SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
Baixar para ler offline
รายวิชาวิทยาศาสตร์            โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2   กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สารเสพติดกับการป้องกัน

      สารเสพติด หมายถึง สิงที่เสพเข้าไปแล้วจะทาให้เกิดความต้องการที่จะเสพสารนั้นใน
                             ่
ปริมาณที่เพิ่มขึ้นและไม่สามารถหยุดเสพได้ มีผลทาให้ร่างกายทรุดโทรมสภาวะจิตใจผิดปกติ

      องค์การอนามัยโลกได้แบ่งสารเสพติดออกเป็น 7 ประเภทด้วยกันคือ กดสมอง
หลอนประสาท ยานอนหลับ กระตุ้นสมอง กดประสาท เครื่องดื่มมึนเมา และสารเสพติดชนิด
อื่นๆ
สารเสพติดประเภทกดสมอง
สารเสพติดประเภทกดสมอง ได้แก่                            • เฮโรอีน (heroin)
• ฝิ่น (opium)                                          ลักษณะ เป็นผงสีขาว รสขม ไม่มีกลิ่น สังเคราะห์จาก
ลักษณะ เป็นยางสีน้าตาลที่ได้จากการกรีดดอกฝิ่น มีกลิ่น          มอร์ฟีน
      เหม็นเขียว และมีรสขม                              การออกฤทธิ์ กดประสาทอย่างรุนแรง
      เรียกว่า “ฝิ่นดิบ” เมื่อนาไปเคี่ยวจะได้ฝิ่นสุก    วิธีเสพ สูบ สูดดม ฉีด
การออกฤทธิ์ มีสารแอลคาลอยด์ ซึ่งมีฤทธิ์กดประสาท         อาการของผู้เสพ มึนงง เซื่องซึม เคลิบเคลิ้ม คลื่นไส้
วิธีเสพ สูบ รับประทาน                                          อาเจียน ร่างกายทรุดโทรม ประสาทเสื่อม
อาการของผู้เสพ เซื่องซึม อารมณ์ดี ความคิดช้า ร่างกาย    บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ
      ซูบผอม อ่อนเพลีย                                         5,000-100,000 บาท
บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ                    การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษประเภท
      5,000-100,000 บาท                                        ที่ 2
การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษประเภท
      ที่ 2
•     มอร์ฟีน (morphine)
ลักษณะ เป็นผงสีขาวหรือเทาเกือบขาว ไม่มี
       กลิ่น รสขม สกัดจากฝิ่น
การออกฤทธิ์ กดประสาทส่วนกลาง ออกฤทธิ์
       รุนแรงกว่าฝิ่น 8-10 เท่า
วิธีเสพ รับประทาน ฉีด
อาการของผู้เสพ ม่านตาหรี่ คลื่นไส้ อาเจียน
       รู้สึกสบาย คลายความเจ็บปวด
บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ
       5,000-100,000 บาท
สารเสพติดประเภทหลอนประสาท
• ยาอี (ecstasy,love                            • ยาเค (ketamine)
      drog หรือ MDMA)                           ลักษณะ เป็นผงสีขาว โดยการนายาเคชนิดที่ใช้ฉีด
ลักษณะ เป็นเม็ดกลมแบน ด้านหนึงนูนหรือ
                                    ่                 มาทาเป็นผง
      เรียบ มีรูปดอกไม้ การ์ตูน มีสีต่างๆ ได้   การออกฤทธิ์ หลอนประสาท
สีขาว สีเหลือง สีส้ม สีชมพู                     วิธีเสพ สูดดม สูบ มักเสพร่วมกับยาอี เฮโรอีน
การออกฤทธิ์ หลอนประสาท                                หรือโคเคน
วิธีเสพ รับประทาน                               ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 18-24 ชั่วโมง
ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 6-8 ชั่งโมง                 อาการของผู้เสพ ประสาทหลอน ความคิดสับสน
                                                      มึนงง ถ้าเสพติดต่อกันนานๆ จะ
อาการของผู้เสพ อารมณ์ดี เคลิบเคลิ้ม             ทาให้เป็นโรคจิต
      ประสาทหลอน ความคิดสับสน หัวใจเต้น
      เร็ว นอนไม่หลับ                           บทลงโทษ จาคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000-
                                                      100,000 บาท
บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ            การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ
      5,000-100,000 บาท                               ประเภทที่ 2
ควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ
      ประเภทที่ 1
• แอล เอส ดี                                  • กัญชา (cannabis)
ลักษณะ เป็นผลึก ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส    ลักษณะ กัญชาเป็นพืชล้มลุกชนิดหนึง ใช้ใบ
                                                                                  ่
