SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
โรคคอตีบ
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21-Jul-14 1
เป็นโรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบ
ทางเดินหายใจ
 ทาให้เกิดการอักเสบ มีแผ่นเยื่อเกิดขึ้น
ในลาคอ ในรายที่รุนแรงจะมีการตีบตันของ
ทางเดินหายใจ
โรคคอตีบ
21-Jul-14 2
สาเหตุ
 เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
“โคลินแบคทีเรียม-ดิฟทีเรีย” ซึ่งมีอยู่
ในน้ามูก น้าลาย หรือเสมหะของผู้ป่วย
21-Jul-14 3
ระยะฟักตัวและระยะแพร่ของโรคคอตีบ
 ระยะฟักตัว ปกติ 2-6 วัน ผู้ป่วยจะ
แพร่เชื้อได้ตั้งแต่เริ่มป่วย โดยทั่วไปอาจ
แพร่เชื้ออยู่ได้นาน 2 สัปดาห์ อาจมีบาง
รายแพร่ได้ถึง 6 เดือน
21-Jul-14 4
อาการ
 มีไข้ต่าๆ มีอาการคล้ายหวัดในระยะแรก
 มีอาการไอ เจ็บคอ เบื่ออาหาร
 บางรายอาจจะพบต่อมน้าเหลืองที่คอโต
ด้วย เมื่อตรวจดูในคอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทา
ติดแน่นอยู่บริเวณทอนซิล และบริเวณลิ้นไก่
21-Jul-14 5
21-Jul-14 6
สิ่งที่ตรวจพบ
 ไข้ 38.5-39.0 องศาเซลเซียส หายใจหอบ
คอบุ๋ม ชีพจรเต้นเร็ว
 คอ พบแผ่นฝ้ าสีขาวปนเทา
 ต่อมน้าเหลืองที่คอมักจะโต
 บางคนอาจมีอาการคอบวมมาก คล้ายๆ คอวัว
เรียกว่า “อาการคอวัว”
21-Jul-14 7
21-Jul-14 8
อาการแทรกซ้อน
 เชื้อคอตีบสามารถปล่อยสารพิษ ทาให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจ
อักเสบ และประสาทอักเสบได้
 กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ทาให้มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ ถ้า
รุนแรงอาจเกิดภาวะหัวใจวาย และอาจถึงตายอย่างเฉียบพลัน
 ประสาทอักเสบ ทาให้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็น
อัมพาต
 ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ปอดอักเสบ ไตทางานผิดปกติ
21-Jul-14 9
การรักษา
 การให้ยาต้านพิษคอตีบ ต้องให้ในผู้ป่วยทุกรายที่
เป็นโรคหรือสงสัยว่าจะเป็น และต้องให้เร็วที่สุด
เพื่อให้ไปล้างฤทธิ์พิษ ก่อนที่พิษจะไปจับกับเนื้อเยื่อ
 ยาปฏิชีวนะ
 ในรายที่หายใจลาบากอาจต้องเจาะคอช่วยหายใจ
21-Jul-14 10
อาการแทรกซ้อน
 เชื้อคอตีบสามารถปล่อยสารพิษ ทาให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจ
อักเสบ และประสาทอักเสบได้
 กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ทาให้มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ ถ้า
รุนแรงอาจเกิดภาวะหัวใจวาย และอาจถึงตายอย่างเฉียบพลัน
 ประสาทอักเสบ ทาให้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็น
อัมพาต
 ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ปอดอักเสบ ไตทางานผิดปกติ
21-Jul-14 11
