SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
การซักประวัติ และวิธีการตรวจโรคของ บุรุษ สตรี และเด็ก
การตรวจโรค
การตรวจ วิธีการตรวจ
ตรวจชีพจร ตรวจชีพจรบริเวณข้อมือ
- ใช้นิ้วชี้กับนิ้วกลาง หรือนิ้วนางด้วยก็ได้ โดยแตะห่าง
จากข้อมือประมาณ 1 นิ้ว ให้วางลงเบาๆ ถ้าไม่พบที่เต้น
ตุ๊บๆ จึงกดให้แรงอีกเล็กน้อย และจับเวลา 1 นาที ว่าได้
กี่ครั้ง
ตรวจชีพจรบริเวณเท้า
- ตรวจบริเวณหลังเท้า ทางหัวแม่เท้าห่างประมาณ 1
นิ้ว
*การตรวจต้องตรวจทั้งซ้ายและขวาทั้งมือและเท้า*
ตรวจหัวใจ - ใช้นิ้วมือให้ก็ได้ ให้เอานิ้ววางลงในระหว่างช่องซี่โครงซี่
ที่ 4 กับ ซี่ที่ 5 ในทรวงอกเบื้องซ้ายราวนม ด้านหลังจะ
อยู่สะบักซ้าย หรือจะใช้การตรวจโดยฟังเสียงของหัวใจที่
เต้น
ตรวจเส้นอัษฏากาศ - คือ เส้นขั้วหัวใจเบื้องบน สาหรับทางให้โลหิตฉีดออก
จากทางเดินไปตามเส้นเลือดในตอนบนของร่างกาย
อยู่บริเวณใต้คอหอยลงมาทางเบื้องซ้ายประมาณ 1 นิ้ว
เศษ
การตรวจ
ต้องตรวจที่ซอกไหปลาร้าติดต่อกับคอ
ตรวจเส้นสุมนา - คือ เส้นขั้วหัวใจตอนล่าง สาหรับทางให้โลหิตฉีดออก
จากทางเดินไปตามเส้นเลือดในตอนล่างของร่างกาย อยู่
ในระหว่างทรวงอกเหนือลิ้นปี่ขึ้นไป 1 นิ้ว
การตรวจ
ให้เอานิ้วสอดเข้าไปใต้ลิ้นปี่ กดลงเบาๆ ก็จะพบเม็ดเต้น
การซักประวัติ
หมายถึง การถามประวัติคนไข้ ประวัติครอบครัว ประวัติการเจ็บป่วยทั้งปัจจุบันและอดีต แต่เมื่อสรุปเป็นหลัก
ใหญ่ๆ ในการตรวจโรคมีหลักอยู่ 4 ประการ คือ
- การถามถึงประวัติคนไข้และครอบครัว
- การถามประวัติโรคทั้งอดีต – ปัจจุบัน
- การตรวจร่างกายและจิตใจคนไข้
- การตรวจและถามอาการ
เป็นปกติ
ตรวจเส้นอัมพฤกษ์ - เส้นนี้อยู่เหนือสะดือขึ้นไป 1 นิ้ว เป็นเส้นเนื่องมาจาก
เส้นสุมนา
การที่ต้องตรวจหัวใจ และเส้นสุมนา เส้น อัษฏากาศ หรือเส้นอัมพฤกษ์ เนื่องจาก
- โรคบางอย่างบางคราวหัวใจปกติ แต่ขั้วหัวใจตอนบนหรือตอนล่างพิการก็มี
- บางคราวหัวใจตอนบนผิดปกติ – ตอนล่างพิการก็ได้
- บางโรคหัวใจภายนอกพิการภายในปกติ
โรคชนิดหนึ่งเนื่องมาแต่สาเหตุอื่นๆแล้วมาทาให้ขั้วหัวใจ หัวใจตอนล่างและตอนบนพิการ ต่อเมื่อแก้เหตุนั้น
เป็นปกติดี หัวใจและขั้วหัวใจ ก็เป็นปกติอย่างเดิม โรคบางอย่างเกิดแต่หัวใจและขั้วหัวใจทั้ง 2 ขึ้นเองก็มี
ดังนั้นการตรวจหัวใจเพื่อหาสาเหตุว่า โรคที่เกิดขึ้นเกิดจากสาเหตุอื่นๆ หรือเกิดจากหัวใจ ขั้วหัวใจทั้ง 2
โดยตรง
ตรวจปับผาสัง (ปอด) - ปอดมี 2 ข้างและขวา ตรงนมเข้าไปมีเส้นโลหิตติดต่อ
กับหัวใจทั้ง 2 ข้าง ทาหน้าที่ให้เกดิลมหายใจเข้าออก
เป้นนิตย์ ส่วนหลังอยู่ตรงใต้สะบักทั้ง 2 ข้าง
การตรวจ
- ต้องตวรจด้านหน้า ,หลัง ,ซ้าย ,ขวา ข้างหน้าตรวจ
ตามฐานราวนมรอบทั่วข้างหลังให้ตรวจตามท้ายสะบัก
ตลอดถึงชายโครง
ลักษณะปอดพิการ
