SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 41
นางสาวปาริชาต พันธ์ธรรม
นักศึกษาภาค กศ.พบ. 29
รหัสนักศึกษา
5530123315049
อ้างอิง :
http://www.kalyanamitra.org/m
ongkhol/index_mongkhol.html
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: อเสวนา จ พาลานํ (อะเสวะนา จะ พาลานัง)
พาล แปลว่า โง่เขลา อับปัญญา รู้เท่าไม่ถึงการณ์ คน
พาลคือคนโง่เขลา คนเกเรแม้คนมีปริญญาสูง ๆ แต่
ประพฤติทุจริตทางกาย วาจา ใจ เรียกว่า คนพาล การ
ไม่คบคนพาลจึงเป็นมงคล เพราะการคบคนพาลพา
ไปหาผิดและพาเราไปทาสิ่งไม่ดีไม่ร้ายกับตัวเรา การ
ไม่คบคนพาลจึงทาให้พ้นจากโอกาสที่จะหลงเข้าสู่
ความผิด นามาซึ่งความสรรเสริญของคนทั่วไป และ
ประสบความสุขความก้าวหน้าในชีวิต เป็นการตัด
กาลังไม่ให้เชื้อคนพาลระบาดไป เพราะขาดคน
สนับสนุน
บาลี: ปณฑิตานญฺจ เสวนา (ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา)
บัณฑิต แปลว่า ผู้มีปัญญา นักปราชญ์ หมายถึง
ผู้รู้ทัน และมีเหตุผล ในการกระทา ในคาที่พูด และ
เรื่องที่คิด คบบัณฑิตเป็นมงคล เพราะได้ความรู้
ความปลอดภัย ความสรรเสริญ ความสุข เกียรติยศ
ชื่อเสียง และชื่อว่าได้ทาความดีด้วย ทาให้บรรลุ
มรรคผลนิพพานได้ง่าย ได้ชื่อว่ามี "กัลยาณมิตร"
มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ปูชา จ ปูชนียานํ (ปูชา จะ ปูชะนียานัง)
บูชา คือ สักการะ เคารพ นับถือ ยาเกรง กราบไหว้
ทาด้วยความเอื้อเฟื้อ การบูชาเป็นมงคล เพราะทา
ให้เราลดทิฏฐิมานะลงได้ ป้ องกันความเห็นผิด และ
ทาให้เราได้แบบอย่างที่ดีจากคนที่เราเคารพ เป็นการ
ขจัดคนพาลให้พินาศไปโดยทางอ้อมและเป็นการ
เชิดชูบัณฑิตให้สูงเด่นยิ่ง ขึ้น และได้ชื่อว่าเป็นผู้มี
"กตัญญูกตเวที" อีกด้วย
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ปฏิรูปเทสวาโส จ (ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ)
ปฏิรูป แปลว่า เหมาะสมหรือสมควร เทสะ แปลว่า
สถานที่หรือท้องถิ่น ปฏิรูปเทสวาสะ คือการอยู่ใน
ท้องถิ่นอันสมควร คืออยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีมีความ
พร้อม การอยู่ในประเทศอันสมควรเป็นมงคล เพราะ
การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีย่อมทาให้เป็นคนดี คนมี
ความรู้ถ้าอยู่ในถิ่นที่ไม่ต้องใช้วิชาความรู้ ความรู้นั้นก็
หมดค่าไป และทาให้คนเรากล้าต่อการเผชิญกับ
ปัญหา เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีได้ ได้รับความสุขกาย
สุขใจ มีความเจริญก้าวหน้า ทั้งทางโลกและทางธรรม
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา (ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา)
บุญ แปลว่า ความดี ความสุข สิ่งที่ชาระจิตใจ สิ่งที่
ฟอกจิต การทาบุญไว้ก่อนเป็นมงคล เพราะการ
ทาบุญเป็นการสร้างความดี ซึ่งมีระยะเวลา
ยาวนานต้องอดทน เหมือนปลูกต้นไม้ยืนต้น
จะต้องคอยผลไม้นั้นเป็นปี ๆ การทาบุญในอดีต
ส่งผลในปัจจุบัน การทาบุญในปัจจุบันส่งผลใน
ปัจจุบันและอนาคต ผู้ทาความดีจึงต้องคิดว่าเป็น
การสร้างฐานแห่งอนาคตไว้ฉะนั้น
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: อตฺตสมฺมาปณิธิ จ (อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ)
อัตตะ หรือ ตน หมายถึงกายกับใจ การตั้งตนไว้
ชอบคือการวางตัวในการดารงชีพ หรือใน
ชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องและมั่นคง จึงจะได้
ชื่อว่าเป็นคนมีคุณภาพชีวิต การตั้งตนไว้ชอบเป็น
มงคล เพราะเป็นการสร้างความมั่นคง ความ
ปลอดภัยแก่ตนเอง เป็นตัวอย่างที่ดีแก่คนอื่น มี
ความก้าวหน้า เป็นผู้ป้ องกันภัยในอบายภูมิ และ
ได้รับสมบัติ 3 ประการคือ มนุษยสมบัติ ทิพย
สมบัติ และนิพพานสมบัติ
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: พาหุสจฺจญฺจ (พาหุสัจจัญจะ)
พหู แปลว่ามาก สูต แปลว่าความเป็นผู้ได้สดับ
ตรับฟัง ดังนั้นพหูสูต จึงหมายถึงความเป็นผู้รู้ ได้
สดับตรับฟังมาก หรือความเป็นผู้คงแก่เรียน พหูสูต
เป็นมงคล เพราะการฟังมาก (ในที่นี้รวมถึงผู้ที่รู้จาก
การอ่านด้วย) ย่อมเพิ่มวุฒิปัญญา เชาวน์ และไหว
พริบ นาความรู้ที่ได้ยินได้ฟัง ได้อ่าน ไปปฏิบัติเพื่อ
ช่วยเหลือตนเองหรือคนอื่นได้มาก และเป็นช่องทาง
นาความเจริญด้วย ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ความ
เจริญก้าวหน้ามาสู่ตน ไม่มีใครแย่งชิงได้ เป็น
สหชาติปัญญา
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: สิปฺปญฺจ (สิปปัญจะ)
สิปปะ หรือ ศิลปะ หมายถึง วิชาชีพหรือความฉลาด
ในการใช้มือ ความมีศิลปะเป็นมงคล เพราะคนมี
ศิลปะจะช่วยตัวเองได้ไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานะใด
คนมีศิลปะย่อมเจริญก้าวหน้า ได้รับความสุขทั้งใน
โลกนี้และโลกหน้า และทาให้โลกเจริญทั้งด้านวัตถุ
และจิตใจ ดังพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 ที่ว่า
"ศิลปกรรมนาใจให้สร่างโศก ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลก
ให้เหือดหาย"
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: วินโย จ สุสิกฺขิโต (วินะโย จะ สุสิกขิโต)
วินัย แปลว่า ข้อแนะนา บทฝึกหัด ได้แก่ กฎเกณฑ์
และข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้ในสังคมนั้น ๆ มีวินัยเป็น
มงคล เพราะวินัยเป็นตัวกาหนดให้เกิดความสามัคคี
ความมีระเบียบสร้างความเข้มแข็งในกิจการงานต่าง
ๆ ทาให้สังคมที่ดีดารงอยู่
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: สุภาสิตา จ ยา วาจา (สุภาสิตา จะ ยา วาจา)
วาจา คือ คาพูด สุภาษิต คือพูดดี คาว่า วาจา
สุภาษิตจึงหมายถึงพูดดี วาจาสุภาษิตเป็นมงคล
เพราะคนที่พูดวาจาสุภาษิต จะบันดาลให้การงาน
ทั้งปวงสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี มีความเจริญก้าวหน้า
ทั้งทางโลกและทางธรรม ได้รับความสาเร็จในเรื่อง
ที่เจรจา
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: มาตาปิตุอุปฏฺฐานํ (มาตาปิตุอุปัฏฐานัง)
มารดา แปลว่า ผู้รักษาบุตร ผู้เลี้ยงดูบุตร บิดา
แปลว่า ผู้รักใคร่บุตร ผู้ให้สัตว์โลกยินดี การเลี้ยงดู
มารดาเป็นมงคล เพราะเป็นการสืบต่อสังคมโดย
อัตโนมัติ การบารุงเลี้ยงดูมารดาบิดา ทาให้ได้รับ
การยกย่องสรรเสริญ มีความเจริญก้าวหน้า เป็น
ตัวอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลัง
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ปุตฺตสงฺคโห (ปุตตะสังคะโห) แยกมาจาก ปุตฺต
ทารสฺส สงฺคโห (ปุตตะทารัสสะ สังคะโห)
บุตร แบ่งตามคุณธรรม มี 3 ประเภท คือ 1. อภิชาตบุตร
บุตรที่ยิ่งใหญ่กว่ามารดาบิดา 2. อนุชาตบุตร บุตรเสมอ
มารดาบิดา 3. อวชาตบุตร บุตรที่เลวกว่ามารดาบิดา บุตร
ทั้ง 3 ประเภทนี้มีอยู่ในทุกสังคม ตระกูลจะมั่นคงได้ บุตร
จะต้องเป็นอภิชาตบุตร หรืออนุชาตบุตร ส่วนอวชาตบุตร
เกิดมาเพื่อทาลายวงศ์ตระกูลโดยเฉพาะ การเลี้ยงดูบุตร
เป็นมงคล เพราะบุตรเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว ซึ่งก็คือ
ส่วนหนึ่งของประเทศชาติ ถ้าเลี้ยงดูบุตรให้ดีได้รับการศึกษา
ก็เท่ากับสร้างครอบครัวให้ดี ประเทศชาติจะเจริญมั่นคง
การไม่ดูแลบุตรปล่อยให้เป็นจิ้งจอกสังคม มารสังคม เป็น
นักเลง เป็นโจร เป็นคนไม่มีวินัย เป็นนักเลงหญิง นักเลงการ
พนัน เท่ากับว่าทาลายสังคมและประเทศชาติด้วย
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ทารสงฺคโห (ทาระสังคะโห) แยกมาจาก ปุตฺตทา
รสฺส สงฺคโห (ปุตตะทารัสสะ สังคะโห)
ทาระ แปลว่า เมีย ภรรยา แปลว่า ผู้ที่สามีต้องเลี้ยงดู คือ
เมีย พระพุทธศาสนา ได้กาหนดหลักการเลี้ยงดู หรือ
สงเคราะห์ภรรยาไว้ห้าประการ ได้แก่ การยกย่อง ไม่ดูหมิ่น
ไม่นอกใจ มอบความเป็นใหญ่ให้ มอบเครื่องแต่งตัวตลอด
ถึงพาออกงานด้วย การเลี้ยงดูภรรยาเป็นมงคล เพราะทาให้
ชีวิตครอบครัวมั่นคงยั่งยืนเป็นการร่วมกันสร้างฐานะให้
มั่นคง การสงเคราะห์ภรรยาเป็นการสร้างความมั่นคงและ
มั่นใจให้แก่ภรรยา ครอบครัวมีความสงบสุข ได้รับการยก
ย่องสรรเสริญ และเป็นตัวอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลัง
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: อนากุลา จ กมฺมนฺตา (อะนากุลา จะ กัม
มันตา)
กรรม หรือการงาน แบ่งออกเป็นสองอย่าง คือ งานทาง
โลกและงานทางธรรมงานทางโลก ได้แก่ ทานา ทาสวน
ทาไร่ ค้าขาย บริการ รับราชการ เป็นต้น ส่วนงานทาง