การป้ องกันตนเอง
 การมีสุขนิสัยที่ดีในการป้ องกันโรค คือ กิน
ร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ
 ดูแลรักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง
 หลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือ
สถานที่ที่มีการแพร่ระบาดของโรค
 สวมหน้ากากอนามัย
21-Jul-14 12
การป้ องกันตนเอง
สังเกตอาการผิดปกติของตัวเองและคนใกล้ชิด
 มีอาการไข้ต่าๆ มีอาการไอเสียงก้อง เจ็บคอ เบื่ออาหาร
 ต่อมน้าเหลืองที่คอโต
 ตรวจดูในคอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทาติดแน่นอยู่บริเวณทอนซิล
และบริเวณลิ้นไก่
 ให้สงสัยไว้ก่อนว่าเป็นโรคคอตีบต้องรีบไปพบแพทย์ทันที
21-Jul-14 13
สธ.สั่งสารองวัคซีน 700,000 โดส
รับมือคอตีบระบาด
21-Jul-14 14
การฉีดวัคซีนสามารถป้ องกันการเกิดโรคและลดอัตราการเสียชีวิตได้
อย่างชัดเจน
 วัคซีนป้ องกันโรคบาดทะยัก คอตีบ สามารถป้ องกันการเกิดโรคและการเสียชีวิตได้ 100%
 วัคซีนหัด คางทูม สามารถป้ องกันการเกิดโรคได้ 99.99% ลดการเสียชีวิตได้ 100%
 วัคซีนโปลิโอสามารถป้ องกันการเกิดโรคและการเสียชีวิตได้ 100% โดยวัคซีนเหล่านี้จะ
ฉีดให้กับเด็กและหญิงตั้งครรภ์เท่านั้น ไม่ได้มีการฉีดซ้าในกลุ่มผู้ใหญ่
 ดังนั้นจาเป็นต้องได้รับวัคซีนซ้าในผู้ใหญ่ด้วย
คอตีบระบาดผู้ใหญ่ แนะฉีดวัคซีนซ้า
ศ.นพ.สมิง เก่าเจริญ ประธานอนุกรรมการแนวทางเวชปฏิบัติและ
การจัดการความรู้ ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
21-Jul-14 15
คอตีบระบาดผู้ใหญ่ แนะฉีดวัคซีนซ้า
"ที่ผ่านมาในประเทศที่เจริญแล้ว เช่น
สิงคโปร์ ฮ่องกง กลุ่มผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุจะมา
รับวัคซีนซ้าเป็นปกติ แต่ในไทยยังน้อยมาก
เพราะปัญหาค่าใช้จ่ายกลัวแพง และเพราะ
รัฐบาลยังไม่ได้ให้การสนับสนุนให้ฉีดฟรี"
21-Jul-14 16
สาหรับคาแนะนาการให้วัคซีนสาหรับผู้ใหญ่และ
ผู้สูงอายุ
1.ผู้ใหญ่ช่วงต้นอายุ 18-26 ปี
ต้องฉีดวัคซีนบาดทะยักและคอตีบ วัคซีน
ไข้หวัดใหญ่ วัคซีนหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน
วัคซีนเอชพีวี และวัคซีนตับอักเสบบี
21-Jul-14 17
2.ผู้ใหญ่ช่วงอายุ 27-65 ปี
ควรฉีดซ้าวัคซีนบาดทะยักและคอตีบ
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ วัคซีนตับอักเสบบี
สาหรับคาแนะนาการให้วัคซีนสาหรับผู้ใหญ่และ
ผู้สูงอายุ
21-Jul-14 18
3.กลุ่มผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุ
มากกว่า 65 ปีขึ้นไป
ควรฉีดซ้าวัคซีนบาดทะยักและคอตีบ
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ และวัคซีนป้ องกัน
นิวโมค็อกคัส หรือวัคซีนป้ องกันการติด
รุนแรงในผู้ป่วยโรคปอดบวม
สาหรับคาแนะนาการให้วัคซีนสาหรับผู้ใหญ่และ
ผู้สูงอายุ