       พบในรูปแบบของกระดาษซับ แผ่นวุน     ้         หรือยอดเกสรตัวเมียมาตากแห้งแล้วอัดเป็น
การออกฤทธิ์ หลอนประสาท                              แท่ง
วิธีเสพ รับประทาน                             การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาทและกดประสาท
ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 8-12 ชั่วโมง              วิธีเสพ สูบ รับประทาน
อาการของผู้เสพ ประสาทหลอนอย่างรุนแรง          ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 2-4 ชั่วโมง
       ขาดสติ ควบคุมตนเองไม่ได้ ถ้าเสพเป็น    อาการของผู้เสพ ร่าเริง หัวเราะง่าย ต่อมาจะมี
ระยะเวลานานอาจทาให้เป็นโรคจิตได้                    อาการคล้ายคนเมาสุรา เพ้อคลั่ง
บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ                หวาดระแวง
       5,000-100,000 บาท                      บทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน
การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้                 10,000 บาท
       โทษประเภทที่ 2                         การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้
                                                    โทษประเภทที่ 5
สารเสพติดประเภทยานอนหลับ
         ยานอนหลับส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นผงสีขาวบรรจุอยู่ในแคปซูลสีฟ้าแดง
  สามารถแบ่งประเภทของยานอนหลับได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
• 1.กลุ่มบาร์บิทูเรต เป็นกลุ่มที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ฟีโนบาร์ และ
  เวลาเซโคนาล ที่เรียกกันว่า เหล้าแห้ง ไก่แดง ปีศาจแดง
• 2.กลุ่มเบนโซไดอะซีปนส์ เป็นกลุ่มที่นิยมใช้ในปัจจุบน เพื่อรักษาอาการนอนไม่
                         ิ                             ั
  หลับ คลายความกังวล เมื่อใช้ติดต่อกันนานๆ จะเกิดอาการติดยา
• การออกฤทธิ์ กดระบบประสาทส่วนกลาง ระงับการทางานของระบบประสาท
  คลายความวิตกกังวล คลายกล้ามเนื้อ ยับยั้งอาการชัก ทาให้หลับ เมื่อใช้ไปนานๆ
  จะทาให้เกิดอาการดื้อยาได้
สารเสพติดประเภทกระตุ้นสมอง
สารเสพติดประเภทกระตุนสมอง ได้แก่
                    ้
•   แอมเฟตามีน(amphetamine)
    เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ายาบ้า ยาม้า หรือยาขยัน
•   ลักษณะ เป็นเม็ดกลมแบน มีสีต่างๆ เช่น สี
    ขาว สีน้าตาล สีส้ม สีเหลือง สีม่วง มี
    สัญลักษณ์บนเม็ดยา เช่น w ที่เป็นผลึก
    ใส เรียกว่า“ice” ซึ่งก็คือเมทแอมเฟตามีน
•   การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาท
•   วิธีเสพ รับประทาน สูดดม สูบ หรือฉีด
•   ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 2-4 ชั่งโมง
•   อาการของผู้เสพ เบื่ออาหาร ตื่นเต้นไม่รู้สึก
    ง่วง ฉุนเฉียว เกิดอาการทางจิต ประสาท
    หลอน เพ้อคลั่ง หวาดระแวง วิตกกังวล
•   บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ
    5,000-100,000 บาท
•   การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้
    โทษประเภทที่ 1
• โคเคน (cocaine)                        •   กระท่อม (khatom)
• ลักษณะ เป็นผงละเอียดสีขาว มีรสขม ไม่   •   ลักษณะ กระท่อมเป็นไม้ยืนต้นขนาด
  มีกลิ่น                                    กลาง มีแก่น เป็นไม้เนื้อแข็ง ใบคล้าย
• การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาท                  ฝรั่ง
• วิธีเสพ สูดดม สูบ ฉีด                  •   การออกฤทธิ์ มีสารมิตราจินีนซึ่งมีฤทธิ์
                                             กระตุ้นประสาท
• ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 1-2 ชั่วโมง
                                         •   วิธีเสพ รับประทานโดยบดให้เป็นผง
• อาการของผู้เสพ เกิดอาการเคลิบเคลิ้ม
                                             แล้วชงด้วยน้าร้อน
  ตื่นเต้น มีความมั่นใจสูง เมื่อเสพใน
  ปริมาณ                                 •   ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ กระตุ้น
                                             ประสาท
• มากจะเกิดอาการประสาทหลอน
                                         •   อาการของผู้เสพ อารมณ์แจ่มใส
• บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี            คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ผิวหนังกร้าน
  ปรับ 5,000-100,000 บาท
                                             ดาหรือเกรียม
• การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด
  ให้โทษประเภทที่ 2
สารเสพติดประเภทกดประสาท
สารเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่               • สารระเหย ได้แก่ ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาว น้ายาทา
                                                 เล็บ สีสเปรย์ ลูกโป่งวิทยาศาสตร์
• ยาแก้ไอผสมโคเคอีน                          •   ลักษณะ เป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปที่มีส่วนผสมของ
• ลักษณะ ยาปรุงน้าเชื่อม มีสีน้าตาลดา            ทินเนอร์หรือแลคเกอร์
• การออกฤทธิ์ กดประสาท                       •   การออกฤทธิ์ กดประสาท
                                             •   วิธีเสพ สูดดม
• วิธีเสพ ดื่มโดยไม่ต้องเจือจาง ดื่มโดยผสม
                                             •   ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 1-2 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่
  กับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือน้าอัดลม       กับปริมาณที่เสพ
• ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 4-6 ชั่วโมง          •   อาการของผู้เสพ ตื่นเต้น รู้สึกเป็นสุข ร่าเริง
• อาการของผู้เสพ ง่วงซึม มึนเมา เมื่อเสพ         อาการคล้ายคนเมาสุรา พูดไม่ชัด ความคิดสับสน
  มากจะมีอาการเคลิ้มฝัน                          เหม่อซึม ง่วงนอน
                                             •   บทลงโทษ ถ้าผู้เสพอายุไม่เกิน 17 ปี บทลงโทษ
• การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด               นั้นขึ้นอยู่กับการพิจารณาของศาล ถ้าผู้เสพอายุ 17
  ให้โทษประเภทที่ 3                              ปี ขึ้นไป จาคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน
                                                 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
                                             •   การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารระเหยตามพระ
                                                 ราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ.
                                                 2533
สารเสพติดประเภทเครื่องดื่มมึนเมา
ลักษณะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอทิลแอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ บรั่นดี สุราขาว เป็นต้น
การออกฤทธิ์ กดสมองตั้งแต่สมองส่วนหน้าถึงก้านสมอง
วิธีเสพ ดื่ม
อาการของผู้เสพ ตาพร่า การได้ยินผิดปกติ การรับรส กลิ่น
และสัมผัสเสื่อมลงจนนอนหลับในที่สุด
     สารเสพติดชนิดอื่นๆ
     สารเสพติดชนิดอื่นๆ ได้แก่
     1.บุหรี่ ลักษณะ ผลิตจากใบสูบที่ผ่านการตากแห้งแล้ว มีสารนิโคตินเป็นองค์ประกอบสาคัญ
     ซึ่งเป็นสารแอลคาลอยด์ที่มีสมบัติเป็นน้ามัน
     วิธีเสพ สูบ
     อาการของผู้เสพ กระตุ้นระบบประสาทที่ควบคุมการหายใจ ทาให้หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก
     ถุงลมโป่งพอง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร
     2.ยาลดความอ้วน
     ลักษณะ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของแคปซูลที่มีสีสันหลากหลาย
     การออกฤทธิ์ คล้ายยาบ้า เมื่อใช้ติดต่อกันนานๆ จะทาให้นอนไม่หลับ กระวนกระวาย
     ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ปากแห้ง
     วิธีเสพ รับประทาน
     การควบคุมตามกฎหมาย จัดเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
             พ.ศ.2518
การป้องกันสารเสพติด
การป้องกันในครอบครัว โดยการให้ความรัก                              การป้องกันในสถานศึกษา โดยการจัดกิจกรรม
ความอบอุ่น ความเข้าใจ พูดคุยถึงโทษของ                              ต่อต้านสารเสพติด รณรงค์ป้องกันสารเสพติด
สารเสพติดร่วมกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว                            จัดให้มีการทัศนศึกษาที่สถานบาบัดผู้ติดสาร
                                                                   เสพติด