ธรรม ได้แก่ งานสร้างสันติสุขให้แก่โลก ลดละกิเลส
ความเห็นแก่ตัว ความริษยา เป็นต้น ให้น้อยลง งานไม่
คั่งค้างเป็นมงคล เพราะถ้าหากงานคั่งค้างแล้วย่อมไม่
มีประโยชน์ไม่เห็นผล งานไม่คั่งค้างจะทาให้ฐานะของ
ตน ครอบครัว และประเทศชาติเจริญขึ้นเพราะฉะนั้น
งานที่ทาเสร็จเห็นผลงานจึงเป็นมงคล
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ทานญฺจ (ทานัญจะ)
ทาน แปลว่า ให้ และเป็นการให้ด้วยเจตนาอยากให้
ทานมี 2 อย่างคือ อามิสทาน ให้วัตถุสิ่งของ เช่น
ปัจจัย 4 ดอกไม้ ธูป เทียน เป็นต้น และธรรมทาน ให้
สิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ เช่น ให้คาแนะนาสั่งสอน ให้อภัย เป็น
ต้น การให้ทานเป็นมงคล เพราะเป็นการฝึกใจให้เป็น
นักเสียสละ เป็นการลดความเห็นแก่ตัว ถ้าต่างคน
ต่างมุ่งหวังให้ทาน ความเห็นแก่ตัวจะลดลง การ
ทุจริตจะลดลง ทาให้มีชื่อเสียงในสังคม แม้ตายแล้ว
ย่อมไปเกิดในสวรรค์
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ธมฺมจริยา จ (ธัมมะจะริยา จะ)
ธรรม คือ คาสอนของพระพุทธเจ้าและสาวก จริยา
แปลว่าประพฤติ ธรรมจริยา จึงหมายถึง การ
ประพฤติปฏิบัติตามคาสอนของพระพุทธเจ้าและ
ของพระสาวก การประพฤติธรรมเป็นมงคล เพราะ
เป็นการยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น ผู้ประพฤติธรรมมีแต่
ความสุข (ธมฺมจารี สุข เสติ) ผู้ประพฤติธรรมได้ชื่อว่า
สอนคนอื่นด้วยการประพฤติตลอดเวลา สร้างความ
เจริญก้าวหน้าแก่ตนเองและส่วนรวมเป็นผู้สร้างทาง
สวรรค์เอาไว้
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ญาตกานญฺจ สงฺคโห (ญาตะกา นัญจะ
สังคะโห)
การสงเคราะห์ญาติคือ เมื่อยามญาติ อัตคัด เกิน
ขัดข้องควรหาช่อง สงเคราะห์ ไม่เลาะหนี เขา
ซาบซึ้ง ถึงคุณ อบอุ่นดี หากถึงที เราจน ญาติสนใจ
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: อนวชฺชานิ กมฺมานิ (อะนะวัชชานิ กัมมานิ)
ทางานที่ไม่มีโทษ คือ งานรับจ้าง ล้างชาม ก็ตาม
เถิดหากไม่เกิด โทษทัณฑ์ นั่นสดใสเมื่อได้ช่อง ต้อง
จา กระทาไปได้กาไร ทุกทาง ไม่ว่างงาน งานที่ไม่มี
โทษ ประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้
1.ไม่ผิดกฎหมาย คือทาให้ถูกต้องตามกฎหมายของ
บ้านเมือง
2.ไม่ผิดประเพณี คือแบบแผนที่ปฏิบัติกันมาแต่เดิม
ควรดาเนินตาม
3.ไม่ผิดศีล คือข้อห้ามที่บัญญัติไว้ในศีล 5
4.ไม่ผิดธรรม คือหลักธรรมทั้งหลายอาทิเช่น การ
พนัน การหลอกลวง
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: อารตี วิรตี ปาปา (อาระตี วิระตี ปาปา)
บาปคือสิ่งที่ไม่ดี เสีย ความชั่วที่ติดตัว ซึ่งไม่ควรทา ท่าน
ว่าสิ่งที่ทาแล้วถือว่าเป็นบาปได้แก่ อกุศลกรรมบถ 10 คือ
1.ฆ่าสัตว์
2.ลักทรัพย์
3.ประพฤติผิดในกาม
4.พูดเท็จ
5.พูดส่อเสียด
6.พูดคาหยาบ
7.พูดเพ้อเจ้อ
8.โลภอยากได้ของเขา
9.คิดพยาบาทปองร้ายคนอื่น
10.เห็นผิดเป็นชอบ
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: มชฺชปานา จ สญฺญโม (มัชชะปานา จะ สัญญะโม)
ว่าด้วยเรื่องของน้าเมานั้น อาจทามาจากแป้ ง ข้าวสุก การปรุง
โดยผสมเชื้อ หรืออะไรก็แล้วแต่ที่ดื่มแล้วทาให้มึนเมา เช่นเบียร์
ไวน์ ไม่ใช่แค่เหล้าเท่านั้น ล้วนมีโทษอันได้แก่
1.ทาให้เสียทรัพย์ เพราะต้องนาเงินไปซื้อหา ทั้ง ๆ ที่เงินจานวน
เดียวกันนี้สามารถนาเอาไปใช้ในสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างอื่นได้
มากกว่า
2.ทาให้เกิดการทะเลาะวิวาท ซึ่งนาไปสู่ความวุ่นวาย เจ็บตัว
หรือถึงแก่ชีวิต และคดีความ เพราะน้าเมาทาให้ขาดการยับยั้ง
ชั่งใจ
3.ทาให้เกิดโรค โรคที่เกิดเนื่องมาจากการดื่มสุราล้วนแล้วแต่
บั่นทอนสุขภาพกายจนถึงตายได้เช่น โรคตับแข็ง โรคหัวใจ โรค
ความดัน
4.ทาให้เสียชื่อเสียง เมื่อคนเมาไปทาเรื่องไม่ดีเข้าเช่นไป
ลวนลามสตรี ปล่อยตัวปล่อยใจ ก็ทาให้วงศ์ตระกูล และหน้าที่
การงานเสี่อมเสีย
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: อปฺปมาโท จ ธมฺเมสุ (อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ)
ไม่ประมาท คือมี สติพร้อม คอยหน่วงน้อม ธรรมคุณ
ไม่ผลุนผลัน ธรรมอันใด ไม่ดี หลีกหนีพลัน ธรรมดี
นั้น ยึดแน่น ไม่แคลนคลอน ธรรมในที่นี้ก็คือ หลัก
ปฏิบัติที่ทาแล้วมีผลในทางดี และเป็นจริงที่พระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงโปรดแนะทางไว้ คนที่
ประมาทในธรรมนั้นมีลักษณะที่สรุปได้ดังนี้คือ
1.ไม่ทาเหตุดี แต่จะเอาผลดี
2.ทาตัวเลว แต่จะเอาผลดี
3.ทาย่อหย่อน แต่จะเอาผลมาก
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: คารโว จ (คาระโว จะ)
ความเคารพ นับถือ คือเสน่ห์ ไม่โลเล เหมือนลิง วิ่ง
หลอกหลอน ทั้งต่อหน้า ลับหลัง พึงสังวร ย่อมงาม
งอน สวยสง่า ราคาแพง ท่านได้กล่าวว่าสิ่งที่ควร
เคารพมีอยู่ดังนี้
1.พระพุทธเจ้า
2.พระธรรม
3.พระสงฆ์
4.การศึกษา
5.ความไม่ประมาท คือการดาเนินตามหลักธรรมคา
สอนพระพุทธศาสนาอื่น ๆ ด้วยความเคารพ
6.การสนทนาปราศรัย คือการต้อนรับอาคันตุกะผู้มา
เยือนด้วยความเคารพ
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: นิวาโต จ (นิวาโต จะ)
ไม่พองลม ก้มหัว เจียมตัวด้วย มรรยาทสวย นิ่ม
นวล สิ้นส่วแข็ง เหมือนงูพิษ ถอดเขี้ยว หมดเรี่ยวแรง
ยามแถลง นอบน้อม พร้อมใจกาย ความอ่อนน้อม
ถ่อมตน คือ การไม่แสดงออกถึงความสามารถที่
ตัวเองมีอยู่ให้ผู้อื่นทราบเพื่อข่มผู้อื่น หรือเพื่อโอ้อวด
การไม่อวดดี เย่อหยิ่งจองหอง แต่แสดงตนอย่าง
สงบเสงี่ยม ท่านว่าไว้ว่าโทษของการอวดดีนั้นมีอยู่
ดังนี้คือ1.
1.ทาให้เสียคน คือไม่สามารถกลับมาอยู่ในร่องใน
รอยได้เหมือนเดิม เสียอนาคต
2.ทาให้เสียมิตร คือไม่มีใครคบหาเป็นเพื่อนด้วย ถึง
จะมีก็ไม่ใช่เพื่อนแท้
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: สนฺตุฏฺฐี จ (สันตุฏฺะฐี จะ)
ความสันโดษ พอใจ ในสิ่งของ เช่นเงินทอง ของตน แม้
ล้นหลาย เมื่อมีน้อย จ่ายน้อย ค่อยสบาย ความจนหาย
เลยลับ กลับมั่งมี คาว่าสันโดษไม่ได้หมายถึงการอยู่
ลาพังคนเดียวอย่างเดียวก็หาไม่ แต่หมายถึงการพอใจ
ในสิ่งที่ตนมีอยู่ ในของของตัว ซึ่งท่านได้ให้นิยามที่เป็น
ลักษณะของความสันโดษเป็นดังนี้คือ
1.ยถาลาภสันโดษ หมายถึงความยินดีตามมีตามเกิด
คือมีแค่ไหนก็พอใจเท่านั้น เป็นอยู่อย่างไรก็ควรจะ
พอใจ ไม่คิดน้อยเนื้อต่าใจในสิ่งที่ตัวเองเป็นอยู่
2.ยถาพลสันโดษ หมายถึงความยินดีตามกาลัง เรามี
กาลังแค่ไหนก็พอใจเท่านั้น ตั้งแต่กาลังกาย กาลัง
ทรัพย์ กาลังบารมี หรือกาลังความสามารถเป็นต้น
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: กตญฺญุตา (กะตัญญุตา)
คือ การรู้คุณ และตอบแทนท่านผู้นั้น บุญคุณที่ว่านี้
มิใช่ว่าตอบแทนกันแล้วก็หายกัน แต่หมายถึงการ
ราลึกถึงพระคุณที่เคยให้ความอุปการะแก่เราด้วย
ความเคารพยิ่ง ท่านว่าสิ่งของหรือผู้ที่ควรกตัญญู
นั้นมีดังนี้
1.กตัญญูต่อบุคคล บุคคลที่ควรกตัญญูก็คือ ใครก็
ตามที่มีบุญคุณควรระลึกถึงและตอบแทนพระคุณ
เช่น บิดา มารดา อาจารย์ เป็นต้น
2.กตัญญูต่อสัตว์ ได้แก่สัตว์ที่มีคุณต่อเราช่วย
ทางานให้เรา เราก็ควรเลี้ยงดูให้ดีเช่นช้าง ม้า วัว
ควาย หรือสุนัขที่ช่วยเฝ้ าบ้าน เป็นต้น
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: กาเลน ธมฺมสฺสวนํ (กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง)
เมื่อมีโอกาส เวลา หรือตามวันสาคัญต่าง ๆ ก็ควรต้อง
ไปฟังธรรมบ้าง เพื่อสดับตรับฟัง สิ่งที่เป็นประโยชน์ใน
หลักธรรมนั้น ๆ และนามาใช้กับชีวิตเรา เพื่อปรับปรุง
ให้ดีขึ้น ท่านว่าเวลาที่ควรไปฟังธรรมนั้นมีดังนี้คือ
1.วันธรรมสวนะ ก็คือวันพระ หรือวันที่สาคัญทาง
ศาสนา
2.เมื่อมีผู้มาแสดงธรรม ก็อย่างเช่น การฟังธรรมตาม
วิทยุ การที่มีพระมาแสดงธรรมตามสถานที่ต่าง ๆ หรือ
การอ่านจากสื่อต่าง ๆ
3.เมื่อมีโอกาสอันสมควร อาทิเช่นในวันอาทิตย์เมื่อมี
เวลาว่าง หรือในงานมงคล งานบวช งานกฐิน งานวัด
เป็นต้น
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ขนฺตี จ (ขันตี จะ)
ท่านว่าลักษณะของความอดทนนั้นสามารถจาแนกออกได้
เป็นดังต่อไปนี้คือ
1.ความอดทนต่อความลาบาก คือความลาบากที่ต้อง
ประสพตามธรรมชาติ ซึ่งอาจมาจากสภาพแวดล้อมเป็นต้น
2.ความอดทนต่อทุกขเวทนา คือทุกข์ที่เกิดจากสังขารของ
เราเอง เช่นความไม่สบายกายเป็นต้น
3.ความอดทนต่อความเจ็บใจ คือการที่คนอื่นทาให้เราต้อง
ผิดหวัง หรือพูดจาให้เจ็บช้าใจ ไม่เป็นอย่างที่หวังเป็นต้น
