SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 33
21-Jul-14 1
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
รพ.ธนบุรี 1
โรคออฟฟิศซินโดรม (Office syndrome)
 กลุ่มโรคที่เกิดจากการทางาน
 สภาพแวดล้อมในที่ทางานไม่เหมาะสม
 นั่งทางานตลอดเวลา ไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย
 ทาให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบ และปวดเมื่อยตาม
อวัยวะต่าง ๆ
21-Jul-14 2
อาการของ office syndrome
Office
syndrome
1. ปวดบริเวณกล้ามเนื้อคอ บ่าไหล่
ปวดขมับ ปวดเบ้าตา ปวดหลัง
2. ปวดร้าวไปยังบริเวณอื่น ๆ
3. อาการชาบริเวณข้อมือ / ชาลงขา
21-Jul-14 3
อาการของ office syndrome
21-Jul-14 4
สาเหตุของ office syndrome
1. สถานที่ทางาน
1. สถานที่จากัด คับแคบ
(โต๊ะ/ พื้นที่ที่ทางาน)
2. การถ่ายเทอากาศลดลง
3. สภาพอากาศ
(ร้อน/ หนาว)
21-Jul-14 5
สาเหตุของ office syndrome
2. ตัวบุคคล
(พฤติกรรม
การทางาน)
1. ทางานอยู่ท่าหนึ่งนาน ๆ
โดยไม่เปลี่ยนอิริยาบถ
2. ท่าทางที่ไม่ถูกต้อง
ในขณะทางาน
3. ทางานซ้า ๆ นาน ๆ
(มากกว่า 6 ชม.)
21-Jul-14 6
Postural syndrome
 อาการปวดเป็นไปทีละน้อย ค่อย ๆ ปวดมากขึ้น
 ปวดเฉพาะที่หรือเฉพาะจุด
 ปวดคอ หลัง เอวหรือพร้อมกัน
 นั่งหรือยืนทางานตลอดเวลา
 ช่วงการเคลื่อนไหวปกติ
 เมื่อมีการเคลื่อนไหว และกล้ามเนื้อผ่อนคลายจะปวด
ลดลง
21-Jul-14 7
Dysfunction syndrome
ช่วงการเคลื่อนไหวลดลง เนื่องจากท่าทางที่ผิดลักษณะ
 อาการปวดจะค่อยเป็นค่อยไปอย่างช้า ๆ
 โครงสร้างผิดลักษณะ เช่น คางยื่น หลังค่อม ไหล่ห่อ
 ท่าทางที่ถูกต้อง อาการปวดจะลดลง
21-Jul-14 8
กลไกการบาดเจ็บ
กลไกการเกิดชัดเจน
 มาจากอุบัติเหตุ เช่น หกล้ม
ชนโต๊ะ
 บาดเจ็บทันทีทันใดต่อ
กล้ามเนื้อ เอ็นกล้ามเนื้อ
กระดูก เส้นประสาท
กลไกการเกิดชัดเจน
 นั่งทางานผิดท่า/ นั่งทางาน
ซ้าๆ นานๆ
 เกิดแบบค่อยเป็นค่อยไป
กล้ามเนื้อทางานหนักและ
เกร็งตัว
อุบัติเหตุโดยตรง การบาดเจ็บสะสม
21-Jul-14 9
กลไกการบาดเจ็บสะสม
กล้ามเนื้อทางานหนักและผิดลักษณะ
กล้ามเนื้อเกร็งและตึงตัวมากขึ้น
เลือดไหลเวียนน้อย
เส้นประสาทถูกรั้ง & ปวด
21-Jul-14 10
Myofascial pain syndrome (MPS)
กลุ่มอาการของโรคที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด
 กล้ามเนื้อทางานมากเกินไป จนได้รับอันตราย
 อาการปวดเรื้อรัง พบมากในวัยทางาน
 มีจุดกดเจ็บที่ทาให้ร้าวไปที่อื่น
 คลาพบกล้ามเนื้อแข็งเป็นแนว และมีเม็ดสาคูเล็ก ๆ
21-Jul-14 11
Carpal tunnel syndrome
 พังผืดหนาตัวกดทับเส้นประสาท
 มีแรงกดช่องอุโมงค์ข้อมือซ้า ๆ จากการทางาน
 เกิดกับคนที่ใช้ข้อมือทางานบ่อย ๆ (computer/ งานบ้าน)
 มักปวดหรือชาแปล๊บ ๆ ที่ข้อมือและนิ้วมือ
 อ่อนแรง กล้ามเนื้อลีบ
21-Jul-14 12
โรคนิ้วล็อก
 อักเสบของเส้นเอ็น
 งอนิ้วหรือเหยียดไม่ออก (นิ้วล็อก)
 ปวด
 นิ้วเดียว/ หลายนิ้ว
21-Jul-14 13
Herniated nucleus pulposus (HNP)
