O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

Information professional and digital economy

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Próximos SlideShares
2
2
Carregando em…3
×

Confira estes a seguir

1 de 57 Anúncio

Information professional and digital economy

Baixar para ler offline

ใช้บรรยาย "บทบาทของนักวิชาชีพสารสนเทศในการส่งเสริมและสนับสนุนนโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม" ในวันเสาร์ที่ 16 พฤษภาคม 2558 ณ ห้องฉายภาพยนตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ใช้บรรยาย "บทบาทของนักวิชาชีพสารสนเทศในการส่งเสริมและสนับสนุนนโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม" ในวันเสาร์ที่ 16 พฤษภาคม 2558 ณ ห้องฉายภาพยนตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Anúncio
Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Quem viu também gostou (20)

Anúncio

Semelhante a Information professional and digital economy (20)

Mais de Maykin Likitboonyalit (20)

Anúncio

Mais recentes (20)

Information professional and digital economy

  1. 1. บทบาทของ นักวิชาชีพสารสนเทศ ในการส่งเสริมและสนับสนุน นโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม วันเสาร์ที่ 16 พฤษภาคม 2558 ณ ห้องฉายภาพยนตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  2. 2. นายเมฆินทร์ ลิขิตบุญฤทธิ์ (วาย) ปริญญาตรี : บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ มอ. ปัตตานี ปริญญาโท : เทคโนโลยีสารสนเทศ มจธ. ประสบการณ์ทางาน • กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • บริษัทแกรนด์มีเดียเน็ตเวิร์คจากัด • วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม • www.Sanook.com • สานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (OKMD) • สานักงานอุทยานการเรียนรู้ (TK park) • ห้องสมุดมารวย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รู้จักวิทยากร
  3. 3. หัวข้อที่จะพูดในวันนี้
  4. 4. ใครว่า “โลกกลม”
  5. 5. แม้รูปลักษณะของโลกกลม แต่มนุษย์เราได้ใช้ชีวิตเหมือน “โลกแบน” Thomas L. Friedman ผู้เขียนหนังสือ The World Is Flat : A Brief History of the Twenty-First Century หนังสือที่มียอดจาหน่ายสูงสุดเล่มหนึ่งของโลก
  6. 6. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #1: “11/9/89, The New Age of Creativity : When the Walls Came Down and the Windows Went Up.” 11/9/89, กาแพงเบอร์ลินถูกทาลาย ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ ของการเริ่มต้นโลกไร้พรมแดน และโปรแกรม Windows 3.0 เริ่มวางจาหน่าย
  7. 7. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #2: “8/9/95, The New Age of Connectivity: When the Web Went Around and Netscape Went Public.” บริษัท Netscape เข้าเป็นบริษัทมหาชน ซึ่งทาให้เกิดสิ่ง สาคัญ 3 เรื่อง คือ 1)browser 2)www 3)dot com