4.ความอดทนต่ออานาจกิเลส คือสิ่งยั่วยวนทั้งหลายถือเป็น
กิเลสทั้งทางใจและทางกายอาทิเช่น ความนึกโลภอยากได้
ของเขา หรือการพ่ายแพ้ต่ออานาจเงินเป็นต้น
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: โสวจสฺสตา (โสวะจัสสะตา)
ควรเป็นคน สอนง่าย ไม่ตายด้าน ก่อราคาญ ค่าเช้า ไม่เข้า
ไหน ไม่ซัดโทษ ของตน ให้คนใด เมื่อมีใคร สอนพร่า ให้
นามา ท่านว่าผู้ว่าง่ายนั้นมีลักษณะที่สังเกตได้ดังนี้คือ
1.ไม่พูดกลบเกลื่อนเมื่อได้รับการว่ากล่าวตักเตือน คือการ
รับฟังด้วยดี ไม่ใช่แก้ตัวแล้วปิดประตูความคิดไม่รับฟัง
2.ไม่นิ่งเฉยเมื่อได้รับการเตือน คือการนาคาตักเตือนนั้นมา
พิจารณาและแก้ไขข้อบกพร่องนั้น ๆ
3.ไม่จับผิดผู้ว่ากล่าวสั่งสอน คือการที่ผู้สอนอาจจะมีความ
ผิดพลาด เนื่องจากความประมาท เราควรให้อภัยต่อผู้สอน
เพราะการจับผิดทาให้ผู้สอนต้องอับอายขายหน้าได้ ซึ่งเป็น
สิ่งที่ไม่ดีงาม
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: สมณานญฺจ ทสฺสนํ (สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง)
คาว่าสมณะแปลตรงตัวได้ว่า ผู้สงบ (หมายถึงผู้อยู่
ในสมณเพศ) ท่านว่าคุณสมบัติของสมณะต้อง
ประกอบไปด้วย 3 อย่างคือ
1.ต้องสงบกาย คือมีความสารวมในการกระทาทุก
อย่าง รวมถึงกิริยา มรรยาท ตามหลักศีลธรรม
2.ต้องสงบวาจา คือการพูดจาให้อยู่ในกรอบของ
ความพอดี มีความสุภาพสงบเสงี่ยมในคาพูดและ
ภาษาที่ใช้ เป็นไปตามข้อปฏิบัติ ประเพณี
3.ต้องสงบใจ คือการทาใจให้สงบปราศจากกิเลส
ครอบงา ไม่ว่าจะเป็น โลภ โกรธ หลง หรือความ
พยาบาทใด ๆ ตั้งมั่นอยู่ในสมาธิภาวนา
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: กาเลน ธมฺมสากจฺฉา (กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา)
การได้สนทนากันเรื่องธรรม ทาให้ขยายขอบเขตการ
เรียนรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และได้รู้ในสิ่งใหม่ ๆ ที่เรา
อาจนึกไม่ถึง หรือเป็นการเผื่อแผ่ความรู้ที่เรามีให้แก่
ผู้อื่นได้ทราบด้วย ก่อนที่เราจะสนทนาธรรม ควร
ต้องพิจารณาและคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้คือ
1.ต้องรู้เรื่องที่จะพูดดี
2.ต้องพูดเรื่องจริง มีประโยชน์
3.ต้องเป็นคาพูดที่ไพเราะ
4.ต้องพูดด้วยความเมตตา
5.ต้องไม่พูดจาโอ้อวด หรือยกตนข่มท่าน
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ตโป จ (ตะโป จะ)
ตบะ โดยความหมายแปลว่า ทาให้ร้อน ไม่ว่าด้วย
วิธีใด การบาเพ็ญตบะหมายความถึงการทาให้
กิเลส ความรุ่มร้อนต่าง ๆ หมดไป หรือเบาบางลง
ลักษณะการบาเพ็ญตบะมีดังนี้
1.การมีใจสารวมในอินทรีย์ทั้ง 6 (อายตนะภายใน
6 อย่าง) ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ไม่ให้
หลง ติดอยู่กับสัมผัสภายนอกมากเกินไป ไม่ให้
กิเลสครอบงาใจเวลาที่รับรู้อารมณ์ผ่านอินทรีย์ทั้ง
6 (อินทรีย์สังวร)
2.การประพฤติรักษาพรหมจรรย์ เว้นจากการร่วม
ประเวณี หรือกามกิจทั้งปวง
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: พฺรหฺมจริยญฺจ (พรัหมะจะริยัญจะ)
คาว่าพรหมจรรย์หมายความถึง การบวชซึ่งละเว้น
เมถุน การครองชีวิตที่ปราศจากเมถุน การ
ประพฤติธรรมอันประเสริฐ ท่านว่าลักษณะของ
ธรรมที่ถือว่าเป็นการประพฤติพรหมจรรย์นั้น
(ไม่ใช่ว่าต้องบวชเป็นพระ) มีอยู่ดังนี้คือ
1.ให้ทาน บริจาคทานไม่ว่าจะเป็นทรัพย์ สิ่งของ
เงินทอง หรือปัญญา
2.ช่วยเหลือผู้อื่นในกิจการงานที่ชอบ ที่ถูกที่ควร
(เวยยาวัจจมัย)
3.รักษาศีล 5 คือไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักขโมย ไม่ทาผิด
ในกาม ไม่พูดปด ไม่ดื่มน้าเมา (เบญจศีล)
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: อริยสจฺจานทสฺสน (อะริยะสัจจานะทัสสะ
นะ)
อริยสัจ หมายถึงความจริงอันประเสริฐ หลักแห่งอริยสัจ
มีอยู่ 4 ประการตามที่ท่านได้สั่งสอนไว้มีดังนี้
1.ทุกข์ คือความไม่สบายกายไม่สบายใจ ความเป็นจริง
ของสัตว์โลกทุกผู้ทุกนามต้องมีทุกข์
2.สมุทัย คือเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ นอกจากเหตุแห่งทุกข์
ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
3.นิโรธ คือความดับทุกข์ ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป ความ
หลุดพ้น หรือหมายถึงภาวะของพระนิพพานนั่นเอง
4.มรรค คือข้อปฏิบัติ หรือหนทางที่นาไปสู่การดับทุกข์
การเดินทางสายกลางเพื่อไปให้ถึงการดับทุกข์
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: นิพฺพานสจฺฉิกิริยา จ (นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ)
ทาให้แจ้ง นิพพาน ผลาญสังโยชน์ ตรวจตราโทษ
ธาตุ ขันธ์ หมั่นฝึกถอน เอาอรหัต มรรคญาณ เผา
ราญรอน ดับทุกข์ร้อน นิพพาน สาราญนัก ท่านพระ
พุทธโฆษาจารย์ ผู้รจนาคัมภีร์วิสุทธิมรรค ท่านเป็น
พระอรหันต์ขั้นปฏิสัมภิทาญาณ ท่านอธิบายถึงการ
ระลึกถึงคุณพระนิพพาน โดยท่านยกบาลี 8 ข้อ ไว้
เป็นแนวเครื่องระลึก ดังจะนามา เขียนไว้เพื่อเป็น
เครื่องอุปกรณ์ในการระลึก
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: ผุฏฺฐสฺส โลกธมฺเมหิ จิตฺตํ ยสฺส น กมฺปต
(ผุฏฺฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะตะ)
คาว่าโลกธรรม มีความหมายถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นอยู่
เป็นประจาบนโลกนี้ซึ่งเราไม่ควรมีจิดหวั่นไหวต่อสิ่ง
ต่าง ๆ เหล่านี้ท่านว่าลักษณะของโลกธรรมมี 4
ประการคือ
1.การได้ลาภ เมื่อมีลาภผลก็ย่อมมีความเสื่อมเป็น
ธรรมดา
2.การได้ยศ ยศฐาบรรดาศักดิ์ล้วนเป็นสิ่งสมมุติขึ้นมา
ทั้งนั้น
3.การได้รับการสรรเสริญ ที่ใดมีคนนิยมชมชอบ ที่นั่นก็
ย่อมต้องมีคนเกลียดชังเป็นเรื่องธรรมดา
4.การได้รับความสุข ที่ใดมีสุขที่นั่นก็จะมีทุกข์ด้วย
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: อโสกํ (อะโสกัง)
คราวพลัดพราก จากญาติ ขาดชีวิต ถูกพิชิต จองจา ทาโทษ
ใหญ่ มีสติ คุมจิต เป็นนิตย์ไป ไม่เสียใจ โศกเศร้า เฝ้ า
ประคอง ท่านว่ามีเหตุอยู่ 5 ประการที่ทาให้จิตเราต้อง
โศกเศร้าคือ
1.ความโศกเศร้าที่เกิดเนื่องมาจากความรัก
2.ความโศกเศร้าที่เกิดจากความใคร่
3.ใช้ปัญญาพิจารณาอยู่เนือง ๆ ถึงความไม่เที่ยงในสิ่งของ
ทั้งหลาย และร่างกายของเรา
4.ไม่ยึดมั่นในตัวตน หรือความจีรังยั่งยืน ในคนหรือสิ่งของ
ว่าเป็นของเรา
5.ทุกอย่างในโลกล้วนเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ แม้ร่างกาย
เราก็ใช้เป็นที่อาศัยชั่วคราวเท่านั้น
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: วิรชํ (วิระชัง)
ธุลี คือ กิเลส(สภาพที่ทาให้จิตเศร้าหมอง ย่อมไม่ติด
อยู่ในจิตที่ฝึกดีแล้ว เหมือนหยาดน้าไม่ติดอยู่บนใบ
บัว) จิตทีฝึกฝนดีแล้วย่อมหลุดพ้นไม่พัวพันอยู่กับ
กิเลสทั้งปวง เป็นจิตที่ปลอดโปร่งเป็นอิสรเสรีและมี
ศักยภาพสูงสุด เป็นจิตที่นาเอาความสงบร่มเย็นที่
ยั่งยืนมาสู่โลก
มงคลชีวิต 38 ประการ
บาลี: เขมํ (เขมัง)
เกษม หมายถึงมีความสุข สบาย หรือสภาพที่มี
จิตใจที่เป็นสุข มีจิดเกษมก็คือว่ามีจิตที่เป็นสุขในที่นี้
หมายถึงการละแล้วซึ่งกิเลส ที่ท่านว่าไว้ว่าเป็น
เครื่องผูกอยู่ 4 ประการคือ
1.การละกามโยคะ คือการละความยินดีในวัตถุ
2.การละภวโยคะ คือการละความยินดีในภพ
3.การละทิฏฐิโยคะ คือการละความยินดีใน
ความเห็นผิดเป็นชอบ
4.การละอวิชชาโยคะ คือการละความยินดีใน
อวิชชาทั้งหลาย ความไม่รู้ทั้งหลาย
มงคลชีวิต 38 ประการ
คาถามทบทวนมงคลชีวิต 38 ประการ
1.บาลีของ มีจิตปราศจากกิเลส คืออะไร
ตอบ วิรช (วิระชัง)
2.การละเว้นจากความชั่ว ตามมงคลชีวิต 38 หมายถึง
ตอบ การปฏิบัติตนตามกุศลกรรมบถ 10
3.การเป็นผู้รู้ ผู้ฟังมา ตรงกับ มงคงชีวิต ข้อใด
ตอบ เป็นพหูสูตร
4. การพูดดี วาจาสุภาษิต ตรงกับข้อใด
ตอบ มีวาจาอันเป็นสุภาษิต
5. อริญสัจ 4 มี 4 ประการย่อคือ
ตอบ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
6.การละล้างซึ่งกิเลส มี 4 ประการ
ตอบ การละกามโยคะ , การละภวโยคะ , การละทิฎฐิโยคะ , การละอวิชชาโยคะ
7.สมณะ คือ อะไร
ตอบ ผู้สงบ ประกอบด้วย 3 อย่าง สงบกาย,สงบวาจา, สงบใจ
8.อกุศลกรรมบถ 10 ความหมายคือ
ตอบ การละเว้นการทาบาป
9. การทาความดี ทาให้บรรลุมรรค ผลนิพพานได้ เรียกชื่อว่าอะไร
ตอบ กัลยาณมิตร
10. ความไม่ประมาท ในมงคลชีวิต 38 คือข้อใด
ตอบ การมีสติ พร้อมคอยหน่วงน้อม ธรรมคุณ ไม่ผลุนผลัน
มงคลชีวิต 38 ประการ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 

