กำาหนดไว้
4. ความคุม ค่า และพอเพีย ง
         ้                    (Adequacy)
 เป็นการประเมินการใช้ทรัพยากรทุกด้านให้
 เกิดประโยชน์สูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับผล
 สัมฤทธิที่บังเกิด
        ์

5. ความสัม พัน ธ์ส อดคล้อ ง (Relevancy)
 ผู้บริหารมักใช้ประเด็นนี้ในการพิจารณา
 โครงการก่อนอนุมัติโครงการและงบประมาณ
 สอดคล้องนโยบาย

6. ผลกระทบ (Impacts) เป็นการติดตาม
 ผลที่เกิดจากโครงการในระยะยาวหรือเป็น
 ผลทางอ้อมที่ต้องใช้ความละเอียดอ่อนในการ

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Community diagnosis
Community diagnosisCommunity diagnosis
Community diagnosisNursing Path
 
Community Health Diagnosis programm (CDP)
Community Health Diagnosis programm (CDP)Community Health Diagnosis programm (CDP)
Community Health Diagnosis programm (CDP)Dr. Kishor Adhikari
 
Nakasongola Community Diagnosis Report
Nakasongola Community Diagnosis ReportNakasongola Community Diagnosis Report
Nakasongola Community Diagnosis ReportOriba Dan Langoya
 
Community diagnosis of nakasongola district summary
Community diagnosis of nakasongola district summaryCommunity diagnosis of nakasongola district summary
Community diagnosis of nakasongola district summaryOriba Dan Langoya
 
Community Health Nursing (complete)
Community Health Nursing (complete)Community Health Nursing (complete)
Community Health Nursing (complete)MarkFredderickAbejo
 
Community Assessments: How to assess a community's needs
Community Assessments: How to assess a community's needsCommunity Assessments: How to assess a community's needs
Community Assessments: How to assess a community's needsRotary International
 
How to Conduct a Community Assessment for Health Projects
How to Conduct a Community Assessment for Health ProjectsHow to Conduct a Community Assessment for Health Projects
How to Conduct a Community Assessment for Health ProjectsRotary International
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองดา ดาลี่
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
Nursing Process-Assessment
Nursing Process-AssessmentNursing Process-Assessment
Nursing Process-AssessmentApril Alap
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมTupPee Zhouyongfang
 
เรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเราเรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเราพัน พัน
 

Destaque (20)

Community diagnosis
Community diagnosisCommunity diagnosis
Community diagnosis
 
Community Diagnosis
Community DiagnosisCommunity Diagnosis
Community Diagnosis
 
Community diagnosis
Community diagnosisCommunity diagnosis
Community diagnosis
 
Community Health Diagnosis programm (CDP)
Community Health Diagnosis programm (CDP)Community Health Diagnosis programm (CDP)
Community Health Diagnosis programm (CDP)
 
Nakasongola Community Diagnosis Report
Nakasongola Community Diagnosis ReportNakasongola Community Diagnosis Report
Nakasongola Community Diagnosis Report
 
Community diagnosis of nakasongola district summary
Community diagnosis of nakasongola district summaryCommunity diagnosis of nakasongola district summary
Community diagnosis of nakasongola district summary
 
Community Health Nursing (complete)
Community Health Nursing (complete)Community Health Nursing (complete)
Community Health Nursing (complete)
 
Passionbased Oce Avalon
Passionbased Oce AvalonPassionbased Oce Avalon
Passionbased Oce Avalon
 
Community Assessments: How to assess a community's needs
Community Assessments: How to assess a community's needsCommunity Assessments: How to assess a community's needs
Community Assessments: How to assess a community's needs
 
How to Conduct a Community Assessment for Health Projects
How to Conduct a Community Assessment for Health ProjectsHow to Conduct a Community Assessment for Health Projects
How to Conduct a Community Assessment for Health Projects
 
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรองสถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
สถิติเบื้องต้นกลุ่ม 2 สำรอง
 
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวมการเปินแบบย่อยและแบบรวม
การเปินแบบย่อยและแบบรวม
 
