SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
Baixar para ler offline
นิยามเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
คาว่าเทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และ
หาทางนามาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้าที่มีความหมายกว้างไกล เป็นคาที่เรา
ได้พบเห็นและได้ยินอยู่ตลอดมา
คาว่าสารสนเทศ หมายถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์มนุษย์แต่ละ
คนตั้งแต่เกิดมาได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เป็นจานวนมาก เรียนรู้สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และ
วิชาการ
เมื่อรวมคาว่าเทคโนโลยีกับสารสนเทศเข้าด้วยกัน จึงหมายถึงเทคโนโลยีที่ใช้จัดการ
สารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การ
พิมพ์การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทา
ให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้และการดูแลข้อมูล
เทคโนโลยีและสารสนเทศ
หมายถึง ระบบของการจัดเก็บ ประมวลผลข้อมูล โดยอาศัยบุคคลและเทคโนโลยีสารสนเทศใน
การดาเนินการ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรือภารกิจแต่ละอย่าง
ระบบสารสนเทศ(Information system)
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศแบ่งตามลักษณะการบริหารจัดการได้ 3 ระดับดังนี้
- ระดับสูง (Top Level Management) กลุ่มของผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ ผู้บริหารระดับสูง มี
หน้าที่กาหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อนาไปสู่เป้าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และ
สารสนเทศภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์โดยรวม ซึ่งระบบสารสนเทศในระดับนี้
ต้องออกแบบให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน ไม่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้าน
กราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่รวดเร็วและทันท่วงทีด้วยเช่นกัน
- ระดับกลาง (Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการบริหารและ
จัดการองค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นามาสานต่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่
กาหนดไว้ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศที่ใช้มักได้มา
จากแหล่งข้อมูลภายใน ระบบสารสนเทศจึงต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้
- ระดับปฏิบัติการ (Operation Level Management) ผู้ใช้กลุ่มนี้จะเกี่ยวข้องกับการผลิตหรือการ
ปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบสินค้า งานทั่วไปที่ไม่จาเป็นต้องใช้การ
วางแผน ข้อมูลหรือสารสนเทศในระดับนี้ จะถูกนาไปประมวลผลในระดับกลางและระดับสูง
ต่อไป
ประเภทของระบบสารสนเทศ
พิจารณาจาแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับการทางานในองค์กร จะแบ่งระบบสารสนเทศได้
เป็น 4 ประเภท ดังนี้
1. ระบบสารสนเทศสาหรับระดับผู้ปฏิบัติงาน (Operational – level systems) ช่วยสนับสนุนการทางานของ
ผู้ปฏิบัติงานในส่วนปฏิบัติงานพื้นฐานและงานทารายการต่างๆขององค์กร วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อ
ช่วยการดาเนินงานประจาแต่ละวัน และควบคุมรายการข้อมูลที่เกิดขึ้น
2. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้ชานาญการ (Knowledge-level systems) ระบบนี้สนับสนุนผู้ทางานที่มีความรู้
เกี่ยวข้องกับข้อมูล วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อช่วยให้มีการนาความรู้ใหม่มาใช้และช่วยควบคุมการ
ไหลเวียนของงานเอกสารขององค์กร
3. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Management - level systems) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการ
ตรวจสอบ การควบคุม การตัดสินใจ และการบริหารงานของผู้บริหารระดับกลางขององค์กร
4. ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ (Strategic-level system) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยการบริหารระดับสูง
ช่วยในการสนับสนุนการวางแผนระยะยาว
พิจารณาประเภทของระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทางานของผู้ปฏิบัติงาน/ผู้บริหารระดับต่างๆไว้ ดังนี้
1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็นระบบที่ทาหน้าที่ในการ
ปฏิบัติงานประจา ทาการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
2. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสานักงาน
หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทางานของบุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอก ระบบนี้จะ
เกี่ยวข้องกับการจัดการเอกสาร
3. ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS) เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรที่
ทางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ใหม่เพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ในหน่วยงาน ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็นต้น
4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็นระบบสารสนเทศ
สาหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม
5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS) เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารในการ
ตัดสินใจสาหรับปัญหา ข้อมูลที่ใช้ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการประกอบกัน
6. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System -EIS) เป็นระบบที่สร้าง
สารสนเทศเชิงกลยุทธ์สาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทาหน้าที่กาหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของกิจการ
ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยข้อมูลภายนอกกิจกรรมเป็นอย่างมาก
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศกาลังเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจาวัน สังเกตได้จากการนาคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคลมาใช้ในสานักงาน การจัดทาระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้อุปกรณ์อานวยความสะดวกที่ประกอบด้วย