 หมอนรองกระดูกปลิ้น
 มาจากการบาดเจ็บและพบมากในวัยทางาน
 ปวดหลัง ร้าวลงขา
 ชา ตามบริเวณที่เส้นประสาทโดนกดทับ
 อ่อนแรงกล้ามเนื้อขา
 ปวดมากในท่านั่ง ก้มตัว ไอจาม
 เดินตัวเอียง
21-Jul-14 14
Spondylolisthesis
 กระดูกสันหลังเคลื่อน
 ปวดหลัง ร้าวไปที่ก้น 2 ข้าง
 เกิดจากแรงเครียดที่กระทาต่อกระดูกสันหลังซ้า ๆ
 อุบัติเหตุ (ล้มก้นกระแทก/ ตกจากที่สูง)
 คลาพบกระดูกสันหลังเลื่อนไถล
21-Jul-14 15
การป้ องกัน
 จัดสภาพโต๊ะ หรือที่ทางานให้เป็นระเบียบ
 เปลี่ยนอิริยาบถขณะทางาน
 ยืดกล้ามเนื้อเพื่อการผ่อนคลาย
 มีท่าทางที่ถูกต้องขณะทางาน
 ออกกาลังกายเบา ๆ คลายความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
 พักสายตา
 เลือกจอคอมพิวเตอร์ที่เป็นจอแบนแทนจอโค้ง
21-Jul-14 16
9 วิธีสร้างภูมิคุ้มกันโรคออฟฟิศซินโดรม
1. ควรเลือกที่นั่งติดริมหน้าต่าง เพื่อให้ได้แสงจากธรรมชาติบ้าง
2. ควรเปิดหน้าต่างออฟฟิศให้อากาศได้ระบาย อย่างน้อยในตอนเช้า
ที่อากาศยังไม่ร้อนมาก และตอนพักกลางวัน
3. ควรปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกครั้งที่ไม่ได้ใช้งาน เพื่อลดระยะเวลา
ในการรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เป็นโรค
ความดันโลหิตสูง และความเครียด
21-Jul-14 17
9 วิธีสร้างภูมิคุ้มกันโรคออฟฟิศซินโดรม
4. หาต้นไม้ในร่มมาปลูก เพื่อช่วยดูดซับสารพิษและเป็นที่พักสายตา
อันอ่อนหล้าจากการต้องจ้องหน้าจอคอมพิวเตอร์นานๆ
5. ลดการใช้งานเครื่องปรับอากาศลงบ้าง บางวันอาจจะเลือกใส่
เสื้อผ้าที่มีลักษณะบางเบา แล้วใช้พัดลมมาเปิดแทน
6. ควรห้ามสูบบุหรี่ในที่ทางานโดยเด็ดขาด
21-Jul-14 18
9 วิธีสร้างภูมิคุ้มกันโรคออฟฟิศซินโดรม
7. ควรติดตั้งเครื่องฟอกอากาศ และจะดียิ่งขึ้นถ้ามีตู้ปลาขนาดใหญ่ๆ
เพื่อช่วยคืนสมดุลความชื้นที่เสียไปกับเครื่องปรับอากาศ
8. หมั่นทาความสะอาดโต๊ะทางานของคุณเอง ด้วยแอลกอฮอล์ เพื่อ
ฆ่าเชื้อโรค
9. ถ้าคุณเป็นคนติดคอมพิวเตอร์หรือมีงานด่วนที่จะต้องสะสางชนิด
ที่ไม่สามารถหยุดพักได้ก็พยายามเตือนตัวเองให้เงยหน้าขึ้นมอง
ออกไปไกล ๆ ทุก ๆ 20 นาที เพื่อบรรเทาความเหนื่อยล้าของ
สายตา
21-Jul-14 19
การออกกาลังกายเพื่อป้ องกันออฟฟิศซินโดรม
1. ยื่นแขนไปข้างหน้า กางนิ้วมือออก เกร็งไว้สักครู่ สลับกับกามือ
ประมาณ 10 ครั้ง
21-Jul-14 20
การออกกาลังกายเพื่อป้ องกันออฟฟิศซินโดรม
2. ท่าบริหารหลังส่วนบนและสะบัก ประสานมือไว้ด้านหลังศีรษะ
ศอกทั้งสองข้างและลาตัวส่วนบนตั้งตรง ดันศอกทั้งสองข้าง
ออกไปด้านหลังตรงๆ จนรู้สึกตึงบริเวณหลังส่วนบนและสะบัก
ค้างไว้ประมาณ 8-10 วินาที ทาแบบนี้5-10ครั้ง
21-Jul-14 21
การออกกาลังกายเพื่อป้ องกันออฟฟิศซินโดรม
3. ท่าบริหารคอด้านข้าง ตั้งศีรษะตรง เอียงศีรษะไปด้านซ้ายช้า ๆ
จนกระทั่งกล้ามเนื้อคอด้านข้างรู้สึกตึง ค้างไว้ประมาณ 10-20
วินาที จากนั้นสลับไปทาด้านขวาแบบเดียวกัน ทาซ้าข้างละ 2-3
ครั้ง
21-Jul-14 22
