SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
Baixar para ler offline
ปัจจุบันพยาบาล : การพยาบาลขั้นต้นและภาวะ
ฉุกเฉิน
• ในผู้ป่วยกลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันทีโดยกลุ่มอาการฉุกเฉินซึ่งพยาบาล
วิชาชีพจะต้องให้การดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้นตามความเหมาะสมก่อนทาการส่งต่อให้เป็นไปตามข้อกาหนด
การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค มีการแบ่งกลุ่มอาการฉุกเฉินที่หลากหลายแต่ในที่นี้จะกล่าวถึง
เฉพาะกลุ่มอาการที่พบบ่อยและกลุ่มอาการที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อผู้ป่วยซึ่งกลุ่มอาการที่ควรให้ความสนใจ
และศึกษามีดังต่อไปนี้
การหยุดหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทางาน
• หมายถึง ภาวะที่หัวใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานทาให้ไม่สามารถส่งเลือดไปสู่ร่างกายได้ส่งผลเกิดการตายเฉียบพลัน
• อาการแสดง
ไม่รู้สึกตัว หยุดหายใจ คลาชีพจรไม่ได้
• การรักษาเบื้องต้น
1 จัดให้ผู้ป่วยนอนราบศีรษะต่าเล็กน้อยตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง
2 ล้วงเอาสิ่งแปลกปลอมในปากออก
3 จัดท่าทางให้ทางเดินหายใจโล่ง
4 คลายเสื้อผ้าที่สวมอยู่ออก
5 ช่วยการหายใจโดยการผายปอดโดยการเป่าปาก
6 ถ้ามีเครื่องมืออาจต้องใส่ท่อช่วยหายใจ
7 ให้สารละลาย Isotonic ทางหลอดเลือดดาเพื่อเปิดหลอดเลือดไว้
8 ทาการส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
การหมดสติ
• หมายถึง ภาวะที่ร่างกายไม่รับรู้ต่อสิ่งแวดล้อมหรือสิ่งที่มากระตุ้นเนื่องจากเกิดความเสียหายต่อศูนย์ควบคุมความรู้สึกและสมองใหญ่
• อาการแสดง
1 ความดันโลหิตต่าหรือสูงกว่าปกติ
2 การหายใจผิดปกติ
3 ไข้สูง
4 บาดแผลที่ศีรษะ
5 มีความผิดปกติของประสาทร่วมด้วย
6 มีความผิดปกติของสารน้าและเกลือแร่ในร่างกาย
7 ขนาดรูม่านตาเปลี่ยนแปลง
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว
2 ประเมินหาสาเหตุของการหมดสติ
3 ให้ออกซิเจน
4 จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนตะแคงกึ่งคว่าหันหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งไม่หนุนหมอน
5 ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
6 งดอาหารและน้าทางปาก
7 ส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีความพร้อมของการรักษาโรคเบื้องต้น
ภาวะช็อค
• หมายถึง ภาวะที่ร่างกายหรือเนื้อเยื่อต่างๆได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอทาให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างความต้องการและ
ปริมาณออกซิเจนที่เลือดนาไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ
• อาการแสดง
1 ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว
2 กะสับกะส่าย ชีพจรเบาเร็ว เหงื่อออก ตัวเย็น กระหายน้า อ่อนเพลีย อาเจียน หมดสติ
3 ถ้ามีอาการช็อกรุนแรงม่านตาจะไม่ตอบสนองต่อแสง
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินความรู้สึกตัว
2 ให้นอนราบยกขาสูงขึ้น 10-20 นิ้ว เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือด
3 ให้ออกซิเจน ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
4 ให้สารน้าทดแทนทางหลอดเลือดดา
5 ให้งดน้าและอาหารทางปาก
6 ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้เพื่อบันทึกปริมาณปัสสาวะ
7 แก้สาเหตุของการช็อก
8 ต้องทาการส่งต่อไปรับการรักษาในสถานบริการที่มีความพร้อม
เป็นลม
• หมายถึง การมีภาวะหมดสติชั่วคราวเกิดขึ้นทันทีทันใดเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลงและจะพบว่ามีการสูญเสียการทรงตัว
• อาการแสดง
1 ไม่รู้สึกตัว คลาชีพจรเบาเร็ว
2 หายใจช้าหรือเร็วผิดปกติ
3 มีอาการอาเจียน กระวนกระวาย หมดสติ
4 มีอาการแน่นหน้าอก หายใจหอบถี่ เหงื่อออกมาก
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว
2 จัดให้อยู่ในสถานที่ร่ม อากาศถ่ายเทได้ดี นอนราบไม่ต้องหนุนหมอน
3 ถ้ามีภาวะหายใจผิดปกติใช้ผ้าหนุนใต้ไหล่จัดศีรษะแหงนไปด้านหลัง ตรวจดูในปากให้โล่ง
4 ถ้าอาการไม่ดีขึ้น มีหัวใจล้มเหลวหรือระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทางานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
5 ถ้าเกิดจาก Vasovagal reflex ให้ทาการนวดหลอดเลือด Carotid artery ข้างละ 5-10 วินาที
6 ส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีความพร้อม
การจมน้า
• Drowning หมายถึง การจมน้าซึ่งผู้ป่วยเสียชีวิตในที่เกิดเหตุหรือเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมงแรก
• Near drowning หมายถึง การจมน้าและยังมีชีวิตอยู่เกิน 24 ชั่วโมงซึ่งผู้ป่วยอาจจะหายเป็นปกติหรือเสียชีวิตก็ได้
• อาการแสดง
1 หมดสติ ชักเกร็ง
2 ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจหยุดทางาน
3 ได้รับบาดเจ็บ เช่น มีบาดแผลตามร่างกาย
4 หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตลดลง
5 มีการสูดสาลัก
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว
2 ตรวจดูสิ่งแปลกปลอม เช่น ฟันปลอม เสมหะ เลือด ถ้ามีให้รีบเอาออก
3 ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตทางานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
4 ให้ออกซิเจน ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
5 ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
6 กรณีมีบาดแผลให้การดูแลบาดแผลและประเมินอาการบาดเจ็บอื่นๆร่วมด้วย
7 ส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีความพร้อม
กระดูกหัก
• หมายถึง การแยกออกจากกันหรือการเสียความต่อเนื่องของโครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูก
• กระดูกหักสามารถแบ่งตามลักษณะของบาดแผลเป็น 2 ชนิด คือ
1 กระดูกหักชนิดไม่มีแผลติดต่อกลับภายนอก
2 กระดูกหักชนิดมีแผลติดต่อกลับภายนอก
• อาการแสดง
1 กระดูกหักชนิดมีแผลเปิด แผลสกปรก
2 กระดูกหักที่มีการเสียเลือดมาก
3 กระดูกหักที่มีการทาลายเส้นเลือดแดง เส้นประสาท กล้ามเนื้อ
4 การเคลื่อนไหวตาแหน่งที่บาดเจ็บลดลง
5 บวมผิดรูป
6 หมดสติจากการเสียเลือด
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว
2 ให้ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี
3 ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
การตกเลือดอย่างรุนแรง
• หมายถึง ภาวะที่ร่างกายเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 40 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาณเลือดในร่างกายทาให้เกิดความดันโลหิต
ลดลงมีอาการหัวใจเต้นเร็วทาให้อวัยวะต่างๆในร่างกายทางานล้มเหลว
• อาการแสดง
1 กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น วิงเวียน ชัก หมดสติ
2 ความดันโลหิตลดลง
3 ปัสสาวะไม่ออก
4 ได้รับบาดเจ็บมีบาดแผลตามร่างกาย
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินสภาพผู้ป่วย ความรู้สึกตัว ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต หรือสาเหตุที่ทาให้เสียเลือด
2 แก้ไขสาเหตุของการเสียเลือด เช่น ห้ามเลือด
3 ให้สารน้าชดเชยทางหลอดเลือดดา
4 ให้ออกซิเจน
5 ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้เพื่อลดปริมาณปัสสาวะ
6 ทาการส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
4 ประเมินตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บให้การดูแลบาดแผล ห้ามเลือดถ้ามีเลือดออก
5 ดามบริเวณที่หัก
6 ล้างแผลให้สะอาด ปิดแผลไว้
7 ประคบเย็นเพื่อลดอาการปวด
8 ฉีดยาป้องกันบาดทะยัก
9 ให้ยาแก้ปวด
10 จัดท่าทางให้เหมาะสมเพื่อให้การไหลเวียนปกติ
11 ทาการส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
ไฟฟ้าช็อต
• หมายถึง ภาวะที่ผู้ป่วยจะได้รับอันตรายเนื่องจากผลโดยตรงของกระแสไฟฟ้าและจากการที่กระแสไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นพลังงาน
ความร้อน
• ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปัจจัยใดต่อไปนี้
1 ชนิดและกาลังของกระแสไฟฟ้า
2 ตาแหน่งของร่างกายที่สัมผัส
3 สิ่งแวดล้อม เช่น ร่างกายสัมผัสโลหะ กาลังยืนอยู่ในน้า เป็นต้น
• การปฐมพยาบาลผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูด
1 หลังจากช่วยผู้ป่วยให้พ้นจากกระแสไฟฟ้าดูดแล้วถ้าผู้ป่วยมีอาการหมดสติไม่รู้สึกตัวหัวใจหยุดเต้น จับชีพจรไม่ได้ ตาค้าง ต้องรีบ
ปฐมพยาบาลทันที โดยวิธีผายปอด
2 ก่อนผายปอดถ้าผู้ป่วยมีเลือดไหล ควรห้ามเลือดและผายปอดไปพร้อมๆกัน
3 การผายปอดต้องทาอย่างละมัดละวังและถูกวิธี เช่น ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมอยู่ควรหยิบออกก่อน
ชัก
• ลักษณะของการชักแบ่งออกได้ดังนี้
1 เป็นการชักที่เริ่มจากจุดใดจุดหนึ่งของร่างกายอาจจะกระจายไปทั่วร่างกายหรือไม่ก็ได้
2 การชักที่เกิดขึ้นทั้งตัวผู้ป่วยจะไม่รู้สึกตัว
• อาการแสดง
1 การเกร็งกระตุก
2 เหม่อลอย ตาค้าง
3 น้าลายไหล คลื่นไส้ อาเจียน
4 จาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ หมดสติในเวลาต่อมา
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินความรู้สึกตัว
2 ดูแลระบบหายใจ ให้ออกซิเจน ทาทางเดินหายใจให้โล่ง