- โรคปอดบวม เนื่องมาจากไข้หวัดใหญ่ มีอาการไอ เหนื่อย หายใจไม่สะดวก
- เกิดจากพิษไข้ พิษกาฬทาให้หอบเป็นกาลัง ร้อนในกระหายน้า
- ฝีในปอด (วัณโรค) และอื่นๆ
ตรวจยกะนัง (คือ ตับ) - ตับ อยู่ที่ชายโครงขวา มีตับแก่อย่างหนึ่ง ตับอ่อนอย่าง
หนึ่งติดต่อกัน
การตรวจ
- ให้ตรวจใต้สวาบข้างชายโครงขวา เอานิ้วสอดเข้าไป
ตามชายสวาบให้ทั่วชายโครง ถ้าปกติจะไม่พบตับแลบ
หรือเป็นก้อน
- อีหนึ่งวิธี เอามือซ้ายคว่าลงที่ชายโครงแล้วเอามือขว้
เคาะมือที่คว่า ถ้ารูสึกโปร่งไม่ทึบ อย่างนั้นปกติ
อาการตับพิการมีหลายประการ
- โรคตับบวม เสียงดังปุๆ ชายโครงนูนสูง รู้สึกอึดอัดตามชายโครง
- กาฬขึ้นตับหรือเป็นฝีที่ตับ ให้ชายโครงบวม มีสีดา แดง เขียว ช้าเลือด ช้าหนอง
- โรคตับย้อย ตรวจโดยเอานิ้วมือสอดเข้าที่ใต้ชายโครง จะพบชิ้นเนื้อเหมือนลิ้นหมูแลบออกมาจากชายโครงห่างประ
มาณ 1 นิ้ว
- โรคตับโต ให้เอามือเคาะที่ชายโครงชาย มีเสียงทึบ ไม่โปร่ง แข็งกระด้าง ไอแห้ง ผอมเหลือง ผิวซีดขาว ตาขาว
ปัสสาวะขาว กินไม่ได้นอนไม่หลับ และอื่นๆ
การตรวจวักกัง (ม้าม) - ม้ามตั้งอยู่ที่ชายโครงด้านซ้าย ติดข้างกระเพาะอาหาร
การตรวจ
- ให้เอามือซ้ายคว่าลงที่ชายโครงซ้าย แล้วเอามือขวา
เคาะมือซ้ายที่คว่า ได้ยินเสียงตึกๆ และโปร่งอย่างนั้น
เป็นปกติ
- การตรวจอีกแบบหนึ่ง ให้เอามือสอดเข้าไปใต้ชายโครง
ถ้าม้ามปกติ จะไม่มีการแลบออกมาม้ามถือว่าเป็นปกติ
ม้ามพิการมีหลายประการ
- ม้ามบวม บวมที่ชายโครงเหมือนอกเต่า เคาะเสียงดังปุๆ มีอาการชาบริเวณที่บวม
- ม้ามย้อย ย้อยแลบออกมาจากใต้ชายโครง (บางตาราเรียกว่า ป้าง) เอานิ้วสอดเข้าไปใต้ชายโครง จะปรากฏเป็น
ก้อนเนื้อแลบออกมา มีอาการผอมเหลืองซูบซีด
การตรวจอันตัง - ลาไส้ใหญ่ติดต่อกับลาไส้น้อยเป็น 2 ตอน คือตอนบน
ตั้งแต่ปากรวมถึงกระเพาะอาหาร ตอนล่างต่อจากลาไส้
น้อยถึงทวารหนัก
หน้าที่
- มีหน้าที่ ย่อยอาหารเช่นกับลาไส้น้อย
- มีหน้าที่ขับกากาอาหาร หืออุจจาระออกจากร่างกาย
การตรวจ
สังเกตอาการที่แสดงออกมา มีอาการให้วิงเวียน นัยต์ตา
พร่ามัว ถ้ายืนตรงให้มีอาการเรอ ให้หาว ให้สะอึก ให้ขัด
อก เมื่อยเอว เมื่อยหลัง และเส้นรัตตฆาต
การตรวจอันตะคุณัง - ลาไส้น้อยลักษณะเป้นท่อนกลมยาวติดต่อกับกระเพาะ
อาหารจนถึงลาไส้ใหญ่ตอนล่าง
หน้าที่
- ย่อยอาหารต่อจากระเพาะอาหาร
การตรวจ
- ตรวจโดยใช้วิธีสังเกตอาการ เมื่อพิการมักให้
พะอืดพะอมท้องขึ้น ท้องพอง มักเป็นมานกระษัย บางที
ให้ลงท้อง ตกเป็นมูกเลือด
การตรวจปิหะกัง (ไต) - ไตมี 2 ไตขวาและซ้าย ตรงบั้นเอวเข้าไป 2 ข้าง
สาหรับกรองน้าปัสสาวะ รูปคล้ายเม็ดทองหลาง ต้นขั้ว
ใหญ่ปลายเรียวเล็ก มีหลอดออกไปทั้ง 2 ข้าง ทอดไปถึง
กระเพาะปัสสาวะที่ท้องน้อย สาหรับให้น้าปัสสาวะเดิน
ลงสู่กระเพาะเบา
การตรวจ
- ให้เอามือคลา หรือกดทั่ท้องน้อยที่หัวเหน่าขึ้นมาทั้ง 2