Objectives
ObjectivesObjectives
Objectives
 
023 qualitative research
023 qualitative research023 qualitative research
023 qualitative research
 
Nursing Process-Assessment
Nursing Process-AssessmentNursing Process-Assessment
Nursing Process-Assessment
 
Public health nutrition
Public health nutritionPublic health nutrition
Public health nutrition
 
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวมการประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม
 
เศรษฐี อช
เศรษฐี อชเศรษฐี อช
เศรษฐี อช
 
nsg diagnosis
nsg diagnosisnsg diagnosis
nsg diagnosis
 
เรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเราเรียนรู้ตัวเรา
เรียนรู้ตัวเรา
 

Semelhante a Communty diagnosis

Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28Borwornsom Leerapan
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health PonetongNithimar Or
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนsoftganz
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทยการพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทยDr.Choen Krainara
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6Kruthai Kidsdee
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2Ultraman Taro
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 

Semelhante a Communty diagnosis (20)

Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
การวิเคราะห์และจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อจัดทำโครงการชุมชน 2016.10.28
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
Il payathai
Il payathaiIl payathai
Il payathai
 
Oral Health Ponetong
Oral Health PonetongOral Health Ponetong
Oral Health Ponetong
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทยการพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
 
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดม.6
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2
 