3 จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในสถานที่ที่ปลอดภัย ป้องกันอุบัติเหตุ
4 ให้สารน้าทางหลอดเลือดดาเพื่อให้ยาฉีดเวลาชัก
5 ในกรณีที่ชักจากไข้สูงให้ทาการลดไข้
6 ในกรณีที่ชักไม่หยุดอาจต้องใช้ยาระงับชักทางหลอดเลือดดาหรือสวนทวารหนัก
7 ส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีความพร้อม
การแพ้อย่างรุนแรง
• หมายถึง ภาวะที่เกิดเฉียบพลันและเป็นอันตรายต่อชีวิตเกิดจากปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันของร่างกายที่มีต่อสิ่งแปลกปลอมซึ่งเคยเข้า
ไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมาก่อนแล้ว
• อาการแสดง
1 ผื่นคันตามร่างกาย หน้าแดง ตัวแดง
2 ไอจาม คัดจมูก น้ามูกไหล เสียงแหบ
3 ใจสั่น หายใจไม่อิ่ม อ่อนเพลีย เป็นลม
4 ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
5 ช็อก เป็นลม หมดสติ เสียชีวิต
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินความรู้สึกตัว
2 ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
3 ให้ออกซิเจน
4 ให้ยาแก้แพ้
5 ถ้ามีอาการ Bronchospasm หรือ Laryngeal edema ให้พ่นยาขยายหลอดลม
6 ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
งูกัด
• งูแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ งูมีพิษและงูไม่มีพิษ
1. งูมีพิษ
1.1 งูที่มีพิษต่อระบบประสาทได้แก่ งูเห่า งูจงอาง งูสามเหลี่ยม
อาการแสดง : 1.มึนงง เวียนศีรษะ หนังตาตก 2. ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้นอ่อนเพลีย หมดแรง 3. หายใจลาบาก 4. หมดสติ 5.
ตาย
1.2 งูที่มีพิษต่อระบบเลือด ได้แก่ งูกะปะ งูแมวเซา งูเขียวหางไหม้
อาการแสดง : 1. ปวดมาก บวมมาก 2. มีเลือดออกจากแผล เหงือกและฟัน ริมฝีปาก 3. มีจ้าเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด 4. กะสับกะ
ส่าย ชีพจรเบาเร็ว 5. ปวดท้องแน่นหน้าอก 6. หมดสติ
1.3 งูที่มีพิษต่อระบบกล้ามเนื้อ ได้แก่ งูทะเลบางชนิด งูแสมรัง งูชายธง งูคออ่อน
อาการแสดง : 1. ปวดเมื่อยตามแขนขา ลาตัว 2.กลอกตาไม่ได้ 3. ไม่สามารถเคลื่อนไหวแขนขาและร่างกายได้ 4. กล้ามเนื้ออักเสบ
รุนแรง 5. ระบบปัสสาวะล้มเหลว 6. ระบบหายใจล้มเหลว
2. งูที่ไม่มีพิษ เช่น งูแม่ตะงาว งูเห่ามัง งูเหลือม งูหลาม เป็นต้น
อาการแสดง : อาจมีอาการปวดบวม เลือดออกไม่มาก ผู้ป่วยไม่มีอาการผิดปกติอื่นใด
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว
2 ถ้าระบบหายใจและไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
3 ตรวจดูบาดแผลและรอยเขี้ยวพิษ
4 งดน้าและงดอาหารทางปากไว้ก่อน
6 ไม่ควรใช้ปากดูดแผล
7 ไม่ควรใช้สมุนไพรใดๆมาพอกที่แผล
8 ส่งต่อสถานบริการที่มีความพร้อม
ผึ้ง ต่อ แตนต่อย
• อาการแสดง
1 หมดสติ
2 ชัก
3 หายใจลาบาก หัวใจเต้นผิดปกติ คลื่นไส้อาเจียน เจ็บแน่นหน้าอก เป็นลม
4 ปวด บวมมาก ถ้าอาการไม่มาก เช่น ปวดบวมเฉพาะที่
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินความรู้สึกตัว
2 ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ทาการฟื้นคืนชีพ
3 ให้ออกซิเจน ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
4 ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
หมายเหตุ ถ้ามีเหล็กในคาอยู่ให้รีบเอาออกเพื่อลดพิษที่อยู่ในถุงน้าพิษโดยใช้ปลายเข็มสะกิดออกและประคบด้วยความเย็นเพื่อลด
ความปวดถ้าปวดมากให้รับประทานยาแก้ปวด
แมงป่องต่อย ตะขาบ แมงมุมกัด
• อาการแสดง
1 หมดสติ
2 มีภาวะ Anaphylaxis
3 ชัก
4 หายใจลาบากหัวใจเต้นผิดปกติ
5 คลื่นไส้อาเจียนเจ็บแน่นหน้าอก
6 กระสับกระส่าย
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินความรู้สึกตัว
2 ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ทาการช่วยฟื้นคืนชีพ
3 รักษาแบบ Anaphylaxis
4 ให้ออกซิเจน ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
5 ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
6 ประคบบริเวณที่ถูกต่อยด้วยน้าเย็นเพื่อลดความเจ็บปวด
7 ให้รับประทายยาแก้ปวด ให้ยาแก้แพ้ ในกรณีแพ้ คัน หรือบวม
8 สังเกตอาการและติดตามการรักษา
สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก
• อาการ : หายใจมีกลิ่นเหม็น จมูกข้างหนึ่งมีน้ามูกออกคล้ายหนองหรือเลือดปนหนอง
• การรักษา
1 หากสงสัยว่ามีสิ่งแปลกปลอมให้ลองเอาออกโดยการปิดรูจมูกข้างที่ดีแล้วบอกให้ผู้ป่วยสั่งจมูกแรงๆถ้าไม่ได้ผลให้ใช้ลวดเส้นเล็กๆ
ตรงปลายงอค่อยๆแยงและเขี่ยออก
2 ท่านมีการอักเสบให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Penicillin V , Amoxicillin นาน 5-7 วัน
สิ่งแปลกปลอมเข้าหู