  8. 8. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #3: “Work Flow Software” กาเนิดมาตรฐานการเชื่อมต่อทาให้เกิดการ สื่อสารกันได้ระหว่างผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์และ โปรแกรม
  9. 9. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #4: “UPLOADING , Harnessing the Power of Communities” กาเนิดโปรแกรม Opensource - LINUX และยุคของ การ Uploadข้อมูล ทาให้เกิดรูปแบบใหม่ของการ สร้างสรรค์
  10. 10. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #5: “OUTSOURCING” การที่บริษัทใดบริษัทหนึ่งจ้างบริษัทข้างนอก เพื่อมาทาหน้าที่แทนบริษัทผู้ว่าจ้าง (การจ้าง คนอื่นมาทางานแทนเรา)
  11. 11. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #6: “OFFSHORING” การย้ายฐานการผลิต หรือแยกกิจกรรมต่าง ๆ ของบริษัทไปต่างประเทศ
  12. 12. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #7: “SUPPLY CHAINING” การบริหารห่วงโซ่อุปทานในปัจจุบัน ทาได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก
  13. 13. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #8: “INSOURCING” การที่บริษัทเข้าไปทางานต่าง ๆ ในบริษัทอื่น เช่น UPS ซึ่งขณะนี้รับทางาน logistics ให้กับหลายบริษัท
  14. 14. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #9: “IN-FORMING”: Google and Yahoo! Groups เราสามารถหาข้อมูลให้ตัวเองได้ อย่างง่ายดายจาก Internet และ search engine เช่น Google
  15. 15. ตัวแปรที่ทาให้เกิดปรากฎการณ์โลกแบน Flattener #10: The Steroids, Digital, Mobile, Personal, and Virtual โลกเสมือนที่เราจะสามารถเชื่อมต่อกับใครก็ได้ ที่ไหนก็ได้ ด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย
  16. 16. เพื่อให้เข้าใจที่มา “เทคโนโลยีสารสนเทศ”
  17. 17. คานี้ต้องรู้จัก “Digital Economy”
  18. 18. Digital Economy an economy based on digital technologies supporting infrastructure (hardware, software, telecoms, networks, etc.) e-business (how business is conducted, any process that an organization conducts over computer-mediated networks) e-commerce (transfer of goods, for example when a book is sold online)
  19. 19. เมื่อมีอินเทอร์เน็ต การทาธุรกิจ ก็เริ่มเปลี่ยนแปลงไป Don Tapscott ผู้เขียนหนังสือ The Digital Economy: Promise and Peril in the Age of Networked Intelligence. ผู้ที่กล่าวถึง Digital Economy คนแรก
  20. 20. ภาพจาก http://www.prachachat.net/
  21. 21. ข้อมูลเรื่อง Digital Economy - http://www.mict.go.th/view/1/Digital%20Economy Digital Economy - นโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม คือ ระบบเศรษฐกิจและสังคมที่มี การติดต่อสื่อสาร การผลิต การอุปโภคบริโภค การใช้สอย การจาหน่ายจ่ายแจก การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ การคมนาคม ขนส่ง การโลจิสติกส์ การศึกษา การเกษตรกรรม การอุตสาหกรรม การสาธารณสุข การเงินการลงทุน การภาษี อากร การบริหารจัดการข้อมูลและเนื้อหา หรือกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมอื่นใด หรือการใดๆ ที่มี กระบวนการหรือการดาเนินงานทางดิจิทัลหรือทางอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ กิจการวิทยุคมนาคม กิจการโทรคมนาคม กิจการสื่อสารดาวเทียม และการบริหารคลื่นความถี่ โดยอาศัย โครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รวมทั้งเทคโนโลยีที่มีการหลอมรวม หรือเทคโนโลยีอื่น ใดในทานองคล้ายคลึงกัน