21-Jul-14 19
4.กลุ่มผู้ที่มีโรคเรื้อรัง
ควรฉีดซ้าวัคซีนไข้หวัดใหญ่
วัคซีนตับอักเสบบี
และวัคซีนป้ องกันนิวโมค็อกคัส
สาหรับคาแนะนาการให้วัคซีนสาหรับผู้ใหญ่และ
ผู้สูงอายุ
21-Jul-14 20
21-Jul-14 21
21-Jul-14 22
 โรคคอตีบ โรคที่หายไปจากประเทศไทยนานกว่า
17 ปี กลับมาระบาดอีกครั้ง ในช่วงปลายเดือนมิ.ย.ที่
ผ่านมา
 พื้นที่การระบาดเริ่มจากจังหวัดภาคอีสาน โดย
เฉพาะที่จังหวัดเลย พบผู้ป่วยมากกว่า 50 ราย จาก
87 ราย ในช่วงระยะเวลาไม่ถึง 6 เดือน
โรคคอตีบระบาดหนักภาคอีสาน
21-Jul-14 23
โรคคอตีบระบาดหนักภาคอีสาน
 วันที่ 20 ต.ค. 55 จากหนังสือพิมพ์เดลินิวส์ แพทย์
เผย พบผู้ป่วยคอตีบแล้ว 13 ราย ในหนองบัวลาภู
 ผลจากการเฝ้ าระวังการระบาดของเจ้าหน้าที่ แนะ
ประชาชนหากพบผู้ป่วย เป็นไข้ ไอ เจ็บคอ ไม่มีน้ามูก
แนะให้ตรวจโรคคอตีบ โดยเฉพาะในรายที่มีแผ่นฝ้ าขาว
ในลาคอ และให้พบแพทย์หากรักษาไม่ทันโอกาสเสียชีวิต
มากขึ้น
21-Jul-14 24
โรคคอตีบระบาดหนักภาคอีสาน
'โรคคอตีบ' ระบาดหนักในภาคอีสาน เผย 3 เดือนยอด
ผู้ป่วยพุ่ง 87 ราย แนะสาธารณะสุขอาเภอจับตา
แรงงานย้ายถิ่น ตั้งเป้ าปี56 กวาดล้างหมด
 11 ต.ค.55 นพ.พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า
สถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคอีสาน เพิ่มสูงขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง ปัจจุบันตัวเลขผู้ป่วยเพิ่มเป็น 87 รายแล้ว จังหวัดที่มีผู้ป่วยสูงสุด ได้แก่
จ.เลย มีผู้ป่วยมากถึง 50 ราย รองลงมาได้แก่ เพชรบูรณ์ 10 ราย หนองบัวลาภู
8 ราย และจังหวัดอื่นๆอีกจังหวัดละ 2-3 ราย
21-Jul-14 25
โรคคอตีบระบาดหนักภาคใต้
 วันที่ 28 พ.ย. 55 พบผู้ป่วยสงสัยว่าน่าจะป่วยเป็นโรค
คอตีบ 3 ราย ซึ่งทั้ง 3 รายเป็นพี่น้องกัน อาศัยในครอบครัว
เดียวกัน 9 คน คนแรกเป็นเพศหญิงอายุ 1 ปี 1 เดือน (เสียชีวิต
ต่อมา 24 พ.ย.55) คนที่ 2 เพศหญิงอายุ 2 ปีเศษ และคนที่ 3 อายุ
9 ปี ได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลขนอม โรงพยาบาลสิชล และ
ส่งต่อโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช มีการควบคุมเฝ้ าระวัง
โรคในพื้นที่ ติดตามสถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบอย่าง
ใกล้ชิดและดาเนินการป้ องกันไม่ให้เกิดการระบาด
21-Jul-14 26
สถานการณ์การเฝ้ าระวังโรคคอตีบ
อ.กุฉินารายณ์ ณ 7 ธ.ค. 55
21-Jul-14 27
21-Jul-14 28
คาถาม???????
 ระยะฟักตัวของโรคนานเท่าไหร่ เมื่อสัมผัส
ผู้ป่วยสงสัยโรคคอตีบ
21-Jul-14 29
คาถาม???????
 จะรู้ได้อย่างไรว่าป่วยเป็นโรคคอตีบ
21-Jul-14 30
21-Jul-14 31
ช่องทางในการติดต่อ…..
เข้า facebook :
prachaya56@hotmail.com
เข้าร่วม ในกลุ่มคลินิกอาชีวอนามัย
21-Jul-14 32