ข้าง ถ้าไตปกติจะไม่ปรากฏเป็นก้อนหรือขอดแข็ง แลให้
ตรวจหลังตรงบั้นเอวทั้ง 2 ข้าง ถ้าปกติในที่นั้นไม่มี
อาการบวมหรือฟกช้า
ลักษณะไตพิการ
- ไตบวม มีอาการให้ตึงที่ข้างท้องน้อย เป็นก้อนแข็งยาวรีโตประมาณผลแตงกวาใบเล็กถ้ายืดท้องท้องให้เจ็บปวด ถ้า
นานวันให้บวมทั้งตัวตลอดหน้า มือ เท้าทั้ง 2 ข้าง
- ไตอักเสบ เนื่องจากท้องจากท้องน้อยหรือบั้นเอวถูกของแข็ง เจ็บปวดท้องน้อยและบั้นเอว ปัสสาวะไม่ออก หยด
น้อยเหมือนช้ารั่ว
การตรวจกระเพาะปัสสาวะ - กระเพาะปัสสาวะเป็นที่พักน้าหนักเบา ซึ่งกรองมาจาก
ไตแล้ว ตั้งอยู่ในช่องท้องน้อยเหนือขึ้นไปประมาณ 2 นิ้ว
เยื้องไปทางขวาเล็กน้อย มีสัณฐานเหมือนขวดนมที่เด็ก
กิน
การตรวจ
- ให้คลาดูที่ท้องน้อยเบาๆ ถ้าปกติในที่นั้นจะเรียบ ไม่
บวมหรือนูน เวลาเอามือกดลงไม่รู้สึกเจ็บปวด
ลักษณะกระเพาะปัสสาวะพิการ
- กระเพาะบวม บวมนูนขึ้นที่ท้องน้อย ปวดเจ็บเสียวซ่านตามหัวเหน่า มีพิษแสบร้อนเมื่อปัสสาวะให้ปวดที่กระเพาะ
ดังจะแตก
- กระเพาะเบาเป็นแผล เนื่องจากน้าปัสสาวะกัดบางคราวเกิดจากกามโรค มีอาการปัสสาวะเป็นโลหิตสดๆ บางคราว
ให้เป็นช้าเลือดช้าหนอง
การตรวจมดลูก - มดลูกตั้งอยู่ที่ตรงท้องน้อย เหนือหัวเหน่าขึ้นไป
ประมาณ 2 นิ้ว อยู่ใต้กระเพาะปัสสาวะเยื้องกันเล็กน้อย
มดลูกเป็นเนื้อยืด – หดได้ในตัว
- ภายในโพรงมดลูกสาหรับโลหิตฤดู และมีปีกแผ่ออกไป
2 ข้างซ้ายขวา มีเอ็นยึดเกาะอยู่ที่ขื่อของหัวตะคากทั้ง 2
ข้าง
การตรวจ
- ให้เอามือคลาที่ท้องน้อย แล้วเอานิ้วกดลงแต่พอควร
ถ้ามดลูกปกติ ไม่มีอาการบวมและเจ็บปวด เรียบเป็น
ปกติอย่างธรรมดา
ลักษณะมดลูกพิการ
- บวม มีอาการเจ็บปวดที่ท้องน้อย และบวมเป็นเปาะขึ้นมาเหมือนหญิงมีครรภ์ เวลากระดิกตัวลุก-นั่งให้ปวดเป็น
กาลัง บางคราวทาให้ขัดอุจจาระ ปัสสาวะ
- ฝีในมดลูก มีอาการปวดที่มดลูก ปวดร้าวท้องน้อย มีพิษร้อน ถ้าฝีตั้งเป็นหนอง ปวดสาหัส เมื่อฝีแตกแล้วมีเลือด
และหนองออกมาทางช่องทวาร
การตรวจร่างกายภายนอก - ตรวจที่ศีรษะและหน้าผาก
- ที่ขมับทั้ง 2 ข้าง เพื่อรู้กาลังโลหิตที่ขึ้นไปสู่สมอง
- ตรวจที่ซอกคอทั้ง 2 ข้าง ตามทรวงอก เพื่อรู้ความร้อน
เย็น
- ตรวจตามสวาบท้องไปถึงท้องน้อย แขนขาตลอดถึง
ปลายมือปลายเท้า เพื่อรู้ความร้อนเย็น อาการฟกบวม
ตุ่ม ผื่น เขียว ดา แดง ที่ใด
- ถ้ามีเป็นไข้ ให้ตรวจที่จอนหู และราวคอตลอดถึง
ขากรรไกร ที่ซอกรักแร้ หน้าขาทั้ง 2 ข้าง ที่ท้ายสะบัก
และเส้นข้างกระดูกสันหลัง กับบั้นเอว ซ้าย ขวา มีเม็ด
มีผื่น และบวมต้องพิจารณาให้แน่นอน
การตรวจโรคทั่วไป
วัดด้วยเทอร์โมมิเตอร์วัดไข้และสัมผัสคนไข้ 1. ดูความร้อนของร่างกาย
1.1 ใช้มือแตะหน้าผากและข้างคอ
1.2 ใช้ปรอทวัด เพื่อความแม่นยากว่าการสัมผัส
2. ที่ขมับทั้ง 2 ข้าง ตรงเหนือหูเฉียงมาทางหน้าผาก
ประมาณ 1 นิ้ว
