SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 21
STROKE
หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองตีบหรืออุดตัน
สมองขาดเลือด ไม่ทางาน
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21-Jul-14 1
โรคหลอดเลือดสมอง (STROKE)
 ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง จากหลอดเลือดตีบ
ตัน หรือแตก
 ทาให้สมองสูญเสียการควบคุมการทางานของ
อวัยวะในร่างกาย
 อาการที่เกิดขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่ขาดเลือดไปเลี้ยง
 ความรุนแรงขึ้นอยู่กับการทาลายเนื้อสมอง
21-Jul-14 2
โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน
21-Jul-14 3
โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน
 มีการอุดตันของหลอดเลือดมาอุดที่หลอด
เลือดในสมอง
 เกิดจากภาวะที่มีการแข็งตัวผิดปกติของ
เลือด (เลือดแข็งตัวง่ายกว่าปกติ) ทาให้เกิด
การอุดตันของหลอดเลือดได้
21-Jul-14 4
โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน
21-Jul-14 5
โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน
21-Jul-14 6
โรคหลอดเลือดสมองแตก
 มักเกิดในผู้ที่เป็นความดันโลหิตสูงมานาน
 ทาให้เกิดความผิดปกติที่หลอดเลือดเล็กๆ
ในสมอง และเกิดการแตกของหลอดเลือด
 ก้อนเลือดจะไปกดเนื้อสมอง ทาให้ขาด
ออกซิเจน ขาดอาหาร
21-Jul-14 7
21-Jul-14 8
โรคหลอดเลือดสมองแตก
21-Jul-14 9
อาการของโรคหลอดเลือดสมอง
• อ่อนแรงของร่างกายครึ่งซีก
• ชาครึ่งซีก
• เวียนศีรษะ ร่วมกับเดินเซ
• ตามัว หรือ มองเห็นภาพซ้อน
• พูดไม่ชัด ลิ้นแข็ง
• ปวดศีรษะ อาเจียน
• ซึม ไม่รู้สึกตัว
21-Jul-14 10
เมื่อเกิดอาการของโรค….
 15-20% เสียชีวิต
 20-30% มีความพิการขั้นรุนแรง
 50% มีความพิการเล็กน้อยหรือหายเป็ นปกติ
21-Jul-14 11
ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง
1. ภาวะความดันโลหิตสูง
2. โรคเบาหวาน
3. ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง
4. ประวัติญาติสายตรงเคยเจ็บป่วย
ด้วยโรคหลอดเลือดสมอง
21-Jul-14 12
ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง
5. ขาดการออกกาลังกาย
6. ภาวะน้าหนักเกิน
7. สูบบุหรี่
8. ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
21-Jul-14 13
ถ้าพบเห็นผู้มีอาการข้างต้น
อย่างน้อย 1 อาการ
ให้รีบไปโรงพยาบาลโดยด่วน
ภายใน 3 ชั่วโมง
จะได้ช่วยรักษาชีวิต
และสามารถฟื้นฟูกลับมาได้เป็นปกติ
หรือใกล้เคียงคนปกติมากที่สุด
21-Jul-14 14
การป้ องกันโรคหลอดเลือดสมอง
1.การรับประทานอาหารให้ครบสัดส่วน
งดหวานจัด มัน เค็มจัด เพิ่มผักผลไม้
2.การออกกาลังกายสม่าเสมออย่างน้อย
30 นาทีต่อวัน อย่างน้อย 5 วันต่อ
สัปดาห์
21-Jul-14 15
การป้ องกันโรคหลอดเลือดสมอง
3. การควบคุมน้าหนักให้เหมาะสม
4. หลีกเลี่ยงการบริโภคเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์และงดสูบบุหรี่
5. การรับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่าง
สม่าเสมอ
21-Jul-14 16
21-Jul-14 17
การป้ องกันโรคหลอดเลือดสมอง
6. การลดความเครียด และพักผ่อนเพียงพอ
21-Jul-14 18
การป้ องกันโรคหลอดเลือดสมอง
7. ตรวจร่างกายประจาปีอย่างสม่าเสมอ
21-Jul-14 19
การรักษาโรคหลอดเลือดสมอง
 การรักษาด้วยยา
 การรักษาด้วยการผ่าตัด
 การรักษาด้วยการฉายรังสี
 การทากายภาพฟื้นฟู
21-Jul-14 20
ช่องทางการติดต่อ…ผ่านทาง
Facebook:
prachaya56@hotmail.com
ในกลุ่มคลินิกอาชีวอนามัย
21-Jul-14 21

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Loveis1able Khumpuangdee
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูUtai Sukviwatsirikul
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ pueniiz
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองNana Sabaidee
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 

Mais procurados (20)

งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
Clinical practice guideline_of_anemia(cpg)
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมองบทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 

Destaque (11)

Stroke (1)
Stroke (1)Stroke (1)
Stroke (1)
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Stroke Presentation Ms
Stroke Presentation MsStroke Presentation Ms
Stroke Presentation Ms
 
Ppt stroke 2
Ppt stroke 2Ppt stroke 2
Ppt stroke 2
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Cva slides
Cva slidesCva slides
Cva slides
 
Cerebrovascular disease (CVA / Stroke)
Cerebrovascular disease (CVA / Stroke)Cerebrovascular disease (CVA / Stroke)
Cerebrovascular disease (CVA / Stroke)
 
Cerebro Vascular Accident (CVA)
Cerebro  Vascular Accident (CVA)Cerebro  Vascular Accident (CVA)
Cerebro Vascular Accident (CVA)
 
Cerebrovascular Accident
Cerebrovascular AccidentCerebrovascular Accident
Cerebrovascular Accident
 
Stroke (cerebrovascular accident)
Stroke (cerebrovascular accident)Stroke (cerebrovascular accident)
Stroke (cerebrovascular accident)
 

Mais de Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 

Ppt.stroke

Notas do Editor

  1. มีการอุดตันของหลอดเลือดซึ่งอาจเกิดจากการที่ก้อนเลือดจากหัวใจหรือก้อนไขมันจากหลอดเลือดที่คอมาอุดที่หลอดเลือดในสมอง หรืออาจเกิดจากโรคของหลอดเลือดสมองเองเกิดการอุดตัน หรือเกิดจากภาวะที่มีการแข็งตัวผิดปกติของเลือด (เลือดแข็งตัวง่ายกว่าปกติ) ทาให้เกิดการอุดตันของหลอดเลือดได้
  2. 1. ความดันโลหิตสูง เป็นสาเหตุที่ทำให้หลอดเลือดเสื่อม เนื่องจากแรงดันเลือดที่ออกมาจากหัวใจมีแรงดันสูงขึ้น ทำให้ผนังหลอดเลือดเสื่อมเร็ว ขาดความยืดหยุ่น และแตกเปราะง่าย 2. เบาหวาน เป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญรองจากภาวะความดันโลหิตสูง 3. ความอ้วน ผู้ที่มีน้าหนักตัวมาก มีโอกาสเป็นเบาหวานและความดันโลหิตสูงหรืออาจเป็นได้ทั้ง 2 โรค