การออกกาลังกายเพื่อป้ องกันออฟฟิศซินโดรม
4. ตั้งศีรษะตรง หันหน้าไปทางหัวไหล่ด้านซ้าย จนกระทั่งคางเป็น
แนวเดียวกับหัวไหล่ จนรู้สึกตึงที่ด้านข้างของคอด้านขวา ค้างไว้
10-20 วินาที จากนั้นสลับไปทาด้านขวาแบบเดียวกัน ทาซ้าข้าง
ละ 2-3 ครั้ง ท่านี้ช่วยบริหารคอด้านข้างเหมือนกัน
21-Jul-14 23
การออกกาลังกายเพื่อป้ องกันออฟฟิศซินโดรม
5. ท่าบริหารคอด้านหลัง ก้มศีรษะจรดหน้าอกและให้รู้สึกตึงบริเวณ
คอด้านหลัง ค้างไว้ 5-10 วินาที ทาซ้า 3-5 ครั้ง
21-Jul-14 24
การออกกาลังกายเพื่อป้ องกันออฟฟิศซินโดรม
6. ประสานมือและเหยียดแขนไปข้างหน้าจนรู้สึกตึงที่แขนและไหล่
ค้างไว้ประมาณ 20-30 วินาที ทาซ้า 2-3 ครั้ง ท่านี้ช่วยบริหารแขน
และไหล่ส่วนบน
21-Jul-14 25
การออกกาลังกายเพื่อป้ องกันออฟฟิศซินโดรม
7. ยกหัวไหล่ขึ้นไปจนจรดหู จนกระทั่งรู้สึกตึงที่คอและไหล่ ค้างไว้
ประมาณ 3-5 วินาที จากนั้นปล่อยไหล่ลงในท่าปกติ ทาท่านี้ 2-3
ครั้ง จะเป็นการบริหารการเกร็งบริเวณหัวไหล่และคอ
21-Jul-14 26
การออกกาลังกายเพื่อป้ องกันออฟฟิศซินโดรม
8. ท่าบริหารหัวไหล่ ใช้มือซ้ายจับที่ข้อศอกขวา ดึงข้อศอกขวามา
ด้านซ้าย จนรู้สึกตึงที่หัวไหล่ขวา ค้างไว้ประมาณ 15-20 วินาที
จากนั้นสลับไปทาด้านซ้าย ทาซ้าข้างละ 2-3 ครั้ง
21-Jul-14 27
การออกกาลังกายเพื่อป้ องกันออฟฟิศซินโดรม
9. ท่าบริหารแขนและไหล่ส่วนล่าง ประสานมือและเหยียดแขนขึ้น
ไปข้างบนจนตึง ค้างไว้ประมาณ 10-20 วินาที ทาซ้า 2-3 ครั้ง
21-Jul-14 28
สาหรับคนที่มีอาการปวดคอ
 ท่าที่ 1 นั่งหลังตรง ประสานมือ และดันมือยืดมาด้านหน้า เป็น
การยืดกล้ามเนื้อบริเวณหัวไหล่และคอไปพร้อมกัน ทาค้างไว้ 10
วินาที ผ่อนคลายและหายใจเข้าออกเป็นปกติ
 ท่าที่ 2 หายใจเข้า ประสานมือเข้ามาที่หน้าอก เงยหน้าขึ้น 45
องศา กางศอกไปด้านข้างให้สุด หายใจเข้าออกค้างไว้ 10 วินาที
ท่านี้จะเป็นการบริหารกล้ามเนื้อบริเวณคอ และทาให้กล้ามเนื้อคอ
แข็งแรงด้วย
21-Jul-14 29
สาหรับคนที่มีอาการปวดคอ
21-Jul-14 30
สาหรับคนที่มีอาการปวดคอ
 ท่าที่ 3 หายใจออก กามือแล้วยืดมือไปด้านหน้า ก้มหน้าลงให้คาง
ติดลาตัวให้มากที่สุด หลังตรง และหายใจเข้าออกเป็นปกติ ค้างไว้ 10
วินาที จากนั้นวนกลับไปทาท่าที่ 1, 2 และ 3
 ท่าที่ 4 นั่งหลังตรง เอามือกอดตัวเองจนแน่น แล้วใช้มือดึงหัวไหล่
ให้โน้มมาด้านหน้า จากนั้นให้หันหน้าไปทางซ้าย หายใจเข้าออกเป็น
ปกติ ค้างไว้ 10 วินาที เสร็จแล้วหันไปฝั่งตรงข้ามช้า ๆ แล้วค้างไว้อีก
10 วินาที จากนั้นให้ทาซ้าอีกสัก 2-3 ครั้ง หรือจะวนกลับไปทาท่าที่
1, 2 และ 3 ร่วมด้วย
21-Jul-14 31
สาหรับคนที่มีอาการปวดคอ
21-Jul-14 32
21-Jul-14 33
สวัสดีครับ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการBest'Peerapat Promtang
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Sureerut Physiotherapist
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007Utai Sukviwatsirikul
 