3. ที่โคนขากรรไกรทั้ง 2 ข้าง
4. ที่ใต้ตาตุ่มในทั้ง 2 ข้าง
การตรวจความร้อนด้วยเทอร์โมมิเตอร์วัดไข้ - ให้คนไข้อมปรอทไว้ใต้ลิ้นประมาณ 2 นาที หรือใสไว้
ใต้รักแร้ประมาณ 2 นาที
-ในเด็กเล็ก มักสอดเท้าทางรูทวารหนัก เพื่อความ
สะดวก ที่เด็กจะอ้นไม่ขัดแก่การตรวจ
อุณภูมิตามการแพทย์แผนปัจจุบัน
- อุณภูมิปกติของร่างกายอยู่ที่ 37.5 องศาเซลเซียส
- อุณภูมิที่มีไข้ระดับต่าอยู่ที่ 37.5 องศาเซลเซียส –
38.4 องศาเซลเซียส
- อุณภูมิที่มีไข้ปานกลางอยู่ที่ 38.5 องศาเซลเซียส –
39.4 องศาเซลเซียส
- อุณหภูมิที่มีไข้ระดับสูงอยู่ที 39.5 องศาเซลเซียส ขึ้น
ไป
อุณภูมิตามการแพทย์แผนไทย
- อุณภูมิปกติของร่างกาอยู่ที่ 37 องศาเซนติเกรด –
98.3 องศาฟาเรนไฮต์
- อุณภูมิที่เรียกว่าไข้ธรรมดาอยู่ที่ 40 องศาเซนติเกรด
และ 104 องศาฟาเรนไฮด์
- อุณภูมิคนไข้นั้นมีอาการหนักที่สุคือ 41 องศา
เซนติเกรด และ 106 องศาฟาเรนไฮด์
การตรวจชีพจร - การตรวจชีพจรปกติจะใช้บริเวณข้อมือทั้ง 2 ข้างตอน
ริมที่สุดด้านนอกเมื่อเราใช้มือสัมผัสจะทราบได้ถึงการ
เต้นของชีพจร
- ชีพจรสาหรับคนปกติอยู่ที่ 60 – 100 ครั้ง/นาที(ตาม
การแพทย์แผนปัจจุบัน)
- ชีพจรสาหรับคนปกติอยู่ที่ 72 – 100 ครั้ง/นาที(ตาม
การแพทย์แผนไทย)
วิธีการตรวจชีพจร - ให้คนไข้เหยียดมือ อย่าทับแขน ใช้นิ้วชี้หรือนิ้วกลาง
จับที่เส้นเพราะนิ้วหัวแม่มือมีเส้นที่เต้นได้บ้าง ให้กดตรง
เส้นแรงพอสมควร ให้สังเกตการเต้นของชีพจร คือเร็ว
หรือช้ากับแรงและเบา สังเกตเป็นเส้นเล็กหรือใหญ่ หนัก
เบา เช่น
- ถ้าชีพจรเต้นแรงเต็มเส้น มักเป็นด้วยอาการพิษ
- ถ้าชีพจรเต้นช้า เป็นโดยกาลังอ่อน
- ถ้าชีพจรเต้นเร็วแต่อ่อน มักเป็นด้วยกาลังอ่อน
การเต้นของชีพจรในแต่ละวัย (ตามการแพทย์แผน
ไทย)
การเต้นของชีพจรในแต่ละวัย (ตามการแพทย์แผน
ปัจจุบัน)
- ผู้ใหญ่ชีพจรเต้น 72 – 100 ครั้ง/นาที
- เด็กเพิ่งคลอดชีพจรเต้น 130 – 150 ครั้ง/นาที
- เด็ก 2 ขวบชีพจรเต้น 100 ครั้ง/นาที เมื่ออายุมากขึ้น
ชีพจรจะเต้นช้าลงตามลาดับ
- ทารกแรกเกิด ถึง 1 เดือน ประมาณ 120-160 ครั้ง/
นาที
- 1-12 เดือน ประมาณ 80 – 140 ครั้ง/นาที
- 12 เดือน-2 ปี ประมาณ 80 – 130 ครั้ง/นาที
- 2 – 6 ปี ประมาณ 75 – 120 ครั้ง/นาที
- 6 – 12 ปี ประมาณ 75 – 110 ครั้ง/นาที
- วัยรุ่น-วัยผู้ใหญ่ ประมาณ 60 – 100 ครั้ง/นาที
คนไข้ที่ใกล้จะสิ้นชีวิต จะมีการเต้นของชีพจรดังนี้
- เร็วที่สุด แล้วก็หยุด
- ช้าที่สุด แล้วก็หยุด
- เต้นไม่เป็นจังหวะ
การตรวจร่างกายทั่วไป - ดูความร้อนเย็นของส่วนปลายประสาท ส่วนปลา
อวัยวะ ให้จับที่ปลายมือปลายเท้า
- ดูอาการม้ามบวม ใช้มือซ้ายกดที่ชายโครงด้านซ้ายจะ
พบม้าม ถ้าบวมย้อยลงมาและมีระยะม้ามย้อย 3 ระยะ
คือ
1. ระยะแรก จะพบม้ามย้อยลงมาเพียงเล็กน้อย
เสมอระดับชายโครง