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เพื่อการคานวณและเก็บข้อมูลได้แพร่ไป
ทั่วทุกแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญต่อขยายตัวของบริษัท มีผลต่อการ และมีผลต่อการประกอบกิจ
ในแต่ละวัน
ก่อนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม ประชากรโลกส่วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็นแกนหลัก มีเพียง
บางส่วนยึดอาชีพบริการและทางานในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม พลเมืองในชนบท
เป็นจานวนมากละทิ้งถิ่นฐานเดิม จากการทาไร่ไถนามาทางานในโรงงานอุตสาหกรรม ทาให้เกิดการขยายตัวของ
ประชากรในภาคอุตสาหกรรมและการลดน้อยลงในภาคเกษตรกรรม ขณะที่ผู้ทางานด้านบริการจะค่อย ๆ ขยับ
สูงขึ้นอย่างช้า ๆ พร้อม ๆ กับการมีผู้ทางานด้านสารสนเทศ ที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้นตลอดอย่างต่อเนื่อง
aเมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศมากขึ้น เช่น เครื่องถ่ายสาเนาเอกสาร เครื่อง
พิมพ์ดีดไฟฟ้า เครื่องโทรสาร และเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้าน
สารสนเทศมากขึ้น งานด้านสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการ
ส่งเสริมสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้วยการพัฒนาค้นคว้าวิจัยให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมาตอบสนองความต้องการ
ของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศจะค่อย ๆ กลายมาเป็นระบบรวม โดยให้เครื่องระบบหนึ่งทางาน
พร้อมกันได้หลาย ๆ อย่าง เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากใช้ประมวลผลข้อมูลด้านบัญชีแล้ว ยังใช้งาน
จัดเตรียมเอกสารแทนเครื่องพิมพ์ดีด ใช้รับส่งข้อความหรือจดหมายกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล ซึงอาจ
อยู่คนละซีกโลกในลักษณะที่เรียกว่า ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สาหรับเครื่องถ่ายเอกสาร นอกจากจะใช้ถ่ายสาเนา
เอกสารตามปกติแล้ว อาจเพิ่มขีดความสามารถให้ใช้งานเป็นเครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์ หรือเป็นเครื่องรับส่ง
โทรสารไปในตัว
การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ด้านข้อมูล และ
การติดต่อสื่อสาร ผู้ใช้จึงต้องปรับตัวยอมรับและเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ โดยเฉพาะข้อมูลและ
การติดต่อสื่อสารซึ่งเป็นหัวใจสาคัญของการดาเนินธุรกิจจานวนมาก หากการดาเนินงานธุรกิจใช้ข้อมูลซื่งมีการ
บันทึกใส่กระดาษและเก็บรวบรวมใส่แฟ้ม การเรียกค้นและสรุปผลข้อมูลย่อมทาได้ช้า และเกิดความผิดพลาดได้
ง่ายกว่าการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่จะช่วยงานให้ง่ายสะดวกและรวดเร็ว
ขึ้น และที่สาคัญช่วยให้สามารถตัดสินใจดาเนินงานได้เร็ว และถูกต้องดีขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐานรากที่รองรับ “สังคมสารสนเทศ” (Information
Society) ที่มี “สารสนเทศ” เป็นหัวใจสาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถประยุกต์ใช้
ประโยชน์ในการจัดบริการสังคมพื้นฐาน ในขบวนการพัฒนาสังคม เช่น ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในการศึกษา ทางด้านสาธารณสุข การบริหารรัฐกิจ ฯลฯ เป็นต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา
ประเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนามาประยุกต์ใช้ประโยชน์และเพิ่ม
ขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศ และ
เพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดย่อม
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา อันได้แก่การจัดเก็บข้อมูล
และประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วยการเรียนการสอน การวางแผนและ
การบริหารการศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและบริการ การทดสอบวัดผล การ
พัฒนาบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นที่นิยมประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน อาทิ
ระบบสารสนเทศช่วยในการเรียนการสอน
2. การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
3. การประชุมทางไกลระบบจอภาพ
4. ระบบฐานข้อมูลการศึกษา
5. ระบบสารสนเทศเอกสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้าน
การศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดว่ามีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศของทุกประเทศก็ว่าได้ไม่
ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือประเทศที่กาลังพัฒนา เพราะแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาทโดดเด่น
ในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมและการค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แต่ก็
มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้าน
การจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน (การศึกษา และการสาธารณสุข ฯลฯ) ในการบริหารประเทศ และในการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลกระทบต่อสังคมมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มัน
อย่างไร ในโลกปัจจุบันแรงผลักดันทางเศรษฐกิจมักจะมีบทบาทสูงในการกาหนดทิศทางของเทคโนโลยีเป็น
ที่ทราบกันดีว่าเทคโนโลยีการสื่อสารทั้งในอดีตและปัจจุบันได้เปลี่ยนโฉมไปอย่างมาก ในอนาคตธุรกิจ
บันเทิงจะเป็นธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จะทาเงินให้แก่ผู้ประกอบการทางด้านการสื่อสารโทรคมนาคม
เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีอิทธิพลอย่างสูงกับแนวความคิด ความอ่านของผู้คนในสังคม เพราะเป็นวิถีทางหนึ่งที่ผู้
ร่วมบันเทิงได้รับอิทธิพลทางความคิดจากผู้อื่นที่ร่วมอยู่ในวงบันเทิง และยอมรับสถานภาพว่าตนก็เป็นส่วน
หนึ่งของสังคมนั้นๆ การถ่ายทอดแนวความคิดระหว่างบุคคลในสังคมนั้นก็เป็นสิ่งที่เราเรียกว่า วัฒนธรรม
นั่นเอง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสังคม
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านการสื่อสารและ
โทรคมนาคม
เทคโนโลยีของการสื่อสารและโทรคมนาคมในปัจจุบันก้าวไกลไปมาก มีบริการมากมายที่ทันสมัยและ
ตอบรับกับการนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจ ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้
เพียงสาหรับคุยสนทนาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่มันสามารถช่วยงานได้มากขึ้น โดยอ้างอิงข้อมูล
และการเปิดให้บริการของบริษัท มีติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสียง มีโทรศัพท์มือถือรุ่น
ต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสาธารณสุข
เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนามาใช้ในการพัฒนา ด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวาง และทาให้งาน
ด้าน สาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับระบบการบริหารงาน และ
นาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ ดังนี้
- ด้านการลงทะเบียนผู้ป่วย ตั้งแต่เริ่มทาบัตร จ่ายยา เก็บเงิน
- การสนับสนุนการรักษาพยาบาล โดยการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ต่างๆ เข้า
ด้วยกัน สามารถสร้างเครือข่ายข้อมูลทางการแพทย์แลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ป่วย
- สามารถให้คาปรึกษาทางไกล โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชานาญ เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยให้ส่งข้อมูลที่
เป็นเอกสาร หรือภาพเพื่อประกอบการพิจารณาของแพทย์ได้
-เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถกาหนดนโยบาย และติดตามกากับการดาเนินงาน
ตามนโยบายได้ดียิ่งขึ้น
- ในด้านการให้ความรู้หรือการเรียน การสอนทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะดาวเทียม จะ
ช่วยให้การเรียนการสอนทางไกล ทางด้านการแพทย์และสาธารณะสุข เป็นไปได้มากขึ้นประชาชน
สามารถเรียนรู้พร้อมกันได้ทั่วประเทศและ ยังสามารถโต้ตอบหรือถามคาถามได้ด้วย
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ
การศึกษานาเอาเทคโนโลยีที่เรียกว่า GIS (Geographic Information System) เข้ามาจัดเก็บและประมวลผล
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกาหนดข้อมูลด้านตาแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (ground position) ซึ่งรวบรวม จาก
แหล่งต่างๆ ทั้งข้อมูลพื้นที่ แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายทางดาวเทียม เพื่อนามาเป็นข้อมูลพื้นฐาน
ในการพัฒนาผังเมือง ประยุกต์ใช้งานทางด้านธรณีวิทยา การพยากรณ์อากาศและการควบคุม
สิ่งแวดล้อม
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย
การศึกษาเมื่อ 19 มีนาคมพ.ศ. 2545 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ .ศ.2544 – 2553
ของประเทศไทยได้เสนอเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ และความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับการพัฒนาประเทศ
ไทยให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้เพื่อใช้และสร้างภูมิ ปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทย
มีความแข็งแกร่งและความสามารถเพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทยมีความ
แข็งแกร่งและความสามารถที่จะรับการท้าทายของการแข่งขันในระบบเศรษฐกิจใหม่ของสังคมโลกาภิวัฒน์
ได้อย่างเต็มที่
กรอบนโยบายมี 3 เรื่อง คือ
1. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัฒน์
2. สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้
3. ประเทศไทยในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21
นโยบายฯ นี้มีสาระโดยรวมว่า เทคโนโลยีใหม่ที่รวมคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และการสื่อสาร
(โทรคมนาคม) เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications
Technology หรือ ICT) ได้ก่อให้เกิดกิจรรมใหม่ๆ ในทางเศรษฐกิจและสังคมอันส่งผลต่อการดารงอยู่
และการพัฒนาของประเทศต่างๆ ในโลกที่แตกต่างจากอดีตอย่างมาก จนเป็นที่ยอมรับกันว่าใน
ศตวรรษที่ 21 (เริ่มจาก ค.ศ. 2001 หรือ พ.ศ. 2544เป็นต้นไป) จะเกิดเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า เศรษฐกิจ
แห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge – based Learning Economy) และจะมีผลทาให้ประเทศไทย
ซึ่งมีทรัพยากรบุคคล อันมีความรู้เป็นพื้นฐานสามารถจะพัฒนาล้าหน้าประเทศอื่นๆ ที่ด้อยในส่วนนี้
อย่างมาก
กรอบนโยบายนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทาให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายสาคัญ 3 ประการ คือ
1. เพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือพัฒนาประเทศ โดยมีเป้าหมายในการเลื่อน
สถานภาพของประเทศไทยจากประเทศ ในกลุ่มผู้ตามมีพลวัต (dynamic adopters) อันดับต้นๆ ไปสู่
ประเทศ ในกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพเป็นผู้นา (potential leaders) อันดับต้นๆ โดยใช้ดัชนีผลสัมฤทธิ์
ทางเทคโนโลยีของสานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เป็นเครื่องมือประเมินวัด
2. เพิ่มจานวนแรงงานความรู้ของประเทศจากประมาณร้อยละ12 ของแรงงานทั้งหมดให้เป็นร้อยละ
30 ซึ่งเท่ากับค่าเฉลี่ยของแรงงานความรู้ของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (OECD) ใน พ.ศ. 2544 ตามสถิติ
ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO)
3. พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มสัดส่วนของมูลค่าอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการใช้ความรู้เป็น
พื้นฐานให้มีมูลค่าถึงร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP)
จากวิสัยทัศน์และนโยบายดังกล่าว นาไปสู่การกาหนดกลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่สาคัญไว้5 กลุ่ม คือ
1. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านภาครัฐ (e – Government)
2. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านพาณิชย์ (e – Commerce)
3. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม (e – Industry)
4. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา (e – Education)
5. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านสังคม (e – Society)
IT-11-42