• สิ่งแปลกปลอม เช่น เมล็ดผลไม้ ลูกปัดกระดุม แมลงเป็นต้น อาจเข้าไปในหูทาให้มีอาการหูอื้อ ปวดหู และอาจทาให้เกิดการติด
เชื้ออักเสบได้
• การรักษา
1 ถ้าเป็นสิ่งมีชีวิตเช่นมดแมลงให้หยอดหูด้วยน้ามันมะกอก น้ามันมะพร้าว น้ามันถั่วเหลือง จะทาให้แมลงตายและลอยขึ้นมาเอง
2 ถ้าเป็นสิ่งไม่มีชีวิตอื่นๆให้ตะแคงหูข้างนั้นลงและเคาะที่ศีรษะเบาๆ หากสิ่งนั้นขนาดเล็กจะหลุดออกมาเอง
3 ถ้าทาแล้วไม่ได้ผลให้ส่งต่อโรงพยาบาลเพื่อใช้เครื่องมือคีบออก
การได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด
• สารพิษสามารถเข้าสู่ร่างกายได้โดย
1 การรับประทาน
2 การสูดดม
3 การดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
4 การฉีดเข้าสู่ร่างกาย
• อาการแสดง
1 หมดสติ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
2 ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะราด
3 มีการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท เช่น ขนาดของม่านตาผิดปกติ ง่วงซึมกระสับกระส่าย
4 ความดันโลหิตลดลง ช็อก
• การรักษาเบื้องต้น
1 ประเมินความรู้สึกตัว
2 ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ทาการ CPR
3 ให้ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี
4 ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
5 ขจัดและลดความรุนแรงของสารพิษหรือยาโดย
1 ถอดเสื้อผ้าที่เปื้อนสารพิษออก ล้างพิษที่ติดอยู่หรืออาบน้าให้
2 ทาให้อาเจียนในรายที่รู้สึกตัวดี
คาถาม
1. ข้อใดเป็นสาเหตุของการหยุดหายใจและระบบไหลเวียนเลือดไม่ทางาน
• ก. นอนหลับ
• ข. หกล้ม
• ค. กระดูกคอหัก
• ง. กระดูกหัวไหล่หัก
2. ภาวะหลอดเลือดอุดตันอย่างเฉียบพลันเกิดจากข้อใด
• ก. ไขมันในเลือดสูง
• ข. เป็นลม
• ค. ชัก
• ง. เป็นไข้เลือดออก
3. การหมดสติคือ
• ก. ร่างกายไม่รับรู้ต่อสิ่งแวดล้อม
• ข. การนอนหลับ
• ค. การพักผ่อน
• ง. การงีบ
4. การรักษาเบื้องต้นการหมดสติต้องทาอย่างไร
• ก. ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
• ข. ให้ทานน้าหวาน
• ค. ให้ทานอาหาร
• ง. ให้ผู้ป่วยนอนหงาย
5. ภาวะช็อกคือ
• ก. เลือดไปเลี้ยงร่างกายเยอะเกินไป
• ข. ความสมดุลของร่างกายมากเกินไป
• ค. เลือดไปเลี้ยงร่างกายน้อยเกินไป
• ง. การตกใจ
6. การเป็นลมคือ
• ก. การหลับ
• ข. การหมดสติชั่วคราว
• ค. เลือดไปเลี้ยงสมองเยอะไป
• ง. การไม่สบาย
7. การเป็นลมสาเหตุมาจากข้อใด
• ก. นอนมากเกินไป
• ข. ทางานเกินความสามารถ
• ค. เหนื่อยมากเกินไป
• ง. ออกกาลังบ่อยเกินไป
8. การรักษาเบื้องต้นคนจมน้าคือข้อใด
• ก. คลาหน้าผากผู้ป่วย
• ข. ตรวจสิ่งแปลกปลอมในปาก
• ค. เอาน้าราดหน้าผู้ป่วย
• ง. ถอดเสื้อผ้าผู้ป่วยออก
9. สาเหตุของการตกเลือดอย่างรุนแรง
• ก. การหกล้มจนเลือดออกเยอะ
• ข. การโดนมีดบาดจนเลือดออกเยอะ
• ค. การมีเลือดออกทางช่องคลอด
• ง. การไอเป็นเลือด
10. สาเหตุของการเป็นแผลไฟไหม้
• ก. ยืนกลางแดดนานเกินไป
• ข. การยืนใกล้กองไฟ
• ค. การถูกความเย็นมากเกินไป
• ง. การถูกไฟฟ้าช็อต
11. งูที่มีพิษต่อระบบประสาทได้แก่งูอะไรบ้าง
• ก. งูเห่า
• ข. งูแมวเซา
• ค. งูชายธง
• ง. งูเหลือม
12. งูที่มีพิษต่อระบบเลือดได้แก่งูอะไรบ้าง
• ก. งูจงอาง
• ข. งูเขียวหางไหม้
• ค. งูคออ่อน
• ง. งูหลาม
13. งูที่มีพิษต่อระบบกล้ามเนื้อได้แก่งูอะไรบ้าง
• ก. งูชายธง
• ข. งูเหลือม
• ค. งูสามเหลี่ยม
• ง. งูเขียวหางไหม้
14. ถ้าเราโดนงูที่มีพิษต่อระบบประสาทกัดจะมีอาการอย่างไร
• ก. เป็นลม หมดสติ
• ข. มึนงง เวียนศีรษะ หนังตาตก ลืมตาไม่ขึ้น
• ค. ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้น
• ง. ถูกทุกข้อ
15. สารพิษสามารถเข้าสู่ร่างกายได้โดยวิธีใดบ้าง
• ก. การรับประทานหรือการสูดดม
• ข. การดูดซึมผ่านทางผิวหนัง
• ค. การฉีดเข้าสู่ร่างกาย
• ง. ถูกทุกข้อ
16. ถ้าเราได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายจะมีอาการอย่างไร
• ก. ไม่มีอาการใดๆ
• ข. หมดสติ คลื่นไส้อาเจียน ง่วงซึม กะสับกะส่าย ระบบประสาทอัตโนมัติทางานผิดปกติ
• ค. นอนไม่หลับ
• ง. น้าหนักขึ้น
17. การเสียเลือดอย่างรุนแรงมีกี่สาเหตุ
• ก. 1 สาเหตุ
• ข. 2 สาเหตุ
• ค. 3 สาเหตุ
• ง. 4 สาเหตุ
18. บาดแผลไฟไหม้น้าร้อนลวกแบ่งได้กี่ขนาด
• ก. 1 ขนาด
• ข. 2 ขนาด
• ค. 3 ขนาด
• ง. 4 ขนาด
19. การชักก่อให้เกิดความผิดปกติอย่างไรบ้าง
• ก. นอนไม่หลับ
• ข. การเกร็งกระตุก ตาลอย ตาค้าง ตัวอ่อนหมดสติ
• ค. ไม่มีความผิดปกติ
• ง. ไม่มีข้อใดถูก
20. การชักแบ่งออกได้กี่ลักษณะ
• ก. 3 ลักษณะ
• ข. 2 ลักษณะ
• ค. 5 ลักษณะ
• ง. 7 ลักษณะ
จัดทาโดย
นางสาวชุติมา ขาหิรัญ 604263017
นางสาวดลยา ศรีโพธิ์พันธ์ 604263026
หมู่เรียน 60/33