  22. 22. การพัฒนาสังคมดิจิทัลที่มีคุณภาพ ด้วยการพัฒนาข้อมูลข่าวสาร และบริการของรัฐต่างๆ ที่เอื้ออานวยต่อคนทุกระดับ คานึงถึงผู้ด้อยโอกาสให้สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา อย่างทั่วถึง เท่าเทียมกันผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล รวมทั้ง ประเทศไทยมีคลังทรัพยากรสารสนเทศเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล และองค์ความรู้ของประเทศในรูปแบบดิจิทัล ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงและสามารถเรียกข้อมูลมาใช้หรือนาไปวิเคราะห์ต่อยอดได้อย่างสะดวกง่ายดาย 1. ภาคเอกชนจะต้องเป็นผู้นาการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ และสังคม รัฐเป็นผู้อานวยความสะดวก (facilitator) และส่งเสริมสนับสนุน (promoter) 2. มีคณะกรรมการเศรษฐกิจดิจิทัลแห่งชาติ 3. กาหนดนโยบายดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม 4. รัฐจะกากับดูแลระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ 5. รัฐจะปรับปรุงบทบาท อานาจหน้าที่ และแนวทางการ ลงทุนในองค์กรที่เกี่ยวข้อง 1. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล 2. การสร้างความมั่นคงปลอดภัย และความ เชื่อมั่นในการทาธุรกรรมด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 3. โครงสร้างพื้นฐานเพื่อส่งเสริมการให้บริการ 4. การส่งเสริมและสนับสนุนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ 5. ดิจิทัลเพื่อสังคมและทรัพยากรความรู้ แผนยุทธศาสตร์ แนวทางการขับเคลื่อน DIGITAL SOCIETY
  23. 23. DIGITAL SOCIETY
  24. 24. นักวิชาชีพสารสนเทศ กับ “เทคโนโลยีสารสนเทศ”
  25. 25. นักสารสนเทศ ไม่ใช่ โปรแกรมเมอร์ ไม่ต้องเขียนโปรแกรมแต่ควรรู้อะไรบ้าง
  26. 26. คอมพิวเตอร์เบื้องต้น สื่อสังคมออนไลน์ อินเทอร์เน็ต เครือข่ายสังคมออนไลน์ โปรแกรมประยุกต์ ทักษะด้านไอทีกับ นักสารสนเทศยุคใหม่ Know + Understand + Apply +
  27. 27. งานสารสนเทศ ไม่ยากอย่างที่คิด ลองดูสิครับ ความรู้และทักษะในกลุ่มโปรแกรมสานักงาน ความรู้และทักษะในกลุ่มโปรแกรมสาหรับสื่อ ความรู้และทักษะด้านการใช้งานระบบเครือข่าย ความรู้และทักษะในกลุ่มพื้นฐานคอมพิวเตอร์ ความรู้และทักษะที่เกี่ยวกับอุปกรณ์อื่นๆ ความรู้และทักษะในกลุ่มการใช้งานอินเทอร์เน็ต ความรู้และทักษะการใช้งานสื่อสังคมออนไลน์
  28. 28. ถ้าโลกนี้มีคนเพียง 100 คน
  29. 29. สื่อสังคมออนไลน์ “Social Media”
  30. 30. Blog – Personal Website – Diary Online
  31. 31. Twitter - Wikipedia
  32. 32. Social Network – Facebook / Google+ / Linken In
  33. 33. Video Sharing – Youtube
  34. 34. Document Sharing – Slideshare / Scribd
  35. 35. Pinterest
  36. 36. ข้อมูลคนไทยกับความไทยๆ บนสื่อสังคมออนไลน์
  37. 37. เรื่องไทยๆ บนสื่อสังคมออนไลน์