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
devilp Nnop
 
สื่อเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
sarankorn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Krunee Thitthamon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Mapowzee Dahajee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
smileoic
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Kanokorn Thodsaphon
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
Theerapat Nilchot
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
Kanitta_p
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เกวลิน แก้ววิจิตร
 
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศD:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
Jintana Pandoung
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
Chaiwit Khempanya
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
Sujit Chuajine
 

Mais procurados (20)

[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สื่อเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Basic it
Basic itBasic it
Basic it
 
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศMk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
Mk26 2 ppt กล -ม1 เทคโนโลย_สารสนเทศ
 
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศD:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
D:\Social Media\เทคโนโลยีสารสนเทศ\ใบงานที่1บทบาทและความเป็นมาของสารสนเทศ
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 

Destaque (14)

Welcome
WelcomeWelcome
Welcome
 
Shu dan pola manajemen koperasi
Shu dan pola manajemen koperasiShu dan pola manajemen koperasi
Shu dan pola manajemen koperasi
 
Autodesk / Culture - Managment
Autodesk / Culture - ManagmentAutodesk / Culture - Managment
Autodesk / Culture - Managment
 
Time Value of Money
Time Value of MoneyTime Value of Money
Time Value of Money
 
Norsk Test Forum
Norsk Test ForumNorsk Test Forum
Norsk Test Forum
 
Shu dan pola manajemen koperasi
Shu dan pola manajemen koperasiShu dan pola manajemen koperasi
Shu dan pola manajemen koperasi
 
Risk and return
Risk and returnRisk and return
Risk and return
 
SHU dan pola manajemen koperasi
SHU dan pola manajemen koperasiSHU dan pola manajemen koperasi
SHU dan pola manajemen koperasi
 
IT-11-42
IT-11-42IT-11-42
IT-11-42
 
Trap-Ease
Trap-EaseTrap-Ease
Trap-Ease
 
company catalog
company catalogcompany catalog
company catalog
 
Annex 3 - Cirriculum Vitae
Annex 3 - Cirriculum VitaeAnnex 3 - Cirriculum Vitae
Annex 3 - Cirriculum Vitae
 
Annex 3 - Cirriculum Vitae
Annex 3 - Cirriculum VitaeAnnex 3 - Cirriculum Vitae
Annex 3 - Cirriculum Vitae
 
Annex 3 - Cirriculum Vitae
Annex 3 - Cirriculum VitaeAnnex 3 - Cirriculum Vitae
Annex 3 - Cirriculum Vitae
 

Semelhante a IT-11-42

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปิยะดนัย วิเคียน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
jongjang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
Nart-Anong Srinak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Rattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Rattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Rattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Rattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Rattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Rattana234
 
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำเทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
num19
 
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำเทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
num19
 
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำเทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
num19
 
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำเทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
num19
 

Semelhante a IT-11-42 (20)

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
เทคโนโลยีสารสนเทศ111111
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิวเทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
เทคโนโลยีสารสนเทศหลิว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำเทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำเทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำเทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำเทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
เทคโนโลยีสารสนเทศของน้ำ
 