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 

Communty diagnosis

  • 1. กระบวนการวินจฉัยชุมชน ิ แบบให้ชุมชนมีส่วนร่วม (PROCESS of COMMUNITY DIAGNOSIS and COMMUNITY PARTICIPATION) พ . ต . หญิง ศศิพ ร อุ่น ใจชน
  • 2. การสร้างความเข้าใจที่ถกต้องต่อ ู “ชุมชน” • การเข้า ใจชุม ชน การเข้า ถึง ชุม ชน การเข้า หาชุม ชน
  • 3. การทำางานสร้างเสริมสุขภาพของ วิชาชีพพยาบาล พยาบาลควรคำานึงถึง ...  ปรับ มามองสุข ภาพมากขึ้น  สร้า งสุข ภาพทั้ง ผูป ว ยและผูไ ม่ป ว ย ้ ่ ้ ่  ผสมผสานกิจ กรรมสร้า งสุข ภาพในทุก ระดับ ของการพยาบาล  ผสมผสานกิจ กรรมสร้า งสุข ภาพในทุก หน่ว ยของการพยาบาล
  • 4. การทำางานสร้างเสริมสุขภาพของ วิชาชีพพยาบาล พยาบาลควรคำานึงถึง...  ประยุกต์แนวคิดหลักการบริการสร้างเสริมสุข ภาพในการพยาบาล  ขยายกลุ่มเป้าหมาย • ครอบครัว • ชุมชน • กลุ่มเป้าหมายพิเศษ เช่น คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส
  • 5. การทำางานสร้างเสริมสุขภาพของ วิชาชีพพยาบาล พยาบาลควรคำานึงถึง...  เพิ่มขอบข่ายการประเมินผู้ปวยให้ครอบคลุม ่ กาย ใจ สังคม เศรษฐกิจ จิต วิญญาณ เพิ่มระบบ การส่งต่อ และ การดูแลต่อเนื่อง  ประเมินศักยภาพชุมชน และ เพิ่มการทำางานให้ ชุมชนมีสวนร่วมในการดูแลสุขภาพชุมชน ่
  • 6. ครื่อ งมือ ศึก ษาชุม ชน แผนที่เ ดิน ดิน ผัง เครือ ญาติ โครงสร้า งองค์ก รชุม ชน ระบบสุข ภาพชุม ชน ปฏิท น ชุม ชน ิ ประวัต ิศ าสตร์ช ุม ชน ชีว ประวัต ิบ ค คลสำา คัญ ุ
  • 7. 1. แผนที่เ ดิน ดิน สำา คัญ ที่ส ุด เพราะ …. เห็น ภาพรวม ได้ข ้อ มูล มาก / เร็ว ข้อ มูล เชื่อ ถือ ได้
  • 8. ะเภทของแผนที่ช ุม ชน 1. แผนที) ประกอบด้ว ย (หรือ ทาง กายภาพ ่ท างภูม ิศ าสตร์ ระยะทางการกำา หนดทิศ มาตราส่ว น เดือ น เครืี่ทงหมายสัญ ลัก ษณ์ วัน ปีท ่อ ำา แผนที่ และชื่อ ผู้ท ำา แผนที่ เป็น การให้ ความสำา คัญ กับ space) พืน ทีท างกายภาพ (Physical ้ ่ 2. แผนที่เ ดิน ดิน เน้น พื้น ที่ท างสัง คม (social space) และหน้า ทีท างสัง คม (social ่
  • 9. 2. ผัม พัน ธ์ร ากฐาน ความสั ง เครือ ของชีว ิต ญาติ 80% ของการเจ็บ ป่ว ยเกิด ขึ้น และถูก เยีย วยาใน
  • 10. ครงสร้า งองค์ก รชุม เศรษฐกิจ: อาหาร รายได้ สังคม:เงินกู้ /องค์พรทาง กลุ่ม อาชี ก อง:แหล่ง ร/ผู้นำาทางการ/ไม่เป็น องค์ก สังคม/วัฒนธรรม
  • 12. ระบบการแพทย์ พหุล ัก ษณ์ MEDICAL PLURALISM POPULAR SECTOR ภาคประชาชน 80% PROFESSIONAL FOLK SECTOR SECTOR พื้น บ้า น ภาควิช าชีพ
  • 13. ปฏิท น กิจ กรรมชุม ิ คือ วิถ ีช ีว ิต ปฏิท ิน เศรษฐกิจ ปฏิท ิน วัฒ นธรรม
  • 14. ประวัต ิศ าสตร์ช ุม เศรษฐกิจ สัง คม การเมือ ง สาธารณส ข
  • 15. . ชีว ประวัต ิ คนจน คนทุก ข์ คนป่ว ย หมอบ้า น คนเฒ่า คนแก่ ผู้น ำา ทางการ/ ธรรมชาติ
  • 17. COMMUNITY NURSING PROCESS 1. COMMUNITY ASSESSMENT 2. DATA COLLECTION & DATA ANALYSIS 6. PROJECT EVALUATION & 3. PRIORITY SETTING CONTINUATION 4. PROBLEM ANALYSIS 5. PROJECT INTERVENTION