Mais procurados (20)

เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 

Destaque

สไลด์ องค์ประกอบของศาสนา ป.3+447+dltvsocp3+55t2soc p03 f29-1page
สไลด์ องค์ประกอบของศาสนา ป.3+447+dltvsocp3+55t2soc p03 f29-1pageสไลด์ องค์ประกอบของศาสนา ป.3+447+dltvsocp3+55t2soc p03 f29-1page
สไลด์ องค์ประกอบของศาสนา ป.3+447+dltvsocp3+55t2soc p03 f29-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการniralai
 
Union Park Master Plan
Union Park Master Plan Union Park Master Plan
Union Park Master Plan Colin Kelley
 
กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรมกฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรมppompuy pantham
 
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS Maria Boss
 
Is หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือIs หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือppompuy pantham
 
Abdul Rehman resume1
Abdul Rehman resume1Abdul Rehman resume1
Abdul Rehman resume1Abdul Rehman
 
Trabajo de reidencias renasci
Trabajo de reidencias renasciTrabajo de reidencias renasci
Trabajo de reidencias renasciMaria Boss
 
AssetWorks RFID Quick Guide
AssetWorks RFID Quick GuideAssetWorks RFID Quick Guide
AssetWorks RFID Quick GuideGarrett Conti
 
PortfólioarqD.com
PortfólioarqD.comPortfólioarqD.com
PortfólioarqD.comarqDcom
 
Construccion columnas
Construccion columnasConstruccion columnas
Construccion columnasMaria Boss
 
Pere Marquette Park 7-11-2016
Pere Marquette Park 7-11-2016Pere Marquette Park 7-11-2016
Pere Marquette Park 7-11-2016cityofmuskegon
 
Lights on Campus Proposal
Lights on Campus ProposalLights on Campus Proposal
Lights on Campus ProposalKeshia Daniel
 
10 maneras de_mantener_el_humor
10 maneras de_mantener_el_humor10 maneras de_mantener_el_humor
10 maneras de_mantener_el_humorRodrigo Blanco
 
Presentacion contaminacion
Presentacion contaminacionPresentacion contaminacion
Presentacion contaminacionFatiima1115
 

Destaque (20)

สไลด์ องค์ประกอบของศาสนา ป.3+447+dltvsocp3+55t2soc p03 f29-1page
สไลด์ องค์ประกอบของศาสนา ป.3+447+dltvsocp3+55t2soc p03 f29-1pageสไลด์ องค์ประกอบของศาสนา ป.3+447+dltvsocp3+55t2soc p03 f29-1page
สไลด์ องค์ประกอบของศาสนา ป.3+447+dltvsocp3+55t2soc p03 f29-1page
 
มงคลชีวิต ๓๘ ประการ
มงคลชีวิต ๓๘ ประการมงคลชีวิต ๓๘ ประการ
มงคลชีวิต ๓๘ ประการ
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
Union Park Master Plan
Union Park Master Plan Union Park Master Plan
Union Park Master Plan
 
กฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรมกฎแห่งกรรม
กฎแห่งกรรม
 
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
VOCABULARIO INVESTIGACIÓN DE TÉRMINOS
 
Is หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือIs หรือ isis คือ
Is หรือ isis คือ
 
Abdul Rehman resume1
Abdul Rehman resume1Abdul Rehman resume1
Abdul Rehman resume1
 
Trabajo de reidencias renasci
Trabajo de reidencias renasciTrabajo de reidencias renasci
Trabajo de reidencias renasci
 