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf

ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
First aid 1
First aid 1First aid 1
First aid 1Pir Jnn
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123Janjira Majai
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessmenttaem
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCCAPD AngThong
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นguest8be8a6
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นJanjira Majai
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อdentyomaraj
 

Semelhante a การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf (20)

Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
First aid 1
First aid 1First aid 1
First aid 1
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessment
 
Pompea2
Pompea2Pompea2
Pompea2
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อ
 
First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
 

Mais de praphan khunti

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfpraphan khunti
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfpraphan khunti
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docpraphan khunti
 

Mais de praphan khunti (10)

คู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdfคู่มิอยา.pdf
คู่มิอยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdfสรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
สรุปเปรียบเทียบโรคแผนปัจจุบันในคัมภีร์ตักศิลา.pdf
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.docแบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
แบบทดสอบศัพท์แพทย์ 65.doc
 
DM 65.ppt
DM 65.pptDM 65.ppt
DM 65.ppt
 
Hemoto 65.ppt
Hemoto 65.pptHemoto 65.ppt
Hemoto 65.ppt
 
Legionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.pptLegionnaires 65.ppt
Legionnaires 65.ppt
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
 

การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf

  • 2. • ในผู้ป่วยกลุ่มอาการฉุกเฉินที่ต้องให้การช่วยเหลือเบื้องต้นและส่งต่อทันทีโดยกลุ่มอาการฉุกเฉินซึ่งพยาบาล วิชาชีพจะต้องให้การดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้นตามความเหมาะสมก่อนทาการส่งต่อให้เป็นไปตามข้อกาหนด การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค มีการแบ่งกลุ่มอาการฉุกเฉินที่หลากหลายแต่ในที่นี้จะกล่าวถึง เฉพาะกลุ่มอาการที่พบบ่อยและกลุ่มอาการที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อผู้ป่วยซึ่งกลุ่มอาการที่ควรให้ความสนใจ และศึกษามีดังต่อไปนี้
  • 3. การหยุดหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทางาน • หมายถึง ภาวะที่หัวใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานทาให้ไม่สามารถส่งเลือดไปสู่ร่างกายได้ส่งผลเกิดการตายเฉียบพลัน • อาการแสดง ไม่รู้สึกตัว หยุดหายใจ คลาชีพจรไม่ได้ • การรักษาเบื้องต้น 1 จัดให้ผู้ป่วยนอนราบศีรษะต่าเล็กน้อยตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง 2 ล้วงเอาสิ่งแปลกปลอมในปากออก 3 จัดท่าทางให้ทางเดินหายใจโล่ง 4 คลายเสื้อผ้าที่สวมอยู่ออก 5 ช่วยการหายใจโดยการผายปอดโดยการเป่าปาก 6 ถ้ามีเครื่องมืออาจต้องใส่ท่อช่วยหายใจ 7 ให้สารละลาย Isotonic ทางหลอดเลือดดาเพื่อเปิดหลอดเลือดไว้ 8 ทาการส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
  • 4. การหมดสติ • หมายถึง ภาวะที่ร่างกายไม่รับรู้ต่อสิ่งแวดล้อมหรือสิ่งที่มากระตุ้นเนื่องจากเกิดความเสียหายต่อศูนย์ควบคุมความรู้สึกและสมองใหญ่ • อาการแสดง 1 ความดันโลหิตต่าหรือสูงกว่าปกติ 2 การหายใจผิดปกติ 3 ไข้สูง 4 บาดแผลที่ศีรษะ 5 มีความผิดปกติของประสาทร่วมด้วย 6 มีความผิดปกติของสารน้าและเกลือแร่ในร่างกาย 7 ขนาดรูม่านตาเปลี่ยนแปลง • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว 2 ประเมินหาสาเหตุของการหมดสติ 3 ให้ออกซิเจน 4 จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนตะแคงกึ่งคว่าหันหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งไม่หนุนหมอน 5 ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย 6 งดอาหารและน้าทางปาก 7 ส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีความพร้อมของการรักษาโรคเบื้องต้น