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Aiman Sadeeyamu
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
Loveis1able Khumpuangdee
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
Sambushi Kritsada
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
Wan Ngamwongwan
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
Dashodragon KaoKaen
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 

Mais procurados (20)

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1Ppt. ท้องเสีย 1
Ppt. ท้องเสีย 1
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
01 ความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดเพื่อการบำบัดรักษา
 
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมีความเสี่ยงด้านสารเคมี
ความเสี่ยงด้านสารเคมี
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 
บทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีนบทที่ 7 วัคซีน
บทที่ 7 วัคซีน
 
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจโรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินหายใจ
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 

Semelhante a คอตีบ+1 (9)

Sars
Sars Sars
Sars
 
URI.pptx
URI.pptxURI.pptx
URI.pptx
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
คางทูม
คางทูมคางทูม
คางทูม
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 

Mais de Prachaya Sriswang

โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
Prachaya Sriswang
 

Mais de Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 

คอตีบ+1

Notas do Editor

  1. สำคัญ…เชื้อคอตีบสามารถปล่อยสารพิษ ทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ และประสาทอักเสบได้ โรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ มักเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 10-14 ของการเจ็บป่วย ทำให้มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ ถ้ารุนแรงอาจเกิดภาวะหัวใจวาย และอาจถึงตายอย่างเฉียบพลัน ประสาทอักเสบ ทำให้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็นอัมพาต นอกจากนี้ ยังมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ปอดอักเสบ ไตทำงานผิดปกติ
  2. สำคัญ…เชื้อคอตีบสามารถปล่อยสารพิษ ทำให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ และประสาทอักเสบได้ โรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ มักเกิดขึ้นระหว่างวันที่ 10-14 ของการเจ็บป่วย ทำให้มีอาการหัวใจเต้นผิดจังหวะ ถ้ารุนแรงอาจเกิดภาวะหัวใจวาย และอาจถึงตายอย่างเฉียบพลัน ประสาทอักเสบ ทำให้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็นอัมพาต นอกจากนี้ ยังมีภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ปอดอักเสบ ไตทำงานผิดปกติ