  • 18. * Community assessment * Nursing activity - Demographic - primary care, characteristic BMC - Community - health education background - health - Physical environment counselling - Socio-cultural - home visiting environment - surveillance - Network assessment : - school health social & support promotion Family network - coordination & Well- - Economic resource : advocation - being financial, health etc. insurance Planni Interven - Health behaviors : ng tion QO : HSU & illness L behaviors * Community * Nursing : health promoting & Commu participation role preventing behaviors nity - sharing life - Health Well- experiences educator being - problem - Health diagnosis & counsellor prioritization - Home - problem analysis visitor (emic view) - Mediator & - planning Conceptual framework of community diagnosis process Advocator
  • 19. ขั้นตอนที่ 1 การทำาแผนที่ ชุมชน  แผนทีช ุม ชน แผนที่เ ดิน ดิน ่  Overview Mapping Community
  • 20. Family Folder เครือ ญาติข องครอบครัว ฏิท น ชีว ิต ิ ผนเชิง รุก ะวัต ิช ีว ต ิ
  • 21. 2. DATA COLLECTION & DATA ANALYSIS การประมวลข้อ มูล การวิเ คราะห์แ ละ  การวิเ คราะห์ข ้อ มูล : ต้อ งจัด หมวด การนำา เสนอข้อ มูล และแจกแจงข้อ มูล พื้น ฐานของ ประชากรได้ โดยต้อ งคำา นวณจำา นวน ประชากรกลางปี, อัต ราการเพิ่ม ประชากร , อัต ราการเกิด , อัต ราการ ตาย , อัต ราอุบ ต ิก ารณ์ก ารเกิด โรค ั ต่า งๆ ฯลฯ
  • 22.  การนำา เสนอข้อ มูล ของชุม ชน เน้น เรื่อ ง สำา คัญ คือ - จำา นวนประชากร จำา แนกตามเพศและ อายุ ที่แ บ่ง เป็น ช่ว ง ทุก 5 ปี โดยการสร้า ง แผนภูม ิป ร ามิด ประชากร ิ - จำา แนกประชากรตาม ระดับ การศึก ษา อาชีพ รายได้ สถานภาพสมรส ศาสนา ฯลฯ - ข้อ มูล ทางด้า นสุข ภาพของชุม ชน ด้ว ย ตาราง กราฟ แผนภูม ช นิด ต่า งๆ ตาม ิ ความเหมาะสม เช่น แผนภูม ิแ ท่ง แผนภูม ิ
  • 23. 3. PRIORITY SETTING ่เ ร่ง ต้อ งเลือ กแก้ไ ขปัญ หาที ด่ว นและจำา เป็น ที่ส ุด ก่อ น ... 1.เนื่องจากทรัพยากรในการ แก้ไขปัญหาจำากัด รจัด ลำา ดับ ความสำา คัญ ของปัญ บัติงานงเน้น 2. ระยะเวลาในการปฏิหา ต้อ าชนในชุม านวย ว นร่ว ม : การทำา เวทีป ระ ไม่เอื้ออำชนมีส ่ หรือระยะเวลาในการปฏิบัติ
  • 24. การระบุปญหาและความต้องการของชุม ั ปัญหาของชุมชนทางด้าน สุขภาพอนามัย หมายถึง โรคหรือภาวะ เสี่ยงอันอาจจะก่อให้เกิดโรค อื่น ๆตามมา มีผลให้ ประชาชนไม่สามารถมีชีวิต
  • 25. การเขียนปัญหา 1. ระบุว่าใคร เป็น อะไร 2. จำานวนเท่าไร 3. คิดเป็นร้อยละ
  • 26. ตัวอย่างปัญหา ประชาชนป่วยด้วยโรคอุจจาระ ร่วง จำานวน 300 คน คิดเป็นร้อย ละ81.20
  • 27. วิธ ีก ารจัด ลำา ดับ ความ สำา คัญ ของปัญงนี้ พิจารณา 3 องค์ประกอบ ดั หา 1.ด้า นสุข ภาพอนามัย ของ ประชากรในชุม ชน โดยพิจารณาถึง 1.1 ขนาดของปัญ หา (size of problem or prevalence) 1.2 ความรุน แรงของปัญ หา (Severity of problem)
  • 28. 2. ด้า นความยากง่า ยในการแก้ ปัญ หา (Ease of management หรือ Feasibility) 2.1 ด้า นวิช าการ 2.2 ด้า นการบริห าร 2.3 ระยะเวลา 2.4 ด้า นกฎหมายและศีล ธรรม