  • 5. ภาวะช็อค • หมายถึง ภาวะที่ร่างกายหรือเนื้อเยื่อต่างๆได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอทาให้เกิดความไม่สมดุลระหว่างความต้องการและ ปริมาณออกซิเจนที่เลือดนาไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ • อาการแสดง 1 ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว 2 กะสับกะส่าย ชีพจรเบาเร็ว เหงื่อออก ตัวเย็น กระหายน้า อ่อนเพลีย อาเจียน หมดสติ 3 ถ้ามีอาการช็อกรุนแรงม่านตาจะไม่ตอบสนองต่อแสง • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินความรู้สึกตัว 2 ให้นอนราบยกขาสูงขึ้น 10-20 นิ้ว เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของเลือด 3 ให้ออกซิเจน ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย 4 ให้สารน้าทดแทนทางหลอดเลือดดา 5 ให้งดน้าและอาหารทางปาก 6 ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้เพื่อบันทึกปริมาณปัสสาวะ 7 แก้สาเหตุของการช็อก 8 ต้องทาการส่งต่อไปรับการรักษาในสถานบริการที่มีความพร้อม
  • 6. เป็นลม • หมายถึง การมีภาวะหมดสติชั่วคราวเกิดขึ้นทันทีทันใดเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองลดลงและจะพบว่ามีการสูญเสียการทรงตัว • อาการแสดง 1 ไม่รู้สึกตัว คลาชีพจรเบาเร็ว 2 หายใจช้าหรือเร็วผิดปกติ 3 มีอาการอาเจียน กระวนกระวาย หมดสติ 4 มีอาการแน่นหน้าอก หายใจหอบถี่ เหงื่อออกมาก • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว 2 จัดให้อยู่ในสถานที่ร่ม อากาศถ่ายเทได้ดี นอนราบไม่ต้องหนุนหมอน 3 ถ้ามีภาวะหายใจผิดปกติใช้ผ้าหนุนใต้ไหล่จัดศีรษะแหงนไปด้านหลัง ตรวจดูในปากให้โล่ง 4 ถ้าอาการไม่ดีขึ้น มีหัวใจล้มเหลวหรือระบบไหลเวียนโลหิตไม่ทางานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ 5 ถ้าเกิดจาก Vasovagal reflex ให้ทาการนวดหลอดเลือด Carotid artery ข้างละ 5-10 วินาที 6 ส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีความพร้อม
  • 7. การจมน้า • Drowning หมายถึง การจมน้าซึ่งผู้ป่วยเสียชีวิตในที่เกิดเหตุหรือเสียชีวิตภายใน 24 ชั่วโมงแรก • Near drowning หมายถึง การจมน้าและยังมีชีวิตอยู่เกิน 24 ชั่วโมงซึ่งผู้ป่วยอาจจะหายเป็นปกติหรือเสียชีวิตก็ได้ • อาการแสดง 1 หมดสติ ชักเกร็ง 2 ระบบไหลเวียนโลหิตและระบบหายใจหยุดทางาน 3 ได้รับบาดเจ็บ เช่น มีบาดแผลตามร่างกาย 4 หัวใจเต้นผิดจังหวะ ความดันโลหิตลดลง 5 มีการสูดสาลัก • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว 2 ตรวจดูสิ่งแปลกปลอม เช่น ฟันปลอม เสมหะ เลือด ถ้ามีให้รีบเอาออก 3 ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตทางานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ 4 ให้ออกซิเจน ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย 5 ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา 6 กรณีมีบาดแผลให้การดูแลบาดแผลและประเมินอาการบาดเจ็บอื่นๆร่วมด้วย 7 ส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีความพร้อม
  • 8. กระดูกหัก • หมายถึง การแยกออกจากกันหรือการเสียความต่อเนื่องของโครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูก • กระดูกหักสามารถแบ่งตามลักษณะของบาดแผลเป็น 2 ชนิด คือ 1 กระดูกหักชนิดไม่มีแผลติดต่อกลับภายนอก 2 กระดูกหักชนิดมีแผลติดต่อกลับภายนอก • อาการแสดง 1 กระดูกหักชนิดมีแผลเปิด แผลสกปรก 2 กระดูกหักที่มีการเสียเลือดมาก 3 กระดูกหักที่มีการทาลายเส้นเลือดแดง เส้นประสาท กล้ามเนื้อ 4 การเคลื่อนไหวตาแหน่งที่บาดเจ็บลดลง 5 บวมผิดรูป 6 หมดสติจากการเสียเลือด • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว 2 ให้ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี 3 ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
  • 9. การตกเลือดอย่างรุนแรง • หมายถึง ภาวะที่ร่างกายเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 40 เปอร์เซ็นต์ ของปริมาณเลือดในร่างกายทาให้เกิดความดันโลหิต ลดลงมีอาการหัวใจเต้นเร็วทาให้อวัยวะต่างๆในร่างกายทางานล้มเหลว • อาการแสดง 1 กระสับกระส่าย เหงื่อออก ตัวเย็น วิงเวียน ชัก หมดสติ 2 ความดันโลหิตลดลง 3 ปัสสาวะไม่ออก 4 ได้รับบาดเจ็บมีบาดแผลตามร่างกาย • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินสภาพผู้ป่วย ความรู้สึกตัว ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต หรือสาเหตุที่ทาให้เสียเลือด 2 แก้ไขสาเหตุของการเสียเลือด เช่น ห้ามเลือด 3 ให้สารน้าชดเชยทางหลอดเลือดดา 4 ให้ออกซิเจน 5 ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้เพื่อลดปริมาณปัสสาวะ 6 ทาการส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
  • 10. 4 ประเมินตาแหน่งที่มีการบาดเจ็บให้การดูแลบาดแผล ห้ามเลือดถ้ามีเลือดออก 5 ดามบริเวณที่หัก 6 ล้างแผลให้สะอาด ปิดแผลไว้ 7 ประคบเย็นเพื่อลดอาการปวด 8 ฉีดยาป้องกันบาดทะยัก 9 ให้ยาแก้ปวด 10 จัดท่าทางให้เหมาะสมเพื่อให้การไหลเวียนปกติ 11 ทาการส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
  • 11. ไฟฟ้าช็อต • หมายถึง ภาวะที่ผู้ป่วยจะได้รับอันตรายเนื่องจากผลโดยตรงของกระแสไฟฟ้าและจากการที่กระแสไฟฟ้าเปลี่ยนเป็นพลังงาน ความร้อน • ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปัจจัยใดต่อไปนี้ 1 ชนิดและกาลังของกระแสไฟฟ้า 2 ตาแหน่งของร่างกายที่สัมผัส 3 สิ่งแวดล้อม เช่น ร่างกายสัมผัสโลหะ กาลังยืนอยู่ในน้า เป็นต้น • การปฐมพยาบาลผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูด 1 หลังจากช่วยผู้ป่วยให้พ้นจากกระแสไฟฟ้าดูดแล้วถ้าผู้ป่วยมีอาการหมดสติไม่รู้สึกตัวหัวใจหยุดเต้น จับชีพจรไม่ได้ ตาค้าง ต้องรีบ ปฐมพยาบาลทันที โดยวิธีผายปอด 2 ก่อนผายปอดถ้าผู้ป่วยมีเลือดไหล ควรห้ามเลือดและผายปอดไปพร้อมๆกัน 3 การผายปอดต้องทาอย่างละมัดละวังและถูกวิธี เช่น ถ้ามีสิ่งแปลกปลอมอยู่ควรหยิบออกก่อน