                                       วิธีการป้องกันการเสพสารเสพติด
การป้องกันในชุมชน โดยการรวมกลุ่ม                                  การป้องกันในชุมชน โดยการรวมกลุ่ม
สมาชิกเพื่อออกกาลังกาย จัดสถานที่                                 สมาชิกเพื่อออกกาลังกาย จัดสถานที่
และอุปกรณ์ที่ใช้ออกกาลังกาย กลุ่มแม่                              และอุปกรณ์ที่ใช้ออกกาลังกาย กลุ่มแม่
บ้าน หรืออาสาสมัครร่วมกันปฏิบัติ                                  บ้าน หรืออาสาสมัครร่วมกันปฏิบัติ
กิจกรรมต้านสารเสพติด                                              กิจกรรมต้านสารเสพติด

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมTa Lattapol
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์Wichai Likitponrak
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมDr.Woravith Chansuvarn
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยWatcharinz
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสีพัน พัน
 

Mais procurados (20)

บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
Petroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียมPetroleum : ปิโตรเลียม
Petroleum : ปิโตรเลียม
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสี
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 

Destaque

ยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษpoegpanda11
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษพัน พัน
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษาSambushi Kritsada
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดchueng
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดพัน พัน
 
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2Medical Student, GCM
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
โทษของยาเสพติด
โทษของยาเสพติดโทษของยาเสพติด
โทษของยาเสพติดabdulkorday
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษPamPaul
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
เยาวชนกับปัญหายาเสพติด
เยาวชนกับปัญหายาเสพติดเยาวชนกับปัญหายาเสพติด
เยาวชนกับปัญหายาเสพติดAe Promporn
 
ยาเสพติด2
ยาเสพติด2ยาเสพติด2
ยาเสพติด2jpimpila
 
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)WA YA'kr
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดpluakdeang Hospital
 
สังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพสังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพPamPaul
 
นำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดินนำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดินwootslide
 

Destaque (20)

ยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษยาเสพติดให้โทษ
ยาเสพติดให้โทษ
 
ยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษยาและสารเสพติดให้โทษ
ยาและสารเสพติดให้โทษ
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติดการป้องกันปัญหาสารเสพติด
การป้องกันปัญหาสารเสพติด
 
อย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติดอย่าไปหาสารเสพติด
อย่าไปหาสารเสพติด
 
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2ยาเสพติดให้โทษประเภท2
ยาเสพติดให้โทษประเภท2
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
โทษของยาเสพติด
โทษของยาเสพติดโทษของยาเสพติด
โทษของยาเสพติด
 
แผ่นพับโครงการต้านยาเสพติด - แป้ง 3
แผ่นพับโครงการต้านยาเสพติด - แป้ง 3 แผ่นพับโครงการต้านยาเสพติด - แป้ง 3
แผ่นพับโครงการต้านยาเสพติด - แป้ง 3
 
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษพรบ ยาเสพติดให้โทษ
พรบ ยาเสพติดให้โทษ
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
เยาวชนกับปัญหายาเสพติด
เยาวชนกับปัญหายาเสพติดเยาวชนกับปัญหายาเสพติด
เยาวชนกับปัญหายาเสพติด
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
 
ยาเสพติด2
ยาเสพติด2ยาเสพติด2
ยาเสพติด2
 
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
ยาเสพติด โดย ณัฐพนธ์ ห่วงรัตน์ (มหาไถ่ศึกษาขอนแก่น)
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติดหลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
หลักในการบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด
 
สังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพสังคม สถานภาพ
สังคม สถานภาพ
 
นำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดินนำเสนอยาเสพติดภูดิน
นำเสนอยาเสพติดภูดิน
 

Semelhante a สารเสพติด

สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4linnoi
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดJettanut Poonlaptavee
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดchueng
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาZiwapohn Peecharoensap
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดsupattra90
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substancetaveena
 
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาPain clinic pnk
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด AntoineYRC04
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดIce Ice
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57AJ Por
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56ร้าน เคโอ สเต็กและกาแฟสด
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
รณรงค์เลิกบุหรี่
รณรงค์เลิกบุหรี่รณรงค์เลิกบุหรี่
รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 

Semelhante a สารเสพติด (20)

สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4สิ่งเสพติด4
สิ่งเสพติด4
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
ปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติดปัญหายาเสพติด
ปัญหายาเสพติด
 
เสพติด Quiz
เสพติด Quizเสพติด Quiz
เสพติด Quiz
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติดงดบุหรี่สุราสารเสพติด
งดบุหรี่สุราสารเสพติด
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substance
 
5555
55555555
5555
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยาการบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
การบรรเทาความปวดด้วยวิธีไม่ใช้ยา
 
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
โครงงาน เรื่อง สารเสพติด
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
กฎหมายในชีวิตประจำวัน 31 พค 57
 
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
อบรมทีมติดตามผู้ผ่านค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมระดับตำบลปี 56
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
รณรงค์เลิกบุหรี่
รณรงค์เลิกบุหรี่รณรงค์เลิกบุหรี่
รณรงค์เลิกบุหรี่
 

Mais de Aobinta In

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมAobinta In
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1Aobinta In
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Aobinta In
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Aobinta In
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพAobinta In
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 
ทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินAobinta In
 
ธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบAobinta In
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษาAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษAobinta In
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยAobinta In
 
โครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasโครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasAobinta In
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลกAobinta In
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลกAobinta In
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลกAobinta In
 

Mais de Aobinta In (20)

ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1ใบกำเนิดดิน1
ใบกำเนิดดิน1
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รวมภาพ
รวมภาพรวมภาพ
รวมภาพ
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
แร่1
แร่1แร่1
แร่1
 
ทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหินทรัพยากรหิน
ทรัพยากรหิน
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบธาตุ สารประกอบ
ธาตุ สารประกอบ
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษากระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
กระดาษคำตอบวิชาวิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา
 
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษกระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
กระดาษคำตอบวิชาภาษาอังกฤษ
 
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทยกระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
กระดาษคำตอบวิชาคณิตศาสตร์และภาษาไทย
 
โครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLasโครงสร้างข้อสอบLas
โครงสร้างข้อสอบLas
 