Mais procurados (20)

11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการไม่รับประทานอาหารเช้าของนักศึกษาสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
 

Destaque

Detect traumatic shock 16 พค.58
Detect traumatic shock  16 พค.58Detect traumatic shock  16 พค.58
Detect traumatic shock 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...rosalindcase
 
Pathophysiology of traumatic brain injury
Pathophysiology of traumatic brain injuryPathophysiology of traumatic brain injury
Pathophysiology of traumatic brain injuryAmir rezagholizadeh
 
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and PreventionTraumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and PreventionMedicineAndHealthNeurolog
 
Traumatic Brain Injury Power Point
Traumatic Brain Injury Power PointTraumatic Brain Injury Power Point
Traumatic Brain Injury Power Pointctrythall
 

Destaque (6)

Detect traumatic shock 16 พค.58
Detect traumatic shock  16 พค.58Detect traumatic shock  16 พค.58
Detect traumatic shock 16 พค.58
 
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
The Impact of Traumatic Brain Injury on Developmental Functioning in Children...
 
Pathophysiology of traumatic brain injury
Pathophysiology of traumatic brain injuryPathophysiology of traumatic brain injury
Pathophysiology of traumatic brain injury
 
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and PreventionTraumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
Traumatic Brain Injuries: Pathophysiology, Treatment and Prevention
 
Traumatic Brain Injury Power Point
Traumatic Brain Injury Power PointTraumatic Brain Injury Power Point
Traumatic Brain Injury Power Point
 
Head injury ppt
Head injury pptHead injury ppt
Head injury ppt
 

Mais de Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 

Ppt.office syndrome