สวัสดี
สวัสดีสวัสดี
สวัสดี
 

IT-11-42

  • 1.
  • 2. นิยามเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ คาว่าเทคโนโลยี หมายถึง การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ความรู้ต่าง ๆ ก็เพื่อให้เข้าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ของสิ่งต่าง ๆ และ หาทางนามาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็นค้าที่มีความหมายกว้างไกล เป็นคาที่เรา ได้พบเห็นและได้ยินอยู่ตลอดมา คาว่าสารสนเทศ หมายถึงข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์มนุษย์แต่ละ คนตั้งแต่เกิดมาได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เป็นจานวนมาก เรียนรู้สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และ วิชาการ เมื่อรวมคาว่าเทคโนโลยีกับสารสนเทศเข้าด้วยกัน จึงหมายถึงเทคโนโลยีที่ใช้จัดการ สารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การ พิมพ์การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทา ให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้และการดูแลข้อมูล เทคโนโลยีและสารสนเทศ หมายถึง ระบบของการจัดเก็บ ประมวลผลข้อมูล โดยอาศัยบุคคลและเทคโนโลยีสารสนเทศใน การดาเนินการ เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรือภารกิจแต่ละอย่าง ระบบสารสนเทศ(Information system)
  • 3. ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศแบ่งตามลักษณะการบริหารจัดการได้ 3 ระดับดังนี้ - ระดับสูง (Top Level Management) กลุ่มของผู้ใช้ระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับ ผู้บริหารระดับสูง มี หน้าที่กาหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อนาไปสู่เป้าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และ สารสนเทศภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์โดยรวม ซึ่งระบบสารสนเทศในระดับนี้ ต้องออกแบบให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน ไม่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้าน กราฟฟิคบ้าง ต้องตอบสนองที่รวดเร็วและทันท่วงทีด้วยเช่นกัน - ระดับกลาง (Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการบริหารและ จัดการองค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นามาสานต่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่ กาหนดไว้ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศที่ใช้มักได้มา จากแหล่งข้อมูลภายใน ระบบสารสนเทศจึงต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้ - ระดับปฏิบัติการ (Operation Level Management) ผู้ใช้กลุ่มนี้จะเกี่ยวข้องกับการผลิตหรือการ ปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบสินค้า งานทั่วไปที่ไม่จาเป็นต้องใช้การ วางแผน ข้อมูลหรือสารสนเทศในระดับนี้ จะถูกนาไปประมวลผลในระดับกลางและระดับสูง ต่อไป
  • 4. ประเภทของระบบสารสนเทศ พิจารณาจาแนกระบบสารสนเทศตามการสนับสนุนระดับการทางานในองค์กร จะแบ่งระบบสารสนเทศได้ เป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. ระบบสารสนเทศสาหรับระดับผู้ปฏิบัติงาน (Operational – level systems) ช่วยสนับสนุนการทางานของ ผู้ปฏิบัติงานในส่วนปฏิบัติงานพื้นฐานและงานทารายการต่างๆขององค์กร วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อ ช่วยการดาเนินงานประจาแต่ละวัน และควบคุมรายการข้อมูลที่เกิดขึ้น 2. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้ชานาญการ (Knowledge-level systems) ระบบนี้สนับสนุนผู้ทางานที่มีความรู้ เกี่ยวข้องกับข้อมูล วัตถุประสงค์หลักของระบบนี้ก็เพื่อช่วยให้มีการนาความรู้ใหม่มาใช้และช่วยควบคุมการ ไหลเวียนของงานเอกสารขององค์กร 3. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Management - level systems) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยในการ ตรวจสอบ การควบคุม การตัดสินใจ และการบริหารงานของผู้บริหารระดับกลางขององค์กร 4. ระบบสารสนเทศระดับกลยุทธ์ (Strategic-level system) เป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยการบริหารระดับสูง ช่วยในการสนับสนุนการวางแผนระยะยาว พิจารณาประเภทของระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการทางานของผู้ปฏิบัติงาน/ผู้บริหารระดับต่างๆไว้ ดังนี้ 1. ระบบประมวลผลรายการ (Transaction Processing Systems - TPS) เป็นระบบที่ทาหน้าที่ในการ ปฏิบัติงานประจา ทาการบันทึกจัดเก็บ ประมวลผลรายการที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน 2. ระบบสานักงานอัตโนมัติ (Office Automation Systems- OAS) เป็นระบบที่สนับสนุนงานในสานักงาน หรืองานธุรการของหน่วยงาน ระบบจะประสานการทางานของบุคลากรรวมทั้งกับบุคคลภายนอก ระบบนี้จะ เกี่ยวข้องกับการจัดการเอกสาร 3. ระบบงานสร้างความรู้ (Knowledge Work Systems - KWS) เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรที่ ทางานด้านการสร้างความรู้เพื่อพัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ใหม่เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ในหน่วยงาน ผลลัพธ์ของระบบนี้ มักอยู่ในรูปของ สิ่งประดิษฐ์ ตัวแบบ รูปแบบ เป็นต้น 4. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems- MIS) เป็นระบบสารสนเทศ สาหรับผู้ปฏิบัติงานระดับกลาง ใช้ในการวางแผน การบริหารจัดการ และการควบคุม 5. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems – DSS) เป็นระบบที่ช่วยผู้บริหารในการ ตัดสินใจสาหรับปัญหา ข้อมูลที่ใช้ต้องอาศัยทั้งข้อมูลภายในกิจการและภายนอกกิจการประกอบกัน 6. ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System -EIS) เป็นระบบที่สร้าง สารสนเทศเชิงกลยุทธ์สาหรับผู้บริหารระดับสูง ซึ่งทาหน้าที่กาหนดแผนระยะยาวและเป้าหมายของกิจการ ซึ่งจาเป็นต้องอาศัยข้อมูลภายนอกกิจกรรมเป็นอย่างมาก
  • 5. พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศกาลังเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจาวัน สังเกตได้จากการนาคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลมาใช้ในสานักงาน การจัดทาระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้อุปกรณ์อานวยความสะดวกที่ประกอบด้วย ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เพื่อการคานวณและเก็บข้อมูลได้แพร่ไป ทั่วทุกแห่ง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสาคัญต่อขยายตัวของบริษัท มีผลต่อการ และมีผลต่อการประกอบกิจ ในแต่ละวัน ก่อนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม ประชากรโลกส่วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็นแกนหลัก มีเพียง บางส่วนยึดอาชีพบริการและทางานในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม พลเมืองในชนบท เป็นจานวนมากละทิ้งถิ่นฐานเดิม จากการทาไร่ไถนามาทางานในโรงงานอุตสาหกรรม ทาให้เกิดการขยายตัวของ ประชากรในภาคอุตสาหกรรมและการลดน้อยลงในภาคเกษตรกรรม ขณะที่ผู้ทางานด้านบริการจะค่อย ๆ ขยับ สูงขึ้นอย่างช้า ๆ พร้อม ๆ กับการมีผู้ทางานด้านสารสนเทศ ที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้นตลอดอย่างต่อเนื่อง aเมื่อมีการประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์ช่วยงานสารสนเทศมากขึ้น เช่น เครื่องถ่ายสาเนาเอกสาร เครื่อง พิมพ์ดีดไฟฟ้า เครื่องโทรสาร และเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสู่งานด้าน สารสนเทศมากขึ้น งานด้านสารสนเทศมีแนวโน้มขยายตัวที่ค่อนข้างสดใส เพราะเทคโนโลยีด้านนี้ได้รับการ ส่งเสริมสนับสนุนอย่างเต็มที่ด้วยการพัฒนาค้นคว้าวิจัยให้เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ ออกมาตอบสนองความต้องการ ของมนุษย์อยู่ตลอดเวลา แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศจะค่อย ๆ กลายมาเป็นระบบรวม โดยให้เครื่องระบบหนึ่งทางาน พร้อมกันได้หลาย ๆ อย่าง เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากใช้ประมวลผลข้อมูลด้านบัญชีแล้ว ยังใช้งาน จัดเตรียมเอกสารแทนเครื่องพิมพ์ดีด ใช้รับส่งข้อความหรือจดหมายกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกล ซึงอาจ อยู่คนละซีกโลกในลักษณะที่เรียกว่า ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ สาหรับเครื่องถ่ายเอกสาร นอกจากจะใช้ถ่ายสาเนา เอกสารตามปกติแล้ว อาจเพิ่มขีดความสามารถให้ใช้งานเป็นเครื่องพิมพ์คอมพิวเตอร์ หรือเป็นเครื่องรับส่ง โทรสารไปในตัว การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ด้านข้อมูล และ การติดต่อสื่อสาร ผู้ใช้จึงต้องปรับตัวยอมรับและเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ โดยเฉพาะข้อมูลและ การติดต่อสื่อสารซึ่งเป็นหัวใจสาคัญของการดาเนินธุรกิจจานวนมาก หากการดาเนินงานธุรกิจใช้ข้อมูลซื่งมีการ บันทึกใส่กระดาษและเก็บรวบรวมใส่แฟ้ม การเรียกค้นและสรุปผลข้อมูลย่อมทาได้ช้า และเกิดความผิดพลาดได้ ง่ายกว่าการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่จะช่วยงานให้ง่ายสะดวกและรวดเร็ว ขึ้น และที่สาคัญช่วยให้สามารถตัดสินใจดาเนินงานได้เร็ว และถูกต้องดีขึ้น