โลก1
โลก1โลก1
โลก1
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลก
 
กำเนิดโลก
กำเนิดโลกกำเนิดโลก
กำเนิดโลก
 
เปลือกโลก
เปลือกโลกเปลือกโลก
เปลือกโลก
 

สารเสพติด

  • 1. รายวิชาวิทยาศาสตร์ โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 2. สารเสพติดกับการป้องกัน สารเสพติด หมายถึง สิงที่เสพเข้าไปแล้วจะทาให้เกิดความต้องการที่จะเสพสารนั้นใน ่ ปริมาณที่เพิ่มขึ้นและไม่สามารถหยุดเสพได้ มีผลทาให้ร่างกายทรุดโทรมสภาวะจิตใจผิดปกติ องค์การอนามัยโลกได้แบ่งสารเสพติดออกเป็น 7 ประเภทด้วยกันคือ กดสมอง หลอนประสาท ยานอนหลับ กระตุ้นสมอง กดประสาท เครื่องดื่มมึนเมา และสารเสพติดชนิด อื่นๆ
  • 3. สารเสพติดประเภทกดสมอง สารเสพติดประเภทกดสมอง ได้แก่ • เฮโรอีน (heroin) • ฝิ่น (opium) ลักษณะ เป็นผงสีขาว รสขม ไม่มีกลิ่น สังเคราะห์จาก ลักษณะ เป็นยางสีน้าตาลที่ได้จากการกรีดดอกฝิ่น มีกลิ่น มอร์ฟีน เหม็นเขียว และมีรสขม การออกฤทธิ์ กดประสาทอย่างรุนแรง เรียกว่า “ฝิ่นดิบ” เมื่อนาไปเคี่ยวจะได้ฝิ่นสุก วิธีเสพ สูบ สูดดม ฉีด การออกฤทธิ์ มีสารแอลคาลอยด์ ซึ่งมีฤทธิ์กดประสาท อาการของผู้เสพ มึนงง เซื่องซึม เคลิบเคลิ้ม คลื่นไส้ วิธีเสพ สูบ รับประทาน อาเจียน ร่างกายทรุดโทรม ประสาทเสื่อม อาการของผู้เสพ เซื่องซึม อารมณ์ดี ความคิดช้า ร่างกาย บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ ซูบผอม อ่อนเพลีย 5,000-100,000 บาท บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษประเภท 5,000-100,000 บาท ที่ 2 การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษประเภท ที่ 2
  • 4. มอร์ฟีน (morphine) ลักษณะ เป็นผงสีขาวหรือเทาเกือบขาว ไม่มี กลิ่น รสขม สกัดจากฝิ่น การออกฤทธิ์ กดประสาทส่วนกลาง ออกฤทธิ์ รุนแรงกว่าฝิ่น 8-10 เท่า วิธีเสพ รับประทาน ฉีด อาการของผู้เสพ ม่านตาหรี่ คลื่นไส้ อาเจียน รู้สึกสบาย คลายความเจ็บปวด บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ 5,000-100,000 บาท
  • 5. สารเสพติดประเภทหลอนประสาท • ยาอี (ecstasy,love • ยาเค (ketamine) drog หรือ MDMA) ลักษณะ เป็นผงสีขาว โดยการนายาเคชนิดที่ใช้ฉีด ลักษณะ เป็นเม็ดกลมแบน ด้านหนึงนูนหรือ ่ มาทาเป็นผง เรียบ มีรูปดอกไม้ การ์ตูน มีสีต่างๆ ได้ การออกฤทธิ์ หลอนประสาท สีขาว สีเหลือง สีส้ม สีชมพู วิธีเสพ สูดดม สูบ มักเสพร่วมกับยาอี เฮโรอีน การออกฤทธิ์ หลอนประสาท หรือโคเคน วิธีเสพ รับประทาน ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 18-24 ชั่วโมง ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 6-8 ชั่งโมง อาการของผู้เสพ ประสาทหลอน ความคิดสับสน มึนงง ถ้าเสพติดต่อกันนานๆ จะ อาการของผู้เสพ อารมณ์ดี เคลิบเคลิ้ม ทาให้เป็นโรคจิต ประสาทหลอน ความคิดสับสน หัวใจเต้น เร็ว นอนไม่หลับ บทลงโทษ จาคุก 1-5 ปี ปรับ 20,000- 100,000 บาท บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ 5,000-100,000 บาท ประเภทที่ 2 ควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1