AssetWorks RFID Quick Guide
AssetWorks RFID Quick GuideAssetWorks RFID Quick Guide
AssetWorks RFID Quick Guide
 
PortfólioarqD.com
PortfólioarqD.comPortfólioarqD.com
PortfólioarqD.com
 
Radwa CV
Radwa CVRadwa CV
Radwa CV
 
VOCABULARIO
VOCABULARIOVOCABULARIO
VOCABULARIO
 
Construccion columnas
Construccion columnasConstruccion columnas
Construccion columnas
 
CV - Arianna Magpantay
CV - Arianna MagpantayCV - Arianna Magpantay
CV - Arianna Magpantay
 
Pere Marquette Park 7-11-2016
Pere Marquette Park 7-11-2016Pere Marquette Park 7-11-2016
Pere Marquette Park 7-11-2016
 
Lights on Campus Proposal
Lights on Campus ProposalLights on Campus Proposal
Lights on Campus Proposal
 
10 maneras de_mantener_el_humor
10 maneras de_mantener_el_humor10 maneras de_mantener_el_humor
10 maneras de_mantener_el_humor
 
Presentacion contaminacion
Presentacion contaminacionPresentacion contaminacion
Presentacion contaminacion
 
resume 2
resume 2resume 2
resume 2
 

Semelhante a มงคล38

027โอวาท๓
027โอวาท๓027โอวาท๓
027โอวาท๓niralai
 
085จุดเด่นของพระพุทธศาสนา
085จุดเด่นของพระพุทธศาสนา085จุดเด่นของพระพุทธศาสนา
085จุดเด่นของพระพุทธศาสนาniralai
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขPornthip Tanamai
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )Pornthip Tanamai
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาPunya Benja
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)pajaree_musikapong
 

Semelhante a มงคล38 (20)

มงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการมงคลชีวิต 38 ประการ
มงคลชีวิต 38 ประการ
 
027โอวาท๓
027โอวาท๓027โอวาท๓
027โอวาท๓
 
085จุดเด่นของพระพุทธศาสนา
085จุดเด่นของพระพุทธศาสนา085จุดเด่นของพระพุทธศาสนา
085จุดเด่นของพระพุทธศาสนา
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
8.4
8.48.4
8.4
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
สรุปนักธรรมตรี_V2565.pdf
สรุปนักธรรมตรี_V2565.pdfสรุปนักธรรมตรี_V2565.pdf
สรุปนักธรรมตรี_V2565.pdf
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)
 

Mais de ppompuy pantham

เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีppompuy pantham
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสดppompuy pantham
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2ppompuy pantham
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1ppompuy pantham
 
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพการสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพppompuy pantham
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ppompuy pantham
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ppompuy pantham
 

Mais de ppompuy pantham (13)

เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปีเป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
เป้าหมายชีวิตของนักศึกษาในอีก 4 ปี
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพการสร้างสันติสุขสันติภาพ
การสร้างสันติสุขสันติภาพ
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ 4
อริยสัจ 4อริยสัจ 4
อริยสัจ 4
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
Bigbang
BigbangBigbang
Bigbang
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 