  3. วันที่ 28 พ.ย. 55 นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครศรีฯ กล่าวว่า จากการติดตามเฝ้าระวังโรคคอตีบของ จ.นครศรีฯ พบผู้ป่วยสงสัยว่าน่าจะป่วยเป็นโรคคอตีบ ถึง 3 ราย ซึ่งทั้ง 3 รายเป็นพี่น้องกัน อาศัยในครอบครัวเดียวกัน 9 คน คนแรกเป็นเพศหญิงอายุ 1 ปี 1 เดือน (เสียชีวิตต่อมา 24 พ.ย.55) คนที่ 2 เพศหญิงอายุ 2 ปีเศษ และคนที่ 3 อายุ 9 ปี ได้เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลขนอม โรงพยาบาลสิชล และส่งต่อโรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช จึงได้สั่งการให้ผู้รับผิดชอบควบคุมเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ ติดตามสถานการณ์การระบาดของโรคคอตีบอย่างใกล้ชิดและดำเนินการป้องกันไม่ให้เกิดการระบาด พร้อมทั้งเร่งประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคคอตีบให้กับเจ้าหน้าที่และประชาชนอย่างทั่วถึง แพทย์หญิงอุทุมพร ยังได้ฝากเตือนไปยังพ่อแม่ ผู้ปกครองว่า การให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ นับว่าเป็นวิธีที่ดีสุด ปัจจุบันกะทรวงสาธารณสุขได้กำหนดการให้วัคซีนเพื่อป้องกันโรคคอตีบ 5 ครั้ง โดยให้รูปของวัคซีนรวมป้องกันคอตีบ –ไอกรน-บาดทะยัก และตับอักเสบบี 3 ครั้ง เมื่ออายุ 2,4,6 เดือน และให้ในรูปของวัคซีนรวมป้องกันคอตีบ-ไอกรน-บาดทะยัก อีก 2 ครั้งเมื่ออายุ 1 ปีครึ่งและ 4 ปี และให้วัคซีนเสริมคอตีบ-บาดทะยัก แก่เด็กนักเรียน ป.1 และป.6 หากได้รับครบตามเกณฑ์ที่กล่าวมา จะสามารถป้องกันโรคคอตีบได้เต็มที่ประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฯ ไม่อยากให้ประชาชนตื่นตระหนกจนเกินไป แต่ควรช่วยกัน ป้องกันและดูแลคนในครอบครัว หากพบคนในครอบครัวมีอาการไข้ หนาวสั่น อ่อนเพลีย เจ็บคอหายใจลำบาก เหนื่อยหอบให้รีบไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจ วินิจฉัยและรักษาต่อไป
  4. ระยะฟักตัวของโรคอยู่ระหว่าง 2-5 วัน อาจจะนานกว่านี้ได้ เชื้อจะอยู่ในลำคอของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาได้ประมาณ 2 สัปดาห์ แต่บางครั้งอาจนานถึงหลายเดือนได้ ผู้ที่ได้รับการรักษาเต็มที่เชื้อจะหมดไป ภายใน 1 สัปดาห์
  5. สรุปสถานการณ์ผู้ป่วยโรคคอตีบ เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ที่ 10 และ 12 ณ 20 พฤศจิกายน 2555 ...ผู้ป่วยยืนยัน (Confirmed case) 31 ราย ผู้ป่วยน่าจะเป็น (Probable case ) 2 ราย ผู้ป่วยสงสัย (Suspected case) 10 ราย พาหะ (Carrier) 73 ราย ที่นำเสนอสถานการณ์ ข้อมูลผู้ป่วยโรคคอตีบ นี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ให้ บุคคล ที่ ไม่ทราบสถานการณ์ที่แท้จริง ได้ รับทราบ รวมไปถึง เพื่อ เตือนภัย ให้ทุกท่านได้รู้ถึง "พื้นที่เสี่ยง" ว่าพบผู้ป่วยที่ อำเภอ และ จังหวัด ใดบ้าง ซึ่งเป็นข้อมูลทางระบาดวิทยาที่สำคัญในการสอบสวนโรค ในการสอบถามว่า ผุ้ป่วยสงสัยได้ไปพื้นที่เสี่ยง หรือ ไม่ หาก ไม่ได้ไป มี บุคคล ที่มาจากพื้นที่เสี่ยงมาเยี่ยม มาหา หรือไม่ ส่วนในภาพรวมประเทศ ผมจะพยายามศึกษา และ รวบรวมข้อมูลครับ...นำเสนอให้ท่านได้ ทราบ เพื่อช่วยกันเฝ้าระวังต่อไป
  6. ระยะฟักตัวของโรคอยู่ระหว่าง 2-5 วัน อาจจะนานกว่านี้ได้ เชื้อจะอยู่ในลำคอของผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาได้ประมาณ 2 สัปดาห์ แต่บางครั้งอาจนานถึงหลายเดือนได้ ผู้ที่ได้รับการรักษาเต็มที่เชื้อจะหมดไป ภายใน 1 สัปดาห์
  7. จากอาการและอาการแสดง หลังระยะฟักตัวจะเริ่มมีอาการไข้ต่ำๆ มีอาการคล้ายหวัดในระยะแรก มีอาการไอเสียงก้อง เจ็บคอ เบื่ออาหาร ในเด็กโตอาจจะบ่นเจ็บคอคล้ายกับคออักเสบ บางรายอาจจะพบต่อมน้ำเหลืองที่คอโตด้วย เมื่อตรวจดูในคอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทาติดแน่นอยู่บริเวณทอนซิล และบริเวณลิ้นไก่ แผ่นเยื่อนี้เกิดจากพิษที่ออกมาทำให้มีการทำลายเนื้อเยื่อ และทำให้มีการตายของเนื้อเยื่อทับซ้อนกันเกิดเป็นแผ่นเยื่อ (membrane) ติดแน่นกับเยื่อบุในลำคอ