2. ระยะกลาง จะพบม้ามาพ้นชายโครงลงมาสัก 2 -
3 นิ้ว แต่ไม่ถึงแนวเส้นสะดือ
3. ระยะสุด จะพบม้ามย้อยอยู่ในแนวเส้นสะดือ
การตรวจตามต่อมต่างๆ - คนไข้ที่ป่วยเป้นไข้เนื่องจากถูกทิ่มแทง ถูกอาวุธตาม
ส่วนปลายอวัยวะมักมีอาการต่อมอักเสบ
- จะคลาพบที่ 2 หน้าขา ใต้รักแร้ และที่ใต้คาง เมื่อมี
การอักเสบ จะบวมโต ผิดธรรมดา และคนไข้รู้สึกเจ็บ
การตรวจด้วยวิธีสังเกต
- ถ้าคนไข้มีผิวเหลืองซีดเหลือง ตาเหลือง เนื้องมาจากน้าดีซ่านพิการ
- ผิวหนังเหลืองแห้ง ริมฝีปากแห้ง เนื่องจากโลหิต
- เส้นเลือดในตามีน้อย เปลือกตาซีด ตาโรย เนื่องจากเส้นประสาทพิการและนอนไม่หลับ มักจะเป้นลม และอุจจาระ
- การหายใจขัดๆ และสะท้อน เนื่องจากหลอดลม หรือปอดพิการ
- ตามผิวหนังมีผื่นแดงทั้งตัว เนื่องจากโลหิตทาพิษหรือโลหิตซ่าน
- ตามปลายอวัยวะ เช่น มือ เท้า ปากสั่น เนื่องจากโลหิตทาพิษหรือโลหิตซ่าน
การตรวจด้วยเครื่องฟัง
การตรวจปอด - ใช้เครื่องหูฟังที่หน้าอก ด้านซ้ายขวา ข้างหลัง ที่ใต้
สะบัก ละที่ซอกไหปลาร้า
- ให้คนไข้หายใจๆ สั้นๆ ฉะนั้น
- ถ้ามีเสียงคร็อกแคร็ก ปอดมีหนองหรือเป็นหืด
เป็นหลอดลมอักเสบ
- ถ้าดังที่ตอนหลอดลม มักเป็นหลอดลมอักเสบ
เนื่องจากหวัดและไข้หวัด
- ถ้าดังที่ขั้วปอดมักจะเป็นแก่ผู้เป็นหืด หรือวัณโรค
ระยะแรก
การตรวจหัวใจ - ตรวจโดยเครื่องฟังๆ ที่ระดับราวนมเบื้องซ้าย ฉะนั้น
จะทราบว่า
- คนธรรมาดา หัวใจเต้น 72-100 ครั้ง/นาที(ตาม
การแพทย์แผนไทย)
- คนปกติ หัวใจเต้น 60-100 ครั้ง/นาที (ตาม
การแพทย์แผนปัจจุบัน)
- คนไข้หัวใจเต้น 100 ครั้ง/นาที
การฟังหัวใจทารกในครรภ์ - วางเครื่องฟังลงที่หน้าท้องส่วนใต้สะดือ เหนือหัวเหน่า
ในแนวเส้นท้องของผู้ที่มีครรภ์จะได้ยินหัวใจของทารก
ถนัด
โรคที่จะทราบได้จากการฟังหัวใจและปอด
1. ไข้ ไข้หวัด ไข้รากสาด จะมีเสียงที่ปอดในเวลาฟังด้วยเครื่อง มีเสียงคล้ายท่อลม ได้ยินเสียงหวีด เคาะด้วยมือที่
หน้าอกจะมีเสียงดังก้อง
2. โรคถุงหย่อน เวลาไอ เสมหะยังไม่ออกจะมีเสียงทึบ และเสมหะออกแล้วจะมีเสียงโปร่งเหมือนโพรง
3. โรคหืด ได้ยินเสียงหายใจถี่ หายใจออกยาว เสียงปอดคร๊อกแคร๊กเสมอ
4. โรคปอดอักเสบ โรคผอมแห้ง ไตอักเสบ โรคหัวใจพิการ โรคสมอง ฟังหัวใจจะมีเสียงลมหายใจเป็นเสียงดังฟูดๆ
5. ไข้พิษ เสียงปอดดังทึบ หัวใจเต้นเร็ว แต่เสียงลมหายใจผิดปกติ มีเสียงหายใจยาวและสั้น
6. ไข้ปวดเมื่อย ไข้อีดาอีแดง เสียงหัวใจเต้นไม่สม่าเสมอ เสียงลิ้นหัวใจรัวสั่น
7. ถุงหุ้มหัวใจอักเสบ - มักเกิดแก่คนไข้โรค ดังนี้
- วัณโรค
- ไข้ปวดเมื่อย
- ไข้ตะวันออก (ไข้ป่า)
- ไตอักเสบ
คนไข้รู้สึกยอกในช่องซี่โครง 3-4 ด้านตรงหัวใจ ความ
ร้อนสูง
8. โรคปวดเมื่อยของสตรี โรคลมขัดข้อ บวม ปัสสาวะ
เป็นหนอง
- ใช้มือคลาที่หน้าอกด้านซ้ายตรงกับหัวใจจะรู้สึก
สะเทือน
- ใช้มือเคาะมีเสียงก้องบริเวณทางขวาของกระดูก
หน้าอก
- ใช้เครื่องฟัง ที่ปลายหัวใจ(ใต้ราวนม) จะได้ยินเสียงดัง
ครืดๆ
- ชีพจรอ่อนเบา ไม่สม่าเสมอ
- เสียงปอดฟังขัดๆ
9. โรคต่อไปนี้ ที่จะตรวจได้ทางชีพจรว่าผิดปกติ - โรคบวมศีรษะและโรคสมอง และโรคสมองถูก
กระทบกระเทือน
- ธาตุเสีย
- หัวใจพิการ
-ถูกยาพิษ หรือเสพยาเสพติด
10. สาเหตุที่หัวใจเต้นเร็วมาก - ไข้ธรรมดา
- ไข้ต่อมอักเสบ
- โรคขลาดกลัว (เนื่องจากโรคประสาท)
11. สาเหตุที่หัวใจเต้นช้า - คนคลอดบุตร
- แรกหายจากไข้พิษ หรือไข้อย่างแรง
- โรคน้าดีซ่าน
- โรคสมอง
- โลหิตจาง
- เหนื่อยอ่อน ฯลฯ
การตรวจด้วยการเคาะ
วิธีเคาะนั้น ให้เอานิ้วซ้ายคว่ามือลงกับหนังแล้วเอานิ้วกลางมือขวาเคาะบนหลังมือตนเอง
- จะได้ยินเสียงโปร่งตามที่นิ้วตรงนั้น ใช้เคาะท้องเสียงโปร่งเป้นลมอยู่ เป็นต้น
ตรวจอุจจาระ ปัสสาวะ
อุจจาระ - สีดา แดง เป็นเมือกมัน มักเป็นด้วยไข้รากสาด บิด ทุ
ชนิด ไข้พิษ ไข้กาฬ อติสารธาตุพิการ
- สีอุจจาระเทา เป็นมูลโค เนื่องจากธาตุหย่อนโรคซาง
เด็ก โรคไข้กาฬ
- สีอุจจาระสีเหลือง เขียว เนื่องจากดีพิการ ในโรคไข้ป่า
ไข้ป้าง อติสาร
ปัสสาวะ - สีแดงจัด เนื่องจากไข้เพื่อดีและโลหิต เช่น ไข้ป่า ไข้ป้าง
- สีเหลืองแก่ เนื่องจากดีในไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้พิษ
- ขุ่นมันสีชาแก่ เนื่องจากไตพิการ ไข้รากสาด ไข้พิษ
และโรคเบาหวาน
ตรวจ ลิ้น ตา ปาก
ลิ้น - ลิ้นเป็นฝ้าละออง มักเนื่องมาจากไข้ธรรมดา โรคลาไส้
พิการ กระเพาะอาหาร และธาตุพิการ และในไข้พิษ
- ลิ้นแตกแห้งเป็นเม็ดเป็นขุม เนื่องจากธาตุพิการ ไข้พิษ
ไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้รากสาด
- ไข้กาฬ ที่ลิ้นจะเป็นเม็ดกาฬ
ตา - ตาซีดขาวโรย ที่เปลือกตาเผือดดา บางรายเขียว ขุ่นมัว
เนื่องจากโลหิตน้อย น้าดีพิการ แฃะวิ๔ประสาทพิการ
โรคนอนไม่หลับ ไข้จับทุกชนิด
ปาก - ปากเหม็น เนื่องจากโรคฟัน โรคอาหาร แฃะธาตุพิการ
น้าลายพิการ
- ปากแตกระแหง เนื่องจากธาตุพิการ ลมเป่าคอ โลหิต
น้อย และไข้ทุกชนิด
การวินิจฉัยโรค
เมื่อตรวจพอแล้วที่จะสรุปความเห็นวินิจฉัยประมวลโรคได้ โดยอาศัยหลัก 5 ประการดังนี้
- คนเจ็บมีอาการอย่างนี้มีอะไรพิการอยุ่ในสมุฏฐานและพิกัดใด รวมความแล้วควรจะสมมุติเรียกว่าโรคอะไร
- โรคนั้นมีที่เกิดแต่อะไรเป็นต้นเหตุ พึงเอาอาการนั้นๆ มาเป็นหลักวิเคราะห์ว่า คนเจ็บนั้นเกิดโรคด้วยเหตุอันใด
มีอะไรมากระทบกระเทือน อะไรเป็นเหตุให้เจ็บไข้
- โรคเช่นนี้จะบาบัดแก้ไขโดยใช้วิธีใดก่อน เมื่อเห็นทางแก้แล้ว จึงเลือกยาที่จะใช้บาบัดต่อไป
- สรรพคุณยาอะไรจะต้องใช้อย่างละมากน้อยเท่าไหร่ ให้รับประทานเวลาอะไร ขนาดเท่าไหร่
- เริ่มวางยาตามลักษณะโรคที่ตรวจพบ สุดแต่จะเห็นสมควรจะให้ยาบาบัดโรค ที่ทรมานสาคัญอย่างใดก่อน

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Con22

การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์techno UCH
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessmenttaem
 
Topic-Hoarseness Part1
Topic-Hoarseness Part1Topic-Hoarseness Part1
Topic-Hoarseness Part1Nuuni Numnim
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116vora kun
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว4LIFEYES
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
Extern conference..
Extern conference..Extern conference..
Extern conference..Toey Sutisa
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsPitiphong Sangsomrit
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะการดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Bodyyinyinyin
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่fainaja
 
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Patinya Yutchawit
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 

Semelhante a Con22 (20)

การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
รังสีวินิจฉัยและเวชศาสตร์นิวเคลียร์
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Presedation assessment
Presedation assessmentPresedation assessment
Presedation assessment
 
Topic-Hoarseness Part1
Topic-Hoarseness Part1Topic-Hoarseness Part1
Topic-Hoarseness Part1
 
Fia
FiaFia
Fia
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116
 
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
5อ 1พ เพื่อสุขภาพที่ดีและมีอายุยืนยาว
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
Extern conference..
Extern conference..Extern conference..
Extern conference..
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatrics
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะการดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
 
Foreign Body
Foreign BodyForeign Body
Foreign Body
 
Back pain
Back painBack pain
Back pain
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
 
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 

Mais de pongsatornpalata (20)

Con21
Con21Con21
Con21
 
Con20
Con20Con20
Con20
 
Con19
Con19Con19
Con19
 
Con18
Con18Con18
Con18
 
Con17
Con17Con17
Con17
 
Con16
Con16Con16
Con16
 
Con15
Con15Con15
Con15
 
Con14
Con14Con14
Con14
 
Con13
Con13Con13
Con13
 
Con12
Con12Con12
Con12
 
Con11
Con11Con11
Con11
 
Con10
Con10Con10
Con10
 
Con9
Con9Con9
Con9
 
Con8
Con8Con8
Con8
 
Con7
Con7Con7
Con7
 
Con6
Con6Con6
Con6
 
Con5
Con5Con5
Con5
 
Con4
Con4Con4
Con4
 
Con3
Con3Con3
Con3
 
Con1
Con1Con1
Con1
 

Con22

  • 1. การซักประวัติ และวิธีการตรวจโรคของ บุรุษ สตรี และเด็ก การตรวจโรค การตรวจ วิธีการตรวจ ตรวจชีพจร ตรวจชีพจรบริเวณข้อมือ - ใช้นิ้วชี้กับนิ้วกลาง หรือนิ้วนางด้วยก็ได้ โดยแตะห่าง จากข้อมือประมาณ 1 นิ้ว ให้วางลงเบาๆ ถ้าไม่พบที่เต้น ตุ๊บๆ จึงกดให้แรงอีกเล็กน้อย และจับเวลา 1 นาที ว่าได้ กี่ครั้ง ตรวจชีพจรบริเวณเท้า - ตรวจบริเวณหลังเท้า ทางหัวแม่เท้าห่างประมาณ 1 นิ้ว *การตรวจต้องตรวจทั้งซ้ายและขวาทั้งมือและเท้า* ตรวจหัวใจ - ใช้นิ้วมือให้ก็ได้ ให้เอานิ้ววางลงในระหว่างช่องซี่โครงซี่ ที่ 4 กับ ซี่ที่ 5 ในทรวงอกเบื้องซ้ายราวนม ด้านหลังจะ อยู่สะบักซ้าย หรือจะใช้การตรวจโดยฟังเสียงของหัวใจที่ เต้น ตรวจเส้นอัษฏากาศ - คือ เส้นขั้วหัวใจเบื้องบน สาหรับทางให้โลหิตฉีดออก จากทางเดินไปตามเส้นเลือดในตอนบนของร่างกาย อยู่บริเวณใต้คอหอยลงมาทางเบื้องซ้ายประมาณ 1 นิ้ว เศษ การตรวจ ต้องตรวจที่ซอกไหปลาร้าติดต่อกับคอ ตรวจเส้นสุมนา - คือ เส้นขั้วหัวใจตอนล่าง สาหรับทางให้โลหิตฉีดออก จากทางเดินไปตามเส้นเลือดในตอนล่างของร่างกาย อยู่ ในระหว่างทรวงอกเหนือลิ้นปี่ขึ้นไป 1 นิ้ว การตรวจ ให้เอานิ้วสอดเข้าไปใต้ลิ้นปี่ กดลงเบาๆ ก็จะพบเม็ดเต้น การซักประวัติ หมายถึง การถามประวัติคนไข้ ประวัติครอบครัว ประวัติการเจ็บป่วยทั้งปัจจุบันและอดีต แต่เมื่อสรุปเป็นหลัก ใหญ่ๆ ในการตรวจโรคมีหลักอยู่ 4 ประการ คือ - การถามถึงประวัติคนไข้และครอบครัว - การถามประวัติโรคทั้งอดีต – ปัจจุบัน - การตรวจร่างกายและจิตใจคนไข้ - การตรวจและถามอาการ
  • 2. เป็นปกติ ตรวจเส้นอัมพฤกษ์ - เส้นนี้อยู่เหนือสะดือขึ้นไป 1 นิ้ว เป็นเส้นเนื่องมาจาก เส้นสุมนา การที่ต้องตรวจหัวใจ และเส้นสุมนา เส้น อัษฏากาศ หรือเส้นอัมพฤกษ์ เนื่องจาก - โรคบางอย่างบางคราวหัวใจปกติ แต่ขั้วหัวใจตอนบนหรือตอนล่างพิการก็มี - บางคราวหัวใจตอนบนผิดปกติ – ตอนล่างพิการก็ได้ - บางโรคหัวใจภายนอกพิการภายในปกติ โรคชนิดหนึ่งเนื่องมาแต่สาเหตุอื่นๆแล้วมาทาให้ขั้วหัวใจ หัวใจตอนล่างและตอนบนพิการ ต่อเมื่อแก้เหตุนั้น เป็นปกติดี หัวใจและขั้วหัวใจ ก็เป็นปกติอย่างเดิม โรคบางอย่างเกิดแต่หัวใจและขั้วหัวใจทั้ง 2 ขึ้นเองก็มี ดังนั้นการตรวจหัวใจเพื่อหาสาเหตุว่า โรคที่เกิดขึ้นเกิดจากสาเหตุอื่นๆ หรือเกิดจากหัวใจ ขั้วหัวใจทั้ง 2 โดยตรง ตรวจปับผาสัง (ปอด) - ปอดมี 2 ข้างและขวา ตรงนมเข้าไปมีเส้นโลหิตติดต่อ กับหัวใจทั้ง 2 ข้าง ทาหน้าที่ให้เกดิลมหายใจเข้าออก เป้นนิตย์ ส่วนหลังอยู่ตรงใต้สะบักทั้ง 2 ข้าง การตรวจ - ต้องตวรจด้านหน้า ,หลัง ,ซ้าย ,ขวา ข้างหน้าตรวจ ตามฐานราวนมรอบทั่วข้างหลังให้ตรวจตามท้ายสะบัก ตลอดถึงชายโครง ลักษณะปอดพิการ - โรคปอดบวม เนื่องมาจากไข้หวัดใหญ่ มีอาการไอ เหนื่อย หายใจไม่สะดวก - เกิดจากพิษไข้ พิษกาฬทาให้หอบเป็นกาลัง ร้อนในกระหายน้า - ฝีในปอด (วัณโรค) และอื่นๆ ตรวจยกะนัง (คือ ตับ) - ตับ อยู่ที่ชายโครงขวา มีตับแก่อย่างหนึ่ง ตับอ่อนอย่าง หนึ่งติดต่อกัน การตรวจ - ให้ตรวจใต้สวาบข้างชายโครงขวา เอานิ้วสอดเข้าไป ตามชายสวาบให้ทั่วชายโครง ถ้าปกติจะไม่พบตับแลบ หรือเป็นก้อน - อีหนึ่งวิธี เอามือซ้ายคว่าลงที่ชายโครงแล้วเอามือขว้ เคาะมือที่คว่า ถ้ารูสึกโปร่งไม่ทึบ อย่างนั้นปกติ อาการตับพิการมีหลายประการ - โรคตับบวม เสียงดังปุๆ ชายโครงนูนสูง รู้สึกอึดอัดตามชายโครง - กาฬขึ้นตับหรือเป็นฝีที่ตับ ให้ชายโครงบวม มีสีดา แดง เขียว ช้าเลือด ช้าหนอง - โรคตับย้อย ตรวจโดยเอานิ้วมือสอดเข้าที่ใต้ชายโครง จะพบชิ้นเนื้อเหมือนลิ้นหมูแลบออกมาจากชายโครงห่างประ มาณ 1 นิ้ว - โรคตับโต ให้เอามือเคาะที่ชายโครงชาย มีเสียงทึบ ไม่โปร