  • 6. เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นฐานรากที่รองรับ “สังคมสารสนเทศ” (Information Society) ที่มี “สารสนเทศ” เป็นหัวใจสาคัญ เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถประยุกต์ใช้ ประโยชน์ในการจัดบริการสังคมพื้นฐาน ในขบวนการพัฒนาสังคม เช่น ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในการศึกษา ทางด้านสาธารณสุข การบริหารรัฐกิจ ฯลฯ เป็นต้น เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา ประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในด้านเศรษฐกิจโดยสามารถนามาประยุกต์ใช้ประโยชน์และเพิ่ม ขีดสามารถในการแข่งขันทั้งภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลังทั้งภายใน ประเทศ และ เพื่อการส่งออก อีกทั้งยังประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา อันได้แก่การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วยการเรียนการสอน การวางแผนและ การบริหารการศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและบริการ การทดสอบวัดผล การ พัฒนาบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งเป็นที่นิยมประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน อาทิ ระบบสารสนเทศช่วยในการเรียนการสอน 2. การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม 3. การประชุมทางไกลระบบจอภาพ 4. ระบบฐานข้อมูลการศึกษา 5. ระบบสารสนเทศเอกสาร เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้าน การศึกษา
  • 7. เทคโนโลยีสารสนเทศ จัดว่ามีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศของทุกประเทศก็ว่าได้ไม่ ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือประเทศที่กาลังพัฒนา เพราะแม้ว่าเทคโนโลยีนี้จะยังไม่มีบทบาทโดดเด่น ในการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมและการค้าในกลุ่มประเทศที่กาลังพัฒนาทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แต่ก็ มีความสาคัญอย่างยิ่งยวดในด้านการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในด้าน การจัดให้บริการสังคมพื้นฐาน (การศึกษา และการสาธารณสุข ฯลฯ) ในการบริหารประเทศ และในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลกระทบต่อสังคมมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับว่ามนุษย์จะเลือกใช้มัน อย่างไร ในโลกปัจจุบันแรงผลักดันทางเศรษฐกิจมักจะมีบทบาทสูงในการกาหนดทิศทางของเทคโนโลยีเป็น ที่ทราบกันดีว่าเทคโนโลยีการสื่อสารทั้งในอดีตและปัจจุบันได้เปลี่ยนโฉมไปอย่างมาก ในอนาคตธุรกิจ บันเทิงจะเป็นธุรกิจอีกประเภทหนึ่งที่จะทาเงินให้แก่ผู้ประกอบการทางด้านการสื่อสารโทรคมนาคม เนื่องจากเป็นธุรกิจที่มีอิทธิพลอย่างสูงกับแนวความคิด ความอ่านของผู้คนในสังคม เพราะเป็นวิถีทางหนึ่งที่ผู้ ร่วมบันเทิงได้รับอิทธิพลทางความคิดจากผู้อื่นที่ร่วมอยู่ในวงบันเทิง และยอมรับสถานภาพว่าตนก็เป็นส่วน หนึ่งของสังคมนั้นๆ การถ่ายทอดแนวความคิดระหว่างบุคคลในสังคมนั้นก็เป็นสิ่งที่เราเรียกว่า วัฒนธรรม นั่นเอง เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสังคม
  • 8. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านการสื่อสารและ โทรคมนาคม เทคโนโลยีของการสื่อสารและโทรคมนาคมในปัจจุบันก้าวไกลไปมาก มีบริการมากมายที่ทันสมัยและ ตอบรับกับการนามาประยุกต์ใช้ในการดาเนินธุรกิจ ตัวอย่างการใช้โทรศัพท์ในปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้ เพียงสาหรับคุยสนทนาเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป แต่มันสามารถช่วยงานได้มากขึ้น โดยอ้างอิงข้อมูล และการเปิดให้บริการของบริษัท มีติดต่อสื่อสารผ่านดาวเทียมทั้งภาพและเสียง มีโทรศัพท์มือถือรุ่น ต่าง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทั้งหน่วยงานของภาครัฐและเอกชน เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศได้รับการนามาใช้ในการพัฒนา ด้านสาธารณสุขอย่างกว้างขวาง และทาให้งาน ด้าน สาธารณสุขเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยกระทรวงสาธารณสุข ได้ปรับระบบการบริหารงาน และ นาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานต่างๆ ดังนี้ - ด้านการลงทะเบียนผู้ป่วย ตั้งแต่เริ่มทาบัตร จ่ายยา เก็บเงิน - การสนับสนุนการรักษาพยาบาล โดยการเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของโรงพยาบาล ต่างๆ เข้า ด้วยกัน สามารถสร้างเครือข่ายข้อมูลทางการแพทย์แลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้ป่วย - สามารถให้คาปรึกษาทางไกล โดยแพทย์ผู้เชี่ยวชานาญ เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยให้ส่งข้อมูลที่ เป็นเอกสาร หรือภาพเพื่อประกอบการพิจารณาของแพทย์ได้ -เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถกาหนดนโยบาย และติดตามกากับการดาเนินงาน ตามนโยบายได้ดียิ่งขึ้น - ในด้านการให้ความรู้หรือการเรียน การสอนทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะดาวเทียม จะ ช่วยให้การเรียนการสอนทางไกล ทางด้านการแพทย์และสาธารณะสุข เป็นไปได้มากขึ้นประชาชน สามารถเรียนรู้พร้อมกันได้ทั่วประเทศและ ยังสามารถโต้ตอบหรือถามคาถามได้ด้วย