มงคล38

  • 1. นางสาวปาริชาต พันธ์ธรรม นักศึกษาภาค กศ.พบ. 29 รหัสนักศึกษา 5530123315049 อ้างอิง : http://www.kalyanamitra.org/m ongkhol/index_mongkhol.html
  • 2. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: อเสวนา จ พาลานํ (อะเสวะนา จะ พาลานัง) พาล แปลว่า โง่เขลา อับปัญญา รู้เท่าไม่ถึงการณ์ คน พาลคือคนโง่เขลา คนเกเรแม้คนมีปริญญาสูง ๆ แต่ ประพฤติทุจริตทางกาย วาจา ใจ เรียกว่า คนพาล การ ไม่คบคนพาลจึงเป็นมงคล เพราะการคบคนพาลพา ไปหาผิดและพาเราไปทาสิ่งไม่ดีไม่ร้ายกับตัวเรา การ ไม่คบคนพาลจึงทาให้พ้นจากโอกาสที่จะหลงเข้าสู่ ความผิด นามาซึ่งความสรรเสริญของคนทั่วไป และ ประสบความสุขความก้าวหน้าในชีวิต เป็นการตัด กาลังไม่ให้เชื้อคนพาลระบาดไป เพราะขาดคน สนับสนุน
  • 3. บาลี: ปณฑิตานญฺจ เสวนา (ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา) บัณฑิต แปลว่า ผู้มีปัญญา นักปราชญ์ หมายถึง ผู้รู้ทัน และมีเหตุผล ในการกระทา ในคาที่พูด และ เรื่องที่คิด คบบัณฑิตเป็นมงคล เพราะได้ความรู้ ความปลอดภัย ความสรรเสริญ ความสุข เกียรติยศ ชื่อเสียง และชื่อว่าได้ทาความดีด้วย ทาให้บรรลุ มรรคผลนิพพานได้ง่าย ได้ชื่อว่ามี "กัลยาณมิตร" มงคลชีวิต 38 ประการ
  • 4. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ปูชา จ ปูชนียานํ (ปูชา จะ ปูชะนียานัง) บูชา คือ สักการะ เคารพ นับถือ ยาเกรง กราบไหว้ ทาด้วยความเอื้อเฟื้อ การบูชาเป็นมงคล เพราะทา ให้เราลดทิฏฐิมานะลงได้ ป้ องกันความเห็นผิด และ ทาให้เราได้แบบอย่างที่ดีจากคนที่เราเคารพ เป็นการ ขจัดคนพาลให้พินาศไปโดยทางอ้อมและเป็นการ เชิดชูบัณฑิตให้สูงเด่นยิ่ง ขึ้น และได้ชื่อว่าเป็นผู้มี "กตัญญูกตเวที" อีกด้วย
  • 5. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ปฏิรูปเทสวาโส จ (ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ) ปฏิรูป แปลว่า เหมาะสมหรือสมควร เทสะ แปลว่า สถานที่หรือท้องถิ่น ปฏิรูปเทสวาสะ คือการอยู่ใน ท้องถิ่นอันสมควร คืออยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีมีความ พร้อม การอยู่ในประเทศอันสมควรเป็นมงคล เพราะ การอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดีย่อมทาให้เป็นคนดี คนมี ความรู้ถ้าอยู่ในถิ่นที่ไม่ต้องใช้วิชาความรู้ ความรู้นั้นก็ หมดค่าไป และทาให้คนเรากล้าต่อการเผชิญกับ ปัญหา เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีได้ ได้รับความสุขกาย สุขใจ มีความเจริญก้าวหน้า ทั้งทางโลกและทางธรรม
  • 6. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา (ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา) บุญ แปลว่า ความดี ความสุข สิ่งที่ชาระจิตใจ สิ่งที่ ฟอกจิต การทาบุญไว้ก่อนเป็นมงคล เพราะการ ทาบุญเป็นการสร้างความดี ซึ่งมีระยะเวลา ยาวนานต้องอดทน เหมือนปลูกต้นไม้ยืนต้น จะต้องคอยผลไม้นั้นเป็นปี ๆ การทาบุญในอดีต ส่งผลในปัจจุบัน การทาบุญในปัจจุบันส่งผลใน ปัจจุบันและอนาคต ผู้ทาความดีจึงต้องคิดว่าเป็น การสร้างฐานแห่งอนาคตไว้ฉะนั้น
  • 7. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: อตฺตสมฺมาปณิธิ จ (อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ) อัตตะ หรือ ตน หมายถึงกายกับใจ การตั้งตนไว้ ชอบคือการวางตัวในการดารงชีพ หรือใน ชีวิตประจาวันได้อย่างถูกต้องและมั่นคง จึงจะได้ ชื่อว่าเป็นคนมีคุณภาพชีวิต การตั้งตนไว้ชอบเป็น มงคล เพราะเป็นการสร้างความมั่นคง ความ ปลอดภัยแก่ตนเอง เป็นตัวอย่างที่ดีแก่คนอื่น มี ความก้าวหน้า เป็นผู้ป้ องกันภัยในอบายภูมิ และ ได้รับสมบัติ 3 ประการคือ มนุษยสมบัติ ทิพย สมบัติ และนิพพานสมบัติ
  • 8. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: พาหุสจฺจญฺจ (พาหุสัจจัญจะ) พหู แปลว่ามาก สูต แปลว่าความเป็นผู้ได้สดับ ตรับฟัง ดังนั้นพหูสูต จึงหมายถึงความเป็นผู้รู้ ได้ สดับตรับฟังมาก หรือความเป็นผู้คงแก่เรียน พหูสูต เป็นมงคล เพราะการฟังมาก (ในที่นี้รวมถึงผู้ที่รู้จาก การอ่านด้วย) ย่อมเพิ่มวุฒิปัญญา เชาวน์ และไหว พริบ นาความรู้ที่ได้ยินได้ฟัง ได้อ่าน ไปปฏิบัติเพื่อ ช่วยเหลือตนเองหรือคนอื่นได้มาก และเป็นช่องทาง นาความเจริญด้วย ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ความ เจริญก้าวหน้ามาสู่ตน ไม่มีใครแย่งชิงได้ เป็น สหชาติปัญญา
  • 9. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: สิปฺปญฺจ (สิปปัญจะ) สิปปะ หรือ ศิลปะ หมายถึง วิชาชีพหรือความฉลาด ในการใช้มือ ความมีศิลปะเป็นมงคล เพราะคนมี ศิลปะจะช่วยตัวเองได้ไม่ว่าจะตกอยู่ในสถานะใด คนมีศิลปะย่อมเจริญก้าวหน้า ได้รับความสุขทั้งใน โลกนี้และโลกหน้า และทาให้โลกเจริญทั้งด้านวัตถุ และจิตใจ ดังพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 6 ที่ว่า "ศิลปกรรมนาใจให้สร่างโศก ช่วยบรรเทาทุกข์ในโลก ให้เหือดหาย"
  • 10. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: วินโย จ สุสิกฺขิโต (วินะโย จะ สุสิกขิโต) วินัย แปลว่า ข้อแนะนา บทฝึกหัด ได้แก่ กฎเกณฑ์ และข้อบังคับต่าง ๆ ที่ใช้ในสังคมนั้น ๆ มีวินัยเป็น มงคล เพราะวินัยเป็นตัวกาหนดให้เกิดความสามัคคี ความมีระเบียบสร้างความเข้มแข็งในกิจการงานต่าง ๆ ทาให้สังคมที่ดีดารงอยู่
  • 11. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: สุภาสิตา จ ยา วาจา (สุภาสิตา จะ ยา วาจา) วาจา คือ คาพูด สุภาษิต คือพูดดี คาว่า วาจา สุภาษิตจึงหมายถึงพูดดี วาจาสุภาษิตเป็นมงคล เพราะคนที่พูดวาจาสุภาษิต จะบันดาลให้การงาน ทั้งปวงสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี มีความเจริญก้าวหน้า ทั้งทางโลกและทางธรรม ได้รับความสาเร็จในเรื่อง ที่เจรจา
  • 12. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: มาตาปิตุอุปฏฺฐานํ (มาตาปิตุอุปัฏฐานัง) มารดา แปลว่า ผู้รักษาบุตร ผู้เลี้ยงดูบุตร บิดา แปลว่า ผู้รักใคร่บุตร ผู้ให้สัตว์โลกยินดี การเลี้ยงดู มารดาเป็นมงคล เพราะเป็นการสืบต่อสังคมโดย อัตโนมัติ การบารุงเลี้ยงดูมารดาบิดา ทาให้ได้รับ การยกย่องสรรเสริญ มีความเจริญก้าวหน้า เป็น ตัวอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลัง
  • 13. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ปุตฺตสงฺคโห (ปุตตะสังคะโห) แยกมาจาก ปุตฺต ทารสฺส สงฺคโห (ปุตตะทารัสสะ สังคะโห) บุตร แบ่งตามคุณธรรม มี 3 ประเภท คือ 1. อภิชาตบุตร บุตรที่ยิ่งใหญ่กว่ามารดาบิดา 2. อนุชาตบุตร บุตรเสมอ มารดาบิดา 3. อวชาตบุตร บุตรที่เลวกว่ามารดาบิดา บุตร ทั้ง 3 ประเภทนี้มีอยู่ในทุกสังคม ตระกูลจะมั่นคงได้ บุตร จะต้องเป็นอภิชาตบุตร หรืออนุชาตบุตร ส่วนอวชาตบุตร เกิดมาเพื่อทาลายวงศ์ตระกูลโดยเฉพาะ การเลี้ยงดูบุตร เป็นมงคล เพราะบุตรเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว ซึ่งก็คือ ส่วนหนึ่งของประเทศชาติ ถ้าเลี้ยงดูบุตรให้ดีได้รับการศึกษา ก็เท่ากับสร้างครอบครัวให้ดี ประเทศชาติจะเจริญมั่นคง การไม่ดูแลบุตรปล่อยให้เป็นจิ้งจอกสังคม มารสังคม เป็น นักเลง เป็นโจร เป็นคนไม่มีวินัย เป็นนักเลงหญิง นักเลงการ พนัน เท่ากับว่าทาลายสังคมและประเทศชาติด้วย
  • 14. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ทารสงฺคโห (ทาระสังคะโห) แยกมาจาก ปุตฺตทา รสฺส สงฺคโห (ปุตตะทารัสสะ สังคะโห) ทาระ แปลว่า เมีย ภรรยา แปลว่า ผู้ที่สามีต้องเลี้ยงดู คือ เมีย พระพุทธศาสนา ได้กาหนดหลักการเลี้ยงดู หรือ สงเคราะห์ภรรยาไว้ห้าประการ ได้แก่ การยกย่อง ไม่ดูหมิ่น ไม่นอกใจ มอบความเป็นใหญ่ให้ มอบเครื่องแต่งตัวตลอด ถึงพาออกงานด้วย การเลี้ยงดูภรรยาเป็นมงคล เพราะทาให้ ชีวิตครอบครัวมั่นคงยั่งยืนเป็นการร่วมกันสร้างฐานะให้ มั่นคง การสงเคราะห์ภรรยาเป็นการสร้างความมั่นคงและ มั่นใจให้แก่ภรรยา ครอบครัวมีความสงบสุข ได้รับการยก ย่องสรรเสริญ และเป็นตัวอย่างที่ดีแก่อนุชนรุ่นหลัง
  • 15. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: อนากุลา จ กมฺมนฺตา (อะนากุลา จะ กัม มันตา) กรรม หรือการงาน แบ่งออกเป็นสองอย่าง คือ งานทาง โลกและงานทางธรรมงานทางโลก ได้แก่ ทานา ทาสวน ทาไร่ ค้าขาย บริการ รับราชการ เป็นต้น ส่วนงานทาง ธรรม ได้แก่ งานสร้างสันติสุขให้แก่โลก ลดละกิเลส ความเห็นแก่ตัว ความริษยา เป็นต้น ให้น้อยลง งานไม่ คั่งค้างเป็นมงคล เพราะถ้าหากงานคั่งค้างแล้วย่อมไม่ มีประโยชน์ไม่เห็นผล งานไม่คั่งค้างจะทาให้ฐานะของ ตน ครอบครัว และประเทศชาติเจริญขึ้นเพราะฉะนั้น งานที่ทาเสร็จเห็นผลงานจึงเป็นมงคล