  38. 38. “การรวมกลุ่มหรือการสร้าง เครือข่ายบนโลกออนไลน์ทาได้ง่ายขึ้น” “คนเริ่มไม่เชื่อโฆษณาที่เห็นทางทีวี แต่เชื่อสิ่งที่คนอื่นพูดในโลกออนไลน์”
  39. 39. “กินอะไร เที่ยวที่ไหน ต้องแชร์ให้คนอื่นเห็นสักหน่อย” “การติดต่อสื่อสารแบบต้นทุนต่า การคุยกันด้วยภาพก็เข้าใจได้”
  40. 40. “ช่องทางในการหาข่าวของ นักข่าวและผู้สื่อข่าว” “มีปัญหาหรืออยากมีปัญหา แก้ได้ด้วยการถ่ายคลิป”
  41. 41. “โลกที่ไม่ต้องวิ่งหาข่าวสาร แต่ข่าวสารจะวิ่งเข้าหาเราเอง” “ธุรกิจและอาชีพใหม่ๆ ก็เกิดขึ้นมากมาย”
  42. 42. “โลกส่วนตัว ที่เหมือนของส่วนรวม” “รู้จักเพื่อนใหม่ และเจอเพื่อนเก่า”
  43. 43. ข้อควรระวัง – คาแนะนาการใช้ Social Media 1 2 คอยอัพเดทข่าวสารและกิจกรรมของหน่วยงานให้ผู้ติดตามทราบข่าวอย่าง สม่าเสมอ หากผู้ติดตามขอความช่วยเหลือผ่านเว็บไซต์หรือสื่อสังคมออนไลน์ เช่น สอบถามมาใน Chat Box ควรรีบตอบ ใส่ใจกับความคิดเห็นหรือคาถามของผู้ติดตามด้วย อย่าเงียบหายหรือละเลย พยายามตอบและให้บริการด้วยความเร็ว 3
  44. 44. ข้อควรระวัง – คาแนะนาการใช้ Social Media 4 5 6 การโพสข้อความบนสื่อสังคมออนไลน์ส่วนตัว ขอให้พึงระลึกว่าผู้อื่นสามารถ ติดตามเราได้ ดังนั้นขอให้มีสติในการโพสทุกครั้ง ไม่นาเรื่องราวหรือรูปภาพในแง่ลบของหน่วยงาน หรือผู้เข้าใช้บริการมาโพส ในเว็บไซต์หรือสื่อสังคมออนไลน์ของหน่วยงาน ไม่สแปมข้อความหรือข่าวสารในสื่อสังคมออนไลน์ของผู้อื่น
  45. 45. ข้อควรระวัง – คาแนะนาการใช้ Social Media 7 8 การนาบทความหรือรูปภาพจากแหล่งอื่นๆ มาโพส ควรอ้างอิงแหล่งที่มาให้ ถูกต้อง มิฉะนั้นอาจเข้าข่ายการละเมิดลิขสิทธิ์ ศึกษาและใช้เครื่องมือในการวัดผลของสื่อสังคมออนไลน์บ้าง เช่น Analytics , Insight เลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมในการโพส และคานึงถึงภาพลักษณ์ของหน่วยงาน 9
  46. 46. กรณีศึกษาที่น่าสนใจของ “Social Media”
  47. 47. บรรณารักษ์อังกฤษโดนเด้ง หลังปล่อย นศ. เต้นฮาร์เล็ม เชค ในห้องสมุด บรรณารักษ์รายนี้คือ กาลิปโซ แนช ได้ถูกไล่ออกจากงาน หลังจากที่เธอปล่อยให้นักศึกษา เต้นฮาร์เล็ม เชค กันวุ่นวายในห้องสมุด ก่อนโพสต์คลิปลงในยูทูบ และทาให้เรื่องแดงขึ้น โดย แนช ถูกกล่าวหาว่าเธอละเลยการดูแลห้องสมุด และปล่อยให้เหตุการณ์ที่ไม่ควรจะเกิดขึ้นใน ห้องสมุดนั้นเกิดขึ้น ส่วนนักศึกษากลุ่มที่ร่วมกันเต้นฮาร์เล็ม เชค ก็ได้รับโทษจากทางวิทยาลัย เช่นกัน จากเหตุการณ์ดังกล่าว ทาให้นักศึกษาที่เต้นฮาร์เล็ม เชค ออกมาชี้แจงและเรียกร้องขอให้ทาง วิทยาลัยพิจารณาให้แนชกลับมาทางานอีกครั้ง โดยนักศึกษากลุ่มนี้เปิดเผยว่า การเต้นฮาร์ เล็ม เชค นี้เกิดขึ้นเมื่อเวลาประมาณ 23.30 น. ของวันอาทิตย์ ซึ่งมันก็ไม่ได้สร้างความราคาญ หรือเป็นการป่วนห้องสมุดแต่อย่างใด และที่สาคัญ คือการเต้นเกิดขึ้นในช่วงเวลาประมาณ 7 นาทีเท่านั้น
  48. 48. เมื่อเด็กอยู่บนโลกออนไลน์ ธุรกิจที่หากินกับเด็กก็เกิดขึ้นเช่นกัน...
  49. 49. บทบาทของนักวิชาชีพสารสนเทศในการส่งเสริม และสนับสนุน Digital Economy นายเมฆินทร์ ลิขิตบุญฤทธิ์ Dcy_4430323@hotmail.com Line : Ylibraryhub www.libraryhub.in.th www.facebook.com/THLibrary

×