  • 9. เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติ การศึกษานาเอาเทคโนโลยีที่เรียกว่า GIS (Geographic Information System) เข้ามาจัดเก็บและประมวลผล ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกาหนดข้อมูลด้านตาแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (ground position) ซึ่งรวบรวม จาก แหล่งต่างๆ ทั้งข้อมูลพื้นที่ แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายทางดาวเทียม เพื่อนามาเป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการพัฒนาผังเมือง ประยุกต์ใช้งานทางด้านธรณีวิทยา การพยากรณ์อากาศและการควบคุม สิ่งแวดล้อม นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย การศึกษาเมื่อ 19 มีนาคมพ.ศ. 2545 คณะรัฐมนตรีได้เห็นชอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ ระยะ พ .ศ.2544 – 2553 ของประเทศไทยได้เสนอเป้ าหมาย ยุทธศาสตร์ และความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์กับการพัฒนาประเทศ ไทยให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้เพื่อใช้และสร้างภูมิ ปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทย มีความแข็งแกร่งและความสามารถเพื่อใช้และสร้างภูมิปัญญาของคนไทยที่จะทาให้ประเทศไทยมีความ แข็งแกร่งและความสามารถที่จะรับการท้าทายของการแข่งขันในระบบเศรษฐกิจใหม่ของสังคมโลกาภิวัฒน์ ได้อย่างเต็มที่ กรอบนโยบายมี 3 เรื่อง คือ 1. ความท้าทายในยุคโลกาภิวัฒน์ 2. สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 3. ประเทศไทยในทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 21
  • 10. นโยบายฯ นี้มีสาระโดยรวมว่า เทคโนโลยีใหม่ที่รวมคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ และการสื่อสาร (โทรคมนาคม) เรียกว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications Technology หรือ ICT) ได้ก่อให้เกิดกิจรรมใหม่ๆ ในทางเศรษฐกิจและสังคมอันส่งผลต่อการดารงอยู่ และการพัฒนาของประเทศต่างๆ ในโลกที่แตกต่างจากอดีตอย่างมาก จนเป็นที่ยอมรับกันว่าใน ศตวรรษที่ 21 (เริ่มจาก ค.ศ. 2001 หรือ พ.ศ. 2544เป็นต้นไป) จะเกิดเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า เศรษฐกิจ แห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ (Knowledge – based Learning Economy) และจะมีผลทาให้ประเทศไทย ซึ่งมีทรัพยากรบุคคล อันมีความรู้เป็นพื้นฐานสามารถจะพัฒนาล้าหน้าประเทศอื่นๆ ที่ด้อยในส่วนนี้ อย่างมาก กรอบนโยบายนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะทาให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายสาคัญ 3 ประการ คือ 1. เพิ่มขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือพัฒนาประเทศ โดยมีเป้าหมายในการเลื่อน สถานภาพของประเทศไทยจากประเทศ ในกลุ่มผู้ตามมีพลวัต (dynamic adopters) อันดับต้นๆ ไปสู่ ประเทศ ในกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพเป็นผู้นา (potential leaders) อันดับต้นๆ โดยใช้ดัชนีผลสัมฤทธิ์ ทางเทคโนโลยีของสานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) เป็นเครื่องมือประเมินวัด 2. เพิ่มจานวนแรงงานความรู้ของประเทศจากประมาณร้อยละ12 ของแรงงานทั้งหมดให้เป็นร้อยละ 30 ซึ่งเท่ากับค่าเฉลี่ยของแรงงานความรู้ของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (OECD) ใน พ.ศ. 2544 ตามสถิติ ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) 3. พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเพิ่มสัดส่วนของมูลค่าอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการใช้ความรู้เป็น พื้นฐานให้มีมูลค่าถึงร้อยละ 50 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) จากวิสัยทัศน์และนโยบายดังกล่าว นาไปสู่การกาหนดกลยุทธ์การพัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สาคัญไว้5 กลุ่ม คือ 1. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านภาครัฐ (e – Government) 2. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านพาณิชย์ (e – Commerce) 3. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม (e – Industry) 4. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา (e – Education) 5. เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาด้านสังคม (e – Society)