  • 16. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ทานญฺจ (ทานัญจะ) ทาน แปลว่า ให้ และเป็นการให้ด้วยเจตนาอยากให้ ทานมี 2 อย่างคือ อามิสทาน ให้วัตถุสิ่งของ เช่น ปัจจัย 4 ดอกไม้ ธูป เทียน เป็นต้น และธรรมทาน ให้ สิ่งที่ไม่ใช่วัตถุ เช่น ให้คาแนะนาสั่งสอน ให้อภัย เป็น ต้น การให้ทานเป็นมงคล เพราะเป็นการฝึกใจให้เป็น นักเสียสละ เป็นการลดความเห็นแก่ตัว ถ้าต่างคน ต่างมุ่งหวังให้ทาน ความเห็นแก่ตัวจะลดลง การ ทุจริตจะลดลง ทาให้มีชื่อเสียงในสังคม แม้ตายแล้ว ย่อมไปเกิดในสวรรค์
  • 17. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ธมฺมจริยา จ (ธัมมะจะริยา จะ) ธรรม คือ คาสอนของพระพุทธเจ้าและสาวก จริยา แปลว่าประพฤติ ธรรมจริยา จึงหมายถึง การ ประพฤติปฏิบัติตามคาสอนของพระพุทธเจ้าและ ของพระสาวก การประพฤติธรรมเป็นมงคล เพราะ เป็นการยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น ผู้ประพฤติธรรมมีแต่ ความสุข (ธมฺมจารี สุข เสติ) ผู้ประพฤติธรรมได้ชื่อว่า สอนคนอื่นด้วยการประพฤติตลอดเวลา สร้างความ เจริญก้าวหน้าแก่ตนเองและส่วนรวมเป็นผู้สร้างทาง สวรรค์เอาไว้
  • 18. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ญาตกานญฺจ สงฺคโห (ญาตะกา นัญจะ สังคะโห) การสงเคราะห์ญาติคือ เมื่อยามญาติ อัตคัด เกิน ขัดข้องควรหาช่อง สงเคราะห์ ไม่เลาะหนี เขา ซาบซึ้ง ถึงคุณ อบอุ่นดี หากถึงที เราจน ญาติสนใจ
  • 19. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: อนวชฺชานิ กมฺมานิ (อะนะวัชชานิ กัมมานิ) ทางานที่ไม่มีโทษ คือ งานรับจ้าง ล้างชาม ก็ตาม เถิดหากไม่เกิด โทษทัณฑ์ นั่นสดใสเมื่อได้ช่อง ต้อง จา กระทาไปได้กาไร ทุกทาง ไม่ว่างงาน งานที่ไม่มี โทษ ประกอบด้วยลักษณะดังต่อไปนี้ 1.ไม่ผิดกฎหมาย คือทาให้ถูกต้องตามกฎหมายของ บ้านเมือง 2.ไม่ผิดประเพณี คือแบบแผนที่ปฏิบัติกันมาแต่เดิม ควรดาเนินตาม 3.ไม่ผิดศีล คือข้อห้ามที่บัญญัติไว้ในศีล 5 4.ไม่ผิดธรรม คือหลักธรรมทั้งหลายอาทิเช่น การ พนัน การหลอกลวง
  • 20. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: อารตี วิรตี ปาปา (อาระตี วิระตี ปาปา) บาปคือสิ่งที่ไม่ดี เสีย ความชั่วที่ติดตัว ซึ่งไม่ควรทา ท่าน ว่าสิ่งที่ทาแล้วถือว่าเป็นบาปได้แก่ อกุศลกรรมบถ 10 คือ 1.ฆ่าสัตว์ 2.ลักทรัพย์ 3.ประพฤติผิดในกาม 4.พูดเท็จ 5.พูดส่อเสียด 6.พูดคาหยาบ 7.พูดเพ้อเจ้อ 8.โลภอยากได้ของเขา 9.คิดพยาบาทปองร้ายคนอื่น 10.เห็นผิดเป็นชอบ
  • 21. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: มชฺชปานา จ สญฺญโม (มัชชะปานา จะ สัญญะโม) ว่าด้วยเรื่องของน้าเมานั้น อาจทามาจากแป้ ง ข้าวสุก การปรุง โดยผสมเชื้อ หรืออะไรก็แล้วแต่ที่ดื่มแล้วทาให้มึนเมา เช่นเบียร์ ไวน์ ไม่ใช่แค่เหล้าเท่านั้น ล้วนมีโทษอันได้แก่ 1.ทาให้เสียทรัพย์ เพราะต้องนาเงินไปซื้อหา ทั้ง ๆ ที่เงินจานวน เดียวกันนี้สามารถนาเอาไปใช้ในสิ่งที่เป็นประโยชน์อย่างอื่นได้ มากกว่า 2.ทาให้เกิดการทะเลาะวิวาท ซึ่งนาไปสู่ความวุ่นวาย เจ็บตัว หรือถึงแก่ชีวิต และคดีความ เพราะน้าเมาทาให้ขาดการยับยั้ง ชั่งใจ 3.ทาให้เกิดโรค โรคที่เกิดเนื่องมาจากการดื่มสุราล้วนแล้วแต่ บั่นทอนสุขภาพกายจนถึงตายได้เช่น โรคตับแข็ง โรคหัวใจ โรค ความดัน 4.ทาให้เสียชื่อเสียง เมื่อคนเมาไปทาเรื่องไม่ดีเข้าเช่นไป ลวนลามสตรี ปล่อยตัวปล่อยใจ ก็ทาให้วงศ์ตระกูล และหน้าที่ การงานเสี่อมเสีย
  • 22. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: อปฺปมาโท จ ธมฺเมสุ (อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ) ไม่ประมาท คือมี สติพร้อม คอยหน่วงน้อม ธรรมคุณ ไม่ผลุนผลัน ธรรมอันใด ไม่ดี หลีกหนีพลัน ธรรมดี นั้น ยึดแน่น ไม่แคลนคลอน ธรรมในที่นี้ก็คือ หลัก ปฏิบัติที่ทาแล้วมีผลในทางดี และเป็นจริงที่พระ สัมมาสัมพุทธเจ้าได้ทรงโปรดแนะทางไว้ คนที่ ประมาทในธรรมนั้นมีลักษณะที่สรุปได้ดังนี้คือ 1.ไม่ทาเหตุดี แต่จะเอาผลดี 2.ทาตัวเลว แต่จะเอาผลดี 3.ทาย่อหย่อน แต่จะเอาผลมาก
  • 23. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: คารโว จ (คาระโว จะ) ความเคารพ นับถือ คือเสน่ห์ ไม่โลเล เหมือนลิง วิ่ง หลอกหลอน ทั้งต่อหน้า ลับหลัง พึงสังวร ย่อมงาม งอน สวยสง่า ราคาแพง ท่านได้กล่าวว่าสิ่งที่ควร เคารพมีอยู่ดังนี้ 1.พระพุทธเจ้า 2.พระธรรม 3.พระสงฆ์ 4.การศึกษา 5.ความไม่ประมาท คือการดาเนินตามหลักธรรมคา สอนพระพุทธศาสนาอื่น ๆ ด้วยความเคารพ 6.การสนทนาปราศรัย คือการต้อนรับอาคันตุกะผู้มา เยือนด้วยความเคารพ
  • 24. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: นิวาโต จ (นิวาโต จะ) ไม่พองลม ก้มหัว เจียมตัวด้วย มรรยาทสวย นิ่ม นวล สิ้นส่วแข็ง เหมือนงูพิษ ถอดเขี้ยว หมดเรี่ยวแรง ยามแถลง นอบน้อม พร้อมใจกาย ความอ่อนน้อม ถ่อมตน คือ การไม่แสดงออกถึงความสามารถที่ ตัวเองมีอยู่ให้ผู้อื่นทราบเพื่อข่มผู้อื่น หรือเพื่อโอ้อวด การไม่อวดดี เย่อหยิ่งจองหอง แต่แสดงตนอย่าง สงบเสงี่ยม ท่านว่าไว้ว่าโทษของการอวดดีนั้นมีอยู่ ดังนี้คือ1. 1.ทาให้เสียคน คือไม่สามารถกลับมาอยู่ในร่องใน รอยได้เหมือนเดิม เสียอนาคต 2.ทาให้เสียมิตร คือไม่มีใครคบหาเป็นเพื่อนด้วย ถึง จะมีก็ไม่ใช่เพื่อนแท้
  • 25. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: สนฺตุฏฺฐี จ (สันตุฏฺะฐี จะ) ความสันโดษ พอใจ ในสิ่งของ เช่นเงินทอง ของตน แม้ ล้นหลาย เมื่อมีน้อย จ่ายน้อย ค่อยสบาย ความจนหาย เลยลับ กลับมั่งมี คาว่าสันโดษไม่ได้หมายถึงการอยู่ ลาพังคนเดียวอย่างเดียวก็หาไม่ แต่หมายถึงการพอใจ ในสิ่งที่ตนมีอยู่ ในของของตัว ซึ่งท่านได้ให้นิยามที่เป็น ลักษณะของความสันโดษเป็นดังนี้คือ 1.ยถาลาภสันโดษ หมายถึงความยินดีตามมีตามเกิด คือมีแค่ไหนก็พอใจเท่านั้น เป็นอยู่อย่างไรก็ควรจะ พอใจ ไม่คิดน้อยเนื้อต่าใจในสิ่งที่ตัวเองเป็นอยู่ 2.ยถาพลสันโดษ หมายถึงความยินดีตามกาลัง เรามี กาลังแค่ไหนก็พอใจเท่านั้น ตั้งแต่กาลังกาย กาลัง ทรัพย์ กาลังบารมี หรือกาลังความสามารถเป็นต้น
  • 26. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: กตญฺญุตา (กะตัญญุตา) คือ การรู้คุณ และตอบแทนท่านผู้นั้น บุญคุณที่ว่านี้ มิใช่ว่าตอบแทนกันแล้วก็หายกัน แต่หมายถึงการ ราลึกถึงพระคุณที่เคยให้ความอุปการะแก่เราด้วย ความเคารพยิ่ง ท่านว่าสิ่งของหรือผู้ที่ควรกตัญญู นั้นมีดังนี้ 1.กตัญญูต่อบุคคล บุคคลที่ควรกตัญญูก็คือ ใครก็ ตามที่มีบุญคุณควรระลึกถึงและตอบแทนพระคุณ เช่น บิดา มารดา อาจารย์ เป็นต้น 2.กตัญญูต่อสัตว์ ได้แก่สัตว์ที่มีคุณต่อเราช่วย ทางานให้เรา เราก็ควรเลี้ยงดูให้ดีเช่นช้าง ม้า วัว ควาย หรือสุนัขที่ช่วยเฝ้ าบ้าน เป็นต้น
  • 27. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: กาเลน ธมฺมสฺสวนํ (กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง) เมื่อมีโอกาส เวลา หรือตามวันสาคัญต่าง ๆ ก็ควรต้อง ไปฟังธรรมบ้าง เพื่อสดับตรับฟัง สิ่งที่เป็นประโยชน์ใน หลักธรรมนั้น ๆ และนามาใช้กับชีวิตเรา เพื่อปรับปรุง ให้ดีขึ้น ท่านว่าเวลาที่ควรไปฟังธรรมนั้นมีดังนี้คือ 1.วันธรรมสวนะ ก็คือวันพระ หรือวันที่สาคัญทาง ศาสนา 2.เมื่อมีผู้มาแสดงธรรม ก็อย่างเช่น การฟังธรรมตาม วิทยุ การที่มีพระมาแสดงธรรมตามสถานที่ต่าง ๆ หรือ การอ่านจากสื่อต่าง ๆ 3.เมื่อมีโอกาสอันสมควร อาทิเช่นในวันอาทิตย์เมื่อมี เวลาว่าง หรือในงานมงคล งานบวช งานกฐิน งานวัด เป็นต้น
  • 28. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ขนฺตี จ (ขันตี จะ) ท่านว่าลักษณะของความอดทนนั้นสามารถจาแนกออกได้ เป็นดังต่อไปนี้คือ 1.ความอดทนต่อความลาบาก คือความลาบากที่ต้อง ประสพตามธรรมชาติ ซึ่งอาจมาจากสภาพแวดล้อมเป็นต้น 2.ความอดทนต่อทุกขเวทนา คือทุกข์ที่เกิดจากสังขารของ เราเอง เช่นความไม่สบายกายเป็นต้น 3.ความอดทนต่อความเจ็บใจ คือการที่คนอื่นทาให้เราต้อง ผิดหวัง หรือพูดจาให้เจ็บช้าใจ ไม่เป็นอย่างที่หวังเป็นต้น 4.ความอดทนต่ออานาจกิเลส คือสิ่งยั่วยวนทั้งหลายถือเป็น กิเลสทั้งทางใจและทางกายอาทิเช่น ความนึกโลภอยากได้ ของเขา หรือการพ่ายแพ้ต่ออานาจเงินเป็นต้น