  • 29. 3.ความวิต กกัง วลต่อ ปัญ หาของ ชุม ชน (Community concerns) การที่ประชาชนในชุมชนเห็นว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นมีความสำาคัญหรือ ไม่ มีความวิตกกังวลห่วงใยหรือ ต้องการแก้ไขปัญหาหรือไม่ หรือมี ความต้องการ ร่วมมือในการแก้ไขปัญหามากน้อย
  • 30. การจัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาตาม ขนาดของปัญหา ร้อยละของผู้ป่วย คะแนน มากกว่าร้อยละ 0 ถึง 25 1 26 ถึง 50 2
  • 31. การจัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาตาม ความรุนแรงของปัญหา ความรุนแรงของปัญหา คะแนน มากกว่าร้อยละ 0 ถึง 25 1 26 ถึง 50 2 51 ถึง 75
  • 32. การจัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาตาม ความยากง่ายในการแก้ปัญหา การแก้ปัญหา คะแนน ยากมาก 1 ยาก 2 ง่าย 3
  • 33. การจัดลำาดับความสำาคัญของปัญหาตาม ความวิตกกังวลต่อปัญหาของชุมชน ความวิตกกังวลต่อปัญหา คะแนน วิตกกังวลน้อยมาก / ให้ความร่วมมือ น้อยมาก 1 วิตกกังวลน้อย / ให้ความร่วมมือ น้อย 2
  • 34. การคิด คะแนนเพือ จัด ลำา ดับ ความสำา คัญ ขอ ่ คะแนนองค์ประกอบ คะแนน ปัญหา ขนาด ความรุนแรง ความยากง่าย วิตกกังวล วิธีบวก 2 2 3 1 4 2 2 3
  • 36. การวิเ คราะห์ส าเหตุข องปัญ หา (Problem Analysis) หรือ การ โยงใยสาเหตุข องปัญ หา (Web of 1. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดของ วิทยาการระบาด causation) (Host – Agent – Environment) ... DHF 2. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดทาง พฤติกรรมศาสตร์ ... HT 3. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาตามแนวคิดวัฏจักร (Vicious cycle) (โง่ - จน – เจ็บ) ... Malnutrition
  • 38. การเขีย นโครงการสุข ภาพ ในงานสาธารณสุข  องค์ป ระกอบของโครงการ 1. ชือ โครงการ เป็น การสื่อ ความ ่ ถึง ผู้อ ่า นให้เ ข้า ใจในภาพรวม /ภาพ กว้า งของโครงการนี้ว ่า ต้อ งการ ดำา เนิน การเกี่ย วกับ อะไร หรือ มีเ ป้า หมายหลัก อย่า งไร “นรพ.ร่วมใจ ห่วงใยสุขภาพ” 2. หลัก การและเหตุผ ล หมายถึง ที่มาและปัญหาสุขภาพที่ต้องการแก้ไขนั้น
  • 39. องค์ป ระกอบของโครงการ 3. วัต ถุป ระสงค์ข องโครงการ (Objective) เป็นการกำาหนดสิ่งที่ต้องการ ให้เกิดขึ้นหลังเสร็จสินโครงการ ้ __ประชาชนตระหนักถึงความสำาคัญของ การกำาจัดลูกนำ้ายุงลาย __นทน.มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สีหน้ายิมแย้ม ้ ไม่เครียด 4. เป้า หมาย /ตัว ชี้ว ัด ความสำา เร็จ ของ โครงการ (Targets/Indicators) เป็นการ กำาหนดสิงที่ต้องการให้เกิดหลังดำาเนิน ่
  • 40. 5. วิธ ด ำา เนิน การและกิจ กรรม ี (Activity) ให้ระบุวิธการทำางานเพือให้ ี ่ บังเกิดผลดังกล่าว ช่องทางหรือแนวทาง ปฏิบัติ กิจกรรม รวมทั้งระบุขั้นตอนในการ ปฏิบัติและเครื่องมือไว้ดวย ้ ... H/E, H/V, อบรมผู้นำาชุมชน, จัด นิทรรศการ 6. ระยะเวลาดำา เนิน การ เป็นการกำาหนด วันหรือช่วงเวลาที่จะปฏิบัติตามโครงการ อาจจัดทำาเป็นผังควบคุมกำากับงาน (Gantt chart/Time table)
  • 41.  8. ทรัพ ยากร เป็นการระบุปัจจัยทังหลาย ้ ที่ถูกนำามาใช้ทั้งหมดในโครงการ ได้แก่ บุคคล อุปกรณ์ งบประมาณ แหล่งและ จำานวนเงินทุน (money) รวมทั้งยอดค่า ใช้จ่ายจำาแนกตามหมวดหรือรายการจ่าย  9. การประเมิน ผล เป็นการกำาหนดราย ละเอียดของการประเมินความสำาเร็จของ โครงการ ... การสังเกตความสนใจ คะแนนสอบ จำานวนผู้เข้าร่วม  10. ผลที่ค าดว่า จะได้ร ับ (Benefits/positive impacts) เป็นการ