  • 12. ชัก • ลักษณะของการชักแบ่งออกได้ดังนี้ 1 เป็นการชักที่เริ่มจากจุดใดจุดหนึ่งของร่างกายอาจจะกระจายไปทั่วร่างกายหรือไม่ก็ได้ 2 การชักที่เกิดขึ้นทั้งตัวผู้ป่วยจะไม่รู้สึกตัว • อาการแสดง 1 การเกร็งกระตุก 2 เหม่อลอย ตาค้าง 3 น้าลายไหล คลื่นไส้ อาเจียน 4 จาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้ หมดสติในเวลาต่อมา • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินความรู้สึกตัว 2 ดูแลระบบหายใจ ให้ออกซิเจน ทาทางเดินหายใจให้โล่ง 3 จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในสถานที่ที่ปลอดภัย ป้องกันอุบัติเหตุ 4 ให้สารน้าทางหลอดเลือดดาเพื่อให้ยาฉีดเวลาชัก 5 ในกรณีที่ชักจากไข้สูงให้ทาการลดไข้ 6 ในกรณีที่ชักไม่หยุดอาจต้องใช้ยาระงับชักทางหลอดเลือดดาหรือสวนทวารหนัก 7 ส่งต่อไปยังสถานบริการที่มีความพร้อม
  • 13. การแพ้อย่างรุนแรง • หมายถึง ภาวะที่เกิดเฉียบพลันและเป็นอันตรายต่อชีวิตเกิดจากปฏิกิริยาภูมิคุ้มกันของร่างกายที่มีต่อสิ่งแปลกปลอมซึ่งเคยเข้า ไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมาก่อนแล้ว • อาการแสดง 1 ผื่นคันตามร่างกาย หน้าแดง ตัวแดง 2 ไอจาม คัดจมูก น้ามูกไหล เสียงแหบ 3 ใจสั่น หายใจไม่อิ่ม อ่อนเพลีย เป็นลม 4 ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง 5 ช็อก เป็นลม หมดสติ เสียชีวิต • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินความรู้สึกตัว 2 ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ 3 ให้ออกซิเจน 4 ให้ยาแก้แพ้ 5 ถ้ามีอาการ Bronchospasm หรือ Laryngeal edema ให้พ่นยาขยายหลอดลม 6 ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม
  • 14. งูกัด • งูแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ งูมีพิษและงูไม่มีพิษ 1. งูมีพิษ 1.1 งูที่มีพิษต่อระบบประสาทได้แก่ งูเห่า งูจงอาง งูสามเหลี่ยม อาการแสดง : 1.มึนงง เวียนศีรษะ หนังตาตก 2. ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้นอ่อนเพลีย หมดแรง 3. หายใจลาบาก 4. หมดสติ 5. ตาย 1.2 งูที่มีพิษต่อระบบเลือด ได้แก่ งูกะปะ งูแมวเซา งูเขียวหางไหม้ อาการแสดง : 1. ปวดมาก บวมมาก 2. มีเลือดออกจากแผล เหงือกและฟัน ริมฝีปาก 3. มีจ้าเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด 4. กะสับกะ ส่าย ชีพจรเบาเร็ว 5. ปวดท้องแน่นหน้าอก 6. หมดสติ 1.3 งูที่มีพิษต่อระบบกล้ามเนื้อ ได้แก่ งูทะเลบางชนิด งูแสมรัง งูชายธง งูคออ่อน อาการแสดง : 1. ปวดเมื่อยตามแขนขา ลาตัว 2.กลอกตาไม่ได้ 3. ไม่สามารถเคลื่อนไหวแขนขาและร่างกายได้ 4. กล้ามเนื้ออักเสบ รุนแรง 5. ระบบปัสสาวะล้มเหลว 6. ระบบหายใจล้มเหลว 2. งูที่ไม่มีพิษ เช่น งูแม่ตะงาว งูเห่ามัง งูเหลือม งูหลาม เป็นต้น อาการแสดง : อาจมีอาการปวดบวม เลือดออกไม่มาก ผู้ป่วยไม่มีอาการผิดปกติอื่นใด
  • 15. • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินระดับความรู้สึกตัว 2 ถ้าระบบหายใจและไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ 3 ตรวจดูบาดแผลและรอยเขี้ยวพิษ 4 งดน้าและงดอาหารทางปากไว้ก่อน 6 ไม่ควรใช้ปากดูดแผล 7 ไม่ควรใช้สมุนไพรใดๆมาพอกที่แผล 8 ส่งต่อสถานบริการที่มีความพร้อม
  • 16. ผึ้ง ต่อ แตนต่อย • อาการแสดง 1 หมดสติ 2 ชัก 3 หายใจลาบาก หัวใจเต้นผิดปกติ คลื่นไส้อาเจียน เจ็บแน่นหน้าอก เป็นลม 4 ปวด บวมมาก ถ้าอาการไม่มาก เช่น ปวดบวมเฉพาะที่ • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินความรู้สึกตัว 2 ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ทาการฟื้นคืนชีพ 3 ให้ออกซิเจน ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา 4 ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม หมายเหตุ ถ้ามีเหล็กในคาอยู่ให้รีบเอาออกเพื่อลดพิษที่อยู่ในถุงน้าพิษโดยใช้ปลายเข็มสะกิดออกและประคบด้วยความเย็นเพื่อลด ความปวดถ้าปวดมากให้รับประทานยาแก้ปวด
  • 17. แมงป่องต่อย ตะขาบ แมงมุมกัด • อาการแสดง 1 หมดสติ 2 มีภาวะ Anaphylaxis 3 ชัก 4 หายใจลาบากหัวใจเต้นผิดปกติ 5 คลื่นไส้อาเจียนเจ็บแน่นหน้าอก 6 กระสับกระส่าย • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินความรู้สึกตัว 2 ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ทาการช่วยฟื้นคืนชีพ 3 รักษาแบบ Anaphylaxis 4 ให้ออกซิเจน ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา 5 ส่งต่อไปสถานบริการที่มีความพร้อม 6 ประคบบริเวณที่ถูกต่อยด้วยน้าเย็นเพื่อลดความเจ็บปวด 7 ให้รับประทายยาแก้ปวด ให้ยาแก้แพ้ ในกรณีแพ้ คัน หรือบวม 8 สังเกตอาการและติดตามการรักษา