  • 29. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: โสวจสฺสตา (โสวะจัสสะตา) ควรเป็นคน สอนง่าย ไม่ตายด้าน ก่อราคาญ ค่าเช้า ไม่เข้า ไหน ไม่ซัดโทษ ของตน ให้คนใด เมื่อมีใคร สอนพร่า ให้ นามา ท่านว่าผู้ว่าง่ายนั้นมีลักษณะที่สังเกตได้ดังนี้คือ 1.ไม่พูดกลบเกลื่อนเมื่อได้รับการว่ากล่าวตักเตือน คือการ รับฟังด้วยดี ไม่ใช่แก้ตัวแล้วปิดประตูความคิดไม่รับฟัง 2.ไม่นิ่งเฉยเมื่อได้รับการเตือน คือการนาคาตักเตือนนั้นมา พิจารณาและแก้ไขข้อบกพร่องนั้น ๆ 3.ไม่จับผิดผู้ว่ากล่าวสั่งสอน คือการที่ผู้สอนอาจจะมีความ ผิดพลาด เนื่องจากความประมาท เราควรให้อภัยต่อผู้สอน เพราะการจับผิดทาให้ผู้สอนต้องอับอายขายหน้าได้ ซึ่งเป็น สิ่งที่ไม่ดีงาม
  • 30. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: สมณานญฺจ ทสฺสนํ (สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง) คาว่าสมณะแปลตรงตัวได้ว่า ผู้สงบ (หมายถึงผู้อยู่ ในสมณเพศ) ท่านว่าคุณสมบัติของสมณะต้อง ประกอบไปด้วย 3 อย่างคือ 1.ต้องสงบกาย คือมีความสารวมในการกระทาทุก อย่าง รวมถึงกิริยา มรรยาท ตามหลักศีลธรรม 2.ต้องสงบวาจา คือการพูดจาให้อยู่ในกรอบของ ความพอดี มีความสุภาพสงบเสงี่ยมในคาพูดและ ภาษาที่ใช้ เป็นไปตามข้อปฏิบัติ ประเพณี 3.ต้องสงบใจ คือการทาใจให้สงบปราศจากกิเลส ครอบงา ไม่ว่าจะเป็น โลภ โกรธ หลง หรือความ พยาบาทใด ๆ ตั้งมั่นอยู่ในสมาธิภาวนา
  • 31. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: กาเลน ธมฺมสากจฺฉา (กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา) การได้สนทนากันเรื่องธรรม ทาให้ขยายขอบเขตการ เรียนรู้ แลกเปลี่ยนความรู้ และได้รู้ในสิ่งใหม่ ๆ ที่เรา อาจนึกไม่ถึง หรือเป็นการเผื่อแผ่ความรู้ที่เรามีให้แก่ ผู้อื่นได้ทราบด้วย ก่อนที่เราจะสนทนาธรรม ควร ต้องพิจารณาและคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้คือ 1.ต้องรู้เรื่องที่จะพูดดี 2.ต้องพูดเรื่องจริง มีประโยชน์ 3.ต้องเป็นคาพูดที่ไพเราะ 4.ต้องพูดด้วยความเมตตา 5.ต้องไม่พูดจาโอ้อวด หรือยกตนข่มท่าน
  • 32. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ตโป จ (ตะโป จะ) ตบะ โดยความหมายแปลว่า ทาให้ร้อน ไม่ว่าด้วย วิธีใด การบาเพ็ญตบะหมายความถึงการทาให้ กิเลส ความรุ่มร้อนต่าง ๆ หมดไป หรือเบาบางลง ลักษณะการบาเพ็ญตบะมีดังนี้ 1.การมีใจสารวมในอินทรีย์ทั้ง 6 (อายตนะภายใน 6 อย่าง) ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ไม่ให้ หลง ติดอยู่กับสัมผัสภายนอกมากเกินไป ไม่ให้ กิเลสครอบงาใจเวลาที่รับรู้อารมณ์ผ่านอินทรีย์ทั้ง 6 (อินทรีย์สังวร) 2.การประพฤติรักษาพรหมจรรย์ เว้นจากการร่วม ประเวณี หรือกามกิจทั้งปวง
  • 33. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: พฺรหฺมจริยญฺจ (พรัหมะจะริยัญจะ) คาว่าพรหมจรรย์หมายความถึง การบวชซึ่งละเว้น เมถุน การครองชีวิตที่ปราศจากเมถุน การ ประพฤติธรรมอันประเสริฐ ท่านว่าลักษณะของ ธรรมที่ถือว่าเป็นการประพฤติพรหมจรรย์นั้น (ไม่ใช่ว่าต้องบวชเป็นพระ) มีอยู่ดังนี้คือ 1.ให้ทาน บริจาคทานไม่ว่าจะเป็นทรัพย์ สิ่งของ เงินทอง หรือปัญญา 2.ช่วยเหลือผู้อื่นในกิจการงานที่ชอบ ที่ถูกที่ควร (เวยยาวัจจมัย) 3.รักษาศีล 5 คือไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักขโมย ไม่ทาผิด ในกาม ไม่พูดปด ไม่ดื่มน้าเมา (เบญจศีล)
  • 34. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: อริยสจฺจานทสฺสน (อะริยะสัจจานะทัสสะ นะ) อริยสัจ หมายถึงความจริงอันประเสริฐ หลักแห่งอริยสัจ มีอยู่ 4 ประการตามที่ท่านได้สั่งสอนไว้มีดังนี้ 1.ทุกข์ คือความไม่สบายกายไม่สบายใจ ความเป็นจริง ของสัตว์โลกทุกผู้ทุกนามต้องมีทุกข์ 2.สมุทัย คือเหตุที่ทาให้เกิดทุกข์ นอกจากเหตุแห่งทุกข์ ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น 3.นิโรธ คือความดับทุกข์ ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป ความ หลุดพ้น หรือหมายถึงภาวะของพระนิพพานนั่นเอง 4.มรรค คือข้อปฏิบัติ หรือหนทางที่นาไปสู่การดับทุกข์ การเดินทางสายกลางเพื่อไปให้ถึงการดับทุกข์
  • 35. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: นิพฺพานสจฺฉิกิริยา จ (นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ) ทาให้แจ้ง นิพพาน ผลาญสังโยชน์ ตรวจตราโทษ ธาตุ ขันธ์ หมั่นฝึกถอน เอาอรหัต มรรคญาณ เผา ราญรอน ดับทุกข์ร้อน นิพพาน สาราญนัก ท่านพระ พุทธโฆษาจารย์ ผู้รจนาคัมภีร์วิสุทธิมรรค ท่านเป็น พระอรหันต์ขั้นปฏิสัมภิทาญาณ ท่านอธิบายถึงการ ระลึกถึงคุณพระนิพพาน โดยท่านยกบาลี 8 ข้อ ไว้ เป็นแนวเครื่องระลึก ดังจะนามา เขียนไว้เพื่อเป็น เครื่องอุปกรณ์ในการระลึก
  • 36. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: ผุฏฺฐสฺส โลกธมฺเมหิ จิตฺตํ ยสฺส น กมฺปต (ผุฏฺฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะตะ) คาว่าโลกธรรม มีความหมายถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นอยู่ เป็นประจาบนโลกนี้ซึ่งเราไม่ควรมีจิดหวั่นไหวต่อสิ่ง ต่าง ๆ เหล่านี้ท่านว่าลักษณะของโลกธรรมมี 4 ประการคือ 1.การได้ลาภ เมื่อมีลาภผลก็ย่อมมีความเสื่อมเป็น ธรรมดา 2.การได้ยศ ยศฐาบรรดาศักดิ์ล้วนเป็นสิ่งสมมุติขึ้นมา ทั้งนั้น 3.การได้รับการสรรเสริญ ที่ใดมีคนนิยมชมชอบ ที่นั่นก็ ย่อมต้องมีคนเกลียดชังเป็นเรื่องธรรมดา 4.การได้รับความสุข ที่ใดมีสุขที่นั่นก็จะมีทุกข์ด้วย
  • 37. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: อโสกํ (อะโสกัง) คราวพลัดพราก จากญาติ ขาดชีวิต ถูกพิชิต จองจา ทาโทษ ใหญ่ มีสติ คุมจิต เป็นนิตย์ไป ไม่เสียใจ โศกเศร้า เฝ้ า ประคอง ท่านว่ามีเหตุอยู่ 5 ประการที่ทาให้จิตเราต้อง โศกเศร้าคือ 1.ความโศกเศร้าที่เกิดเนื่องมาจากความรัก 2.ความโศกเศร้าที่เกิดจากความใคร่ 3.ใช้ปัญญาพิจารณาอยู่เนือง ๆ ถึงความไม่เที่ยงในสิ่งของ ทั้งหลาย และร่างกายของเรา 4.ไม่ยึดมั่นในตัวตน หรือความจีรังยั่งยืน ในคนหรือสิ่งของ ว่าเป็นของเรา 5.ทุกอย่างในโลกล้วนเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ แม้ร่างกาย เราก็ใช้เป็นที่อาศัยชั่วคราวเท่านั้น
  • 38. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: วิรชํ (วิระชัง) ธุลี คือ กิเลส(สภาพที่ทาให้จิตเศร้าหมอง ย่อมไม่ติด อยู่ในจิตที่ฝึกดีแล้ว เหมือนหยาดน้าไม่ติดอยู่บนใบ บัว) จิตทีฝึกฝนดีแล้วย่อมหลุดพ้นไม่พัวพันอยู่กับ กิเลสทั้งปวง เป็นจิตที่ปลอดโปร่งเป็นอิสรเสรีและมี ศักยภาพสูงสุด เป็นจิตที่นาเอาความสงบร่มเย็นที่ ยั่งยืนมาสู่โลก
  • 39. มงคลชีวิต 38 ประการ บาลี: เขมํ (เขมัง) เกษม หมายถึงมีความสุข สบาย หรือสภาพที่มี จิตใจที่เป็นสุข มีจิดเกษมก็คือว่ามีจิตที่เป็นสุขในที่นี้ หมายถึงการละแล้วซึ่งกิเลส ที่ท่านว่าไว้ว่าเป็น เครื่องผูกอยู่ 4 ประการคือ 1.การละกามโยคะ คือการละความยินดีในวัตถุ 2.การละภวโยคะ คือการละความยินดีในภพ 3.การละทิฏฐิโยคะ คือการละความยินดีใน ความเห็นผิดเป็นชอบ 4.การละอวิชชาโยคะ คือการละความยินดีใน อวิชชาทั้งหลาย ความไม่รู้ทั้งหลาย
  • 40. มงคลชีวิต 38 ประการ คาถามทบทวนมงคลชีวิต 38 ประการ 1.บาลีของ มีจิตปราศจากกิเลส คืออะไร ตอบ วิรช (วิระชัง) 2.การละเว้นจากความชั่ว ตามมงคลชีวิต 38 หมายถึง ตอบ การปฏิบัติตนตามกุศลกรรมบถ 10 3.การเป็นผู้รู้ ผู้ฟังมา ตรงกับ มงคงชีวิต ข้อใด ตอบ เป็นพหูสูตร 4. การพูดดี วาจาสุภาษิต ตรงกับข้อใด ตอบ มีวาจาอันเป็นสุภาษิต 5. อริญสัจ 4 มี 4 ประการย่อคือ ตอบ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
  • 41. 6.การละล้างซึ่งกิเลส มี 4 ประการ ตอบ การละกามโยคะ , การละภวโยคะ , การละทิฎฐิโยคะ , การละอวิชชาโยคะ 7.สมณะ คือ อะไร ตอบ ผู้สงบ ประกอบด้วย 3 อย่าง สงบกาย,สงบวาจา, สงบใจ 8.อกุศลกรรมบถ 10 ความหมายคือ ตอบ การละเว้นการทาบาป 9. การทาความดี ทาให้บรรลุมรรค ผลนิพพานได้ เรียกชื่อว่าอะไร ตอบ กัลยาณมิตร 10. ความไม่ประมาท ในมงคลชีวิต 38 คือข้อใด ตอบ การมีสติ พร้อมคอยหน่วงน้อม ธรรมคุณ ไม่ผลุนผลัน มงคลชีวิต 38 ประการ