  • 6. • แอล เอส ดี • กัญชา (cannabis) ลักษณะ เป็นผลึก ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ลักษณะ กัญชาเป็นพืชล้มลุกชนิดหนึง ใช้ใบ ่ พบในรูปแบบของกระดาษซับ แผ่นวุน ้ หรือยอดเกสรตัวเมียมาตากแห้งแล้วอัดเป็น การออกฤทธิ์ หลอนประสาท แท่ง วิธีเสพ รับประทาน การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาทและกดประสาท ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 8-12 ชั่วโมง วิธีเสพ สูบ รับประทาน อาการของผู้เสพ ประสาทหลอนอย่างรุนแรง ช่วงเวลาการออกฤทธิ์ 2-4 ชั่วโมง ขาดสติ ควบคุมตนเองไม่ได้ ถ้าเสพเป็น อาการของผู้เสพ ร่าเริง หัวเราะง่าย ต่อมาจะมี ระยะเวลานานอาจทาให้เป็นโรคจิตได้ อาการคล้ายคนเมาสุรา เพ้อคลั่ง บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ หวาดระแวง 5,000-100,000 บาท บทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้ 10,000 บาท โทษประเภทที่ 2 การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้ โทษประเภทที่ 5
  • 7. สารเสพติดประเภทยานอนหลับ ยานอนหลับส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นผงสีขาวบรรจุอยู่ในแคปซูลสีฟ้าแดง สามารถแบ่งประเภทของยานอนหลับได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ • 1.กลุ่มบาร์บิทูเรต เป็นกลุ่มที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลาย ได้แก่ ฟีโนบาร์ และ เวลาเซโคนาล ที่เรียกกันว่า เหล้าแห้ง ไก่แดง ปีศาจแดง • 2.กลุ่มเบนโซไดอะซีปนส์ เป็นกลุ่มที่นิยมใช้ในปัจจุบน เพื่อรักษาอาการนอนไม่ ิ ั หลับ คลายความกังวล เมื่อใช้ติดต่อกันนานๆ จะเกิดอาการติดยา • การออกฤทธิ์ กดระบบประสาทส่วนกลาง ระงับการทางานของระบบประสาท คลายความวิตกกังวล คลายกล้ามเนื้อ ยับยั้งอาการชัก ทาให้หลับ เมื่อใช้ไปนานๆ จะทาให้เกิดอาการดื้อยาได้
  • 8. สารเสพติดประเภทกระตุ้นสมอง สารเสพติดประเภทกระตุนสมอง ได้แก่ ้ • แอมเฟตามีน(amphetamine) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ายาบ้า ยาม้า หรือยาขยัน • ลักษณะ เป็นเม็ดกลมแบน มีสีต่างๆ เช่น สี ขาว สีน้าตาล สีส้ม สีเหลือง สีม่วง มี สัญลักษณ์บนเม็ดยา เช่น w ที่เป็นผลึก ใส เรียกว่า“ice” ซึ่งก็คือเมทแอมเฟตามีน • การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาท • วิธีเสพ รับประทาน สูดดม สูบ หรือฉีด • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 2-4 ชั่งโมง • อาการของผู้เสพ เบื่ออาหาร ตื่นเต้นไม่รู้สึก ง่วง ฉุนเฉียว เกิดอาการทางจิต ประสาท หลอน เพ้อคลั่ง หวาดระแวง วิตกกังวล • บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี ปรับ 5,000-100,000 บาท • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติดให้ โทษประเภทที่ 1
  • 9. • โคเคน (cocaine) • กระท่อม (khatom) • ลักษณะ เป็นผงละเอียดสีขาว มีรสขม ไม่ • ลักษณะ กระท่อมเป็นไม้ยืนต้นขนาด มีกลิ่น กลาง มีแก่น เป็นไม้เนื้อแข็ง ใบคล้าย • การออกฤทธิ์ กระตุ้นประสาท ฝรั่ง • วิธีเสพ สูดดม สูบ ฉีด • การออกฤทธิ์ มีสารมิตราจินีนซึ่งมีฤทธิ์ กระตุ้นประสาท • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 1-2 ชั่วโมง • วิธีเสพ รับประทานโดยบดให้เป็นผง • อาการของผู้เสพ เกิดอาการเคลิบเคลิ้ม แล้วชงด้วยน้าร้อน ตื่นเต้น มีความมั่นใจสูง เมื่อเสพใน ปริมาณ • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ กระตุ้น ประสาท • มากจะเกิดอาการประสาทหลอน • อาการของผู้เสพ อารมณ์แจ่มใส • บทลงโทษ จาคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ผิวหนังกร้าน ปรับ 5,000-100,000 บาท ดาหรือเกรียม • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด ให้โทษประเภทที่ 2