  • 18. สิ่งแปลกปลอมเข้าจมูก • อาการ : หายใจมีกลิ่นเหม็น จมูกข้างหนึ่งมีน้ามูกออกคล้ายหนองหรือเลือดปนหนอง • การรักษา 1 หากสงสัยว่ามีสิ่งแปลกปลอมให้ลองเอาออกโดยการปิดรูจมูกข้างที่ดีแล้วบอกให้ผู้ป่วยสั่งจมูกแรงๆถ้าไม่ได้ผลให้ใช้ลวดเส้นเล็กๆ ตรงปลายงอค่อยๆแยงและเขี่ยออก 2 ท่านมีการอักเสบให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Penicillin V , Amoxicillin นาน 5-7 วัน
  • 19. สิ่งแปลกปลอมเข้าหู • สิ่งแปลกปลอม เช่น เมล็ดผลไม้ ลูกปัดกระดุม แมลงเป็นต้น อาจเข้าไปในหูทาให้มีอาการหูอื้อ ปวดหู และอาจทาให้เกิดการติด เชื้ออักเสบได้ • การรักษา 1 ถ้าเป็นสิ่งมีชีวิตเช่นมดแมลงให้หยอดหูด้วยน้ามันมะกอก น้ามันมะพร้าว น้ามันถั่วเหลือง จะทาให้แมลงตายและลอยขึ้นมาเอง 2 ถ้าเป็นสิ่งไม่มีชีวิตอื่นๆให้ตะแคงหูข้างนั้นลงและเคาะที่ศีรษะเบาๆ หากสิ่งนั้นขนาดเล็กจะหลุดออกมาเอง 3 ถ้าทาแล้วไม่ได้ผลให้ส่งต่อโรงพยาบาลเพื่อใช้เครื่องมือคีบออก
  • 20. การได้รับสารพิษหรือยาเกินขนาด • สารพิษสามารถเข้าสู่ร่างกายได้โดย 1 การรับประทาน 2 การสูดดม 3 การดูดซึมผ่านทางผิวหนัง 4 การฉีดเข้าสู่ร่างกาย • อาการแสดง 1 หมดสติ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง 2 ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะราด 3 มีการเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท เช่น ขนาดของม่านตาผิดปกติ ง่วงซึมกระสับกระส่าย 4 ความดันโลหิตลดลง ช็อก • การรักษาเบื้องต้น 1 ประเมินความรู้สึกตัว 2 ถ้ามีระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทางานให้ทาการ CPR 3 ให้ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี 4 ให้สารน้าทางหลอดเลือดดา 5 ขจัดและลดความรุนแรงของสารพิษหรือยาโดย 1 ถอดเสื้อผ้าที่เปื้อนสารพิษออก ล้างพิษที่ติดอยู่หรืออาบน้าให้ 2 ทาให้อาเจียนในรายที่รู้สึกตัวดี
  • 21. คาถาม 1. ข้อใดเป็นสาเหตุของการหยุดหายใจและระบบไหลเวียนเลือดไม่ทางาน • ก. นอนหลับ • ข. หกล้ม • ค. กระดูกคอหัก • ง. กระดูกหัวไหล่หัก 2. ภาวะหลอดเลือดอุดตันอย่างเฉียบพลันเกิดจากข้อใด • ก. ไขมันในเลือดสูง • ข. เป็นลม • ค. ชัก • ง. เป็นไข้เลือดออก 3. การหมดสติคือ • ก. ร่างกายไม่รับรู้ต่อสิ่งแวดล้อม • ข. การนอนหลับ • ค. การพักผ่อน • ง. การงีบ
  • 22. 4. การรักษาเบื้องต้นการหมดสติต้องทาอย่างไร • ก. ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย • ข. ให้ทานน้าหวาน • ค. ให้ทานอาหาร • ง. ให้ผู้ป่วยนอนหงาย 5. ภาวะช็อกคือ • ก. เลือดไปเลี้ยงร่างกายเยอะเกินไป • ข. ความสมดุลของร่างกายมากเกินไป • ค. เลือดไปเลี้ยงร่างกายน้อยเกินไป • ง. การตกใจ 6. การเป็นลมคือ • ก. การหลับ • ข. การหมดสติชั่วคราว • ค. เลือดไปเลี้ยงสมองเยอะไป • ง. การไม่สบาย
  • 23. 7. การเป็นลมสาเหตุมาจากข้อใด • ก. นอนมากเกินไป • ข. ทางานเกินความสามารถ • ค. เหนื่อยมากเกินไป • ง. ออกกาลังบ่อยเกินไป 8. การรักษาเบื้องต้นคนจมน้าคือข้อใด • ก. คลาหน้าผากผู้ป่วย • ข. ตรวจสิ่งแปลกปลอมในปาก • ค. เอาน้าราดหน้าผู้ป่วย • ง. ถอดเสื้อผ้าผู้ป่วยออก 9. สาเหตุของการตกเลือดอย่างรุนแรง • ก. การหกล้มจนเลือดออกเยอะ • ข. การโดนมีดบาดจนเลือดออกเยอะ • ค. การมีเลือดออกทางช่องคลอด • ง. การไอเป็นเลือด
  • 24. 10. สาเหตุของการเป็นแผลไฟไหม้ • ก. ยืนกลางแดดนานเกินไป • ข. การยืนใกล้กองไฟ • ค. การถูกความเย็นมากเกินไป • ง. การถูกไฟฟ้าช็อต 11. งูที่มีพิษต่อระบบประสาทได้แก่งูอะไรบ้าง • ก. งูเห่า • ข. งูแมวเซา • ค. งูชายธง • ง. งูเหลือม 12. งูที่มีพิษต่อระบบเลือดได้แก่งูอะไรบ้าง • ก. งูจงอาง • ข. งูเขียวหางไหม้ • ค. งูคออ่อน • ง. งูหลาม
  • 25. 13. งูที่มีพิษต่อระบบกล้ามเนื้อได้แก่งูอะไรบ้าง • ก. งูชายธง • ข. งูเหลือม • ค. งูสามเหลี่ยม • ง. งูเขียวหางไหม้ 14. ถ้าเราโดนงูที่มีพิษต่อระบบประสาทกัดจะมีอาการอย่างไร • ก. เป็นลม หมดสติ • ข. มึนงง เวียนศีรษะ หนังตาตก ลืมตาไม่ขึ้น • ค. ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้น • ง. ถูกทุกข้อ 15. สารพิษสามารถเข้าสู่ร่างกายได้โดยวิธีใดบ้าง • ก. การรับประทานหรือการสูดดม • ข. การดูดซึมผ่านทางผิวหนัง • ค. การฉีดเข้าสู่ร่างกาย • ง. ถูกทุกข้อ
  • 26. 16. ถ้าเราได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายจะมีอาการอย่างไร • ก. ไม่มีอาการใดๆ • ข. หมดสติ คลื่นไส้อาเจียน ง่วงซึม กะสับกะส่าย ระบบประสาทอัตโนมัติทางานผิดปกติ • ค. นอนไม่หลับ • ง. น้าหนักขึ้น 17. การเสียเลือดอย่างรุนแรงมีกี่สาเหตุ • ก. 1 สาเหตุ • ข. 2 สาเหตุ • ค. 3 สาเหตุ • ง. 4 สาเหตุ 18. บาดแผลไฟไหม้น้าร้อนลวกแบ่งได้กี่ขนาด • ก. 1 ขนาด • ข. 2 ขนาด • ค. 3 ขนาด • ง. 4 ขนาด
  • 27. 19. การชักก่อให้เกิดความผิดปกติอย่างไรบ้าง • ก. นอนไม่หลับ • ข. การเกร็งกระตุก ตาลอย ตาค้าง ตัวอ่อนหมดสติ • ค. ไม่มีความผิดปกติ • ง. ไม่มีข้อใดถูก 20. การชักแบ่งออกได้กี่ลักษณะ • ก. 3 ลักษณะ • ข. 2 ลักษณะ • ค. 5 ลักษณะ • ง. 7 ลักษณะ
  • 28. จัดทาโดย นางสาวชุติมา ขาหิรัญ 604263017 นางสาวดลยา ศรีโพธิ์พันธ์ 604263026 หมู่เรียน 60/33