  • 42. 11. ผู้ร ับ ผิด ชอบโครงการ นิยมระบุเป็น หน่วยงานหรือองค์กร มักไม่ระบุชื่อเป็น รายบุคคล 12. ผัง ควบคุม กำา กับ งาน (Gantt chart) เป็นการแสดงรายละเอียดของ กิจกรรม  วัน-เวลา ทรัพยากรและการประเมินผล
  • 43. 6. PROJECT EVALUATION การประเมิน ผลโครงการ สุข ภาพ
  • 44. 1. ชนิด ของการประเมิน มี 2 แบบ คือ  แบบที่ 1 เป็นการประเมินขณะดำาเนินการเพื่อ ใช้เป็นเครื่องมือปรับปรุงงานเป็นระยะ (Formative evaluation)  แบบที่ 2 เป็นการประเมินหลังดำาเนินการ (Summative evaluation) เป็นการสรุปใน ภาพรวมว่าโครงการนีสำาเร็จหรือไม่ โดยใช้ ้ การประเมินในประเด็นต่างๆที่จะกล่าวในราย ละเอียดต่อไป
  • 45. ประเด็น การประเมิน 1. ประสิท ธิผ ล (Effectiveness) หรือ ความสำาเร็จของงานสาธารณสุข เป็น องค์ประกอบที่สามารถประเมินได้จาก การเปรียบเทียบผลงานที่ได้หรือผล สัมฤทธิของโครงการ กับเป้าหมาย/ตัว ์ ชีวัดความสำาเร็จของโครงการที่กำาหนด ้ ไว้ *การประเมินประสิทธิผลจะทำาได้เมือสิ้น ่ สุดโครงการแล้ว (Summative evaluation) ด้วยข้อมูล
  • 46. 2. ประสิท ธิภ าพ (Efficiency) สามารถประเมิน ได้จากการพิจารณาว่าโครงการนั้นสามารถ ดำาเนินไปตามแผนปฏิบัติการในแต่ละขั้นตอน อย่างสะดวก ราบรื่น เสร็จสินตามเวลาและงบ ้ ประมาณที่กำาหนด *เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพต้องสอดคล้อง กับวัตถุประสงค์ของโครงการ ของโครงการ 3. ความก้า วหน้า (Progress) การประเมิน ความก้าวหน้าเป็นการวิเคราะห์ความพยายาม ความพยายาม ในการดำาเนินกิจกรรมตลอดจนอัตราการปฏิบติ ั งานจริงเมื่อเปรียบเทียบกับแผนงานที่กำาหนดไว้
  • 47. 4. ความคุม ค่า และพอเพีย ง ้ (Adequacy) เป็นการประเมินการใช้ทรัพยากรทุกด้านให้ เกิดประโยชน์สูงสุด เมื่อเปรียบเทียบกับผล สัมฤทธิที่บังเกิด ์ 5. ความสัม พัน ธ์ส อดคล้อ ง (Relevancy) ผู้บริหารมักใช้ประเด็นนี้ในการพิจารณา โครงการก่อนอนุมัติโครงการและงบประมาณ สอดคล้องนโยบาย 6. ผลกระทบ (Impacts) เป็นการติดตาม ผลที่เกิดจากโครงการในระยะยาวหรือเป็น ผลทางอ้อมที่ต้องใช้ความละเอียดอ่อนในการ

Notas do Editor

  1. แต่เดิมนั้น เราให้ความสนใจแต่การทำแผนที่ทางภูมิศาสตร์เท่านั้น ต่อมามีการศึกษาเชิงสังคมและวัฒนธรรมชุมชนมากขึ้น จึงได้มีการเสนอให้ทำแผนที่เดินดินมาประกอบด้วยเพราะจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในมุมมองที่ลึกซึ้งมากขึ้น เนื่องจากแผนที่เดินดิน ให้ความสนใจกับวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น วิถีชีวิต ความเชื่อและแหล่งประโยชน์ในการดูแลสุขภาพที่ใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
  2. เป็นการกำหนดรายละเอียดของการประเมินความสำเร็จของโครงการ ได้แก่ ระยะของการประเมิน วิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ประเด็นในการประเมิน ผู้ประเมินและผู้ถูกประเมิน ( ผู้ประเมินอาจเป็นผู้ดำเนินโครงการเอง เป็นบุคคลภายนอก หรือเป็นคณะกรรมการก็ได้ ) ดังมีรายละเอียด ดังนี้