  • 10. สารเสพติดประเภทกดประสาท สารเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ • สารระเหย ได้แก่ ทินเนอร์ แลคเกอร์ กาว น้ายาทา เล็บ สีสเปรย์ ลูกโป่งวิทยาศาสตร์ • ยาแก้ไอผสมโคเคอีน • ลักษณะ เป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปที่มีส่วนผสมของ • ลักษณะ ยาปรุงน้าเชื่อม มีสีน้าตาลดา ทินเนอร์หรือแลคเกอร์ • การออกฤทธิ์ กดประสาท • การออกฤทธิ์ กดประสาท • วิธีเสพ สูดดม • วิธีเสพ ดื่มโดยไม่ต้องเจือจาง ดื่มโดยผสม • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 1-2 ชั่วโมง ทั้งนี้ขึ้นอยู่ กับเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์หรือน้าอัดลม กับปริมาณที่เสพ • ช่วงเวลาในการออกฤทธิ์ 4-6 ชั่วโมง • อาการของผู้เสพ ตื่นเต้น รู้สึกเป็นสุข ร่าเริง • อาการของผู้เสพ ง่วงซึม มึนเมา เมื่อเสพ อาการคล้ายคนเมาสุรา พูดไม่ชัด ความคิดสับสน มากจะมีอาการเคลิ้มฝัน เหม่อซึม ง่วงนอน • บทลงโทษ ถ้าผู้เสพอายุไม่เกิน 17 ปี บทลงโทษ • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารเสพติด นั้นขึ้นอยู่กับการพิจารณาของศาล ถ้าผู้เสพอายุ 17 ให้โทษประเภทที่ 3 ปี ขึ้นไป จาคุกไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ • การควบคุมตามกฎหมาย เป็นสารระเหยตามพระ ราชกาหนดป้องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533
  • 11. สารเสพติดประเภทเครื่องดื่มมึนเมา ลักษณะ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอทิลแอลกอฮอล์เป็นองค์ประกอบ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์ บรั่นดี สุราขาว เป็นต้น การออกฤทธิ์ กดสมองตั้งแต่สมองส่วนหน้าถึงก้านสมอง วิธีเสพ ดื่ม อาการของผู้เสพ ตาพร่า การได้ยินผิดปกติ การรับรส กลิ่น และสัมผัสเสื่อมลงจนนอนหลับในที่สุด สารเสพติดชนิดอื่นๆ สารเสพติดชนิดอื่นๆ ได้แก่ 1.บุหรี่ ลักษณะ ผลิตจากใบสูบที่ผ่านการตากแห้งแล้ว มีสารนิโคตินเป็นองค์ประกอบสาคัญ ซึ่งเป็นสารแอลคาลอยด์ที่มีสมบัติเป็นน้ามัน วิธีเสพ สูบ อาการของผู้เสพ กระตุ้นระบบประสาทที่ควบคุมการหายใจ ทาให้หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก ถุงลมโป่งพอง คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร 2.ยาลดความอ้วน ลักษณะ ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของแคปซูลที่มีสีสันหลากหลาย การออกฤทธิ์ คล้ายยาบ้า เมื่อใช้ติดต่อกันนานๆ จะทาให้นอนไม่หลับ กระวนกระวาย ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูง หัวใจเต้นเร็ว ปากแห้ง วิธีเสพ รับประทาน การควบคุมตามกฎหมาย จัดเป็นวัตถุออกฤทธิ์ประเภทที่ 2 ตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ.2518
  • 12. การป้องกันสารเสพติด การป้องกันในครอบครัว โดยการให้ความรัก การป้องกันในสถานศึกษา โดยการจัดกิจกรรม ความอบอุ่น ความเข้าใจ พูดคุยถึงโทษของ ต่อต้านสารเสพติด รณรงค์ป้องกันสารเสพติด สารเสพติดร่วมกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว จัดให้มีการทัศนศึกษาที่สถานบาบัดผู้ติดสาร เสพติด วิธีการป้องกันการเสพสารเสพติด การป้องกันในชุมชน โดยการรวมกลุ่ม การป้องกันในชุมชน โดยการรวมกลุ่ม สมาชิกเพื่อออกกาลังกาย จัดสถานที่ สมาชิกเพื่อออกกาลังกาย จัดสถานที่ และอุปกรณ์ที่ใช้ออกกาลังกาย กลุ่มแม่ และอุปกรณ์ที่ใช้ออกกาลังกาย กลุ่มแม่ บ้าน หรืออาสาสมัครร่วมกันปฏิบัติ บ้าน หรืออาสาสมัครร่วมกันปฏิบัติ กิจกรรมต้านสารเสพติด กิจกรรมต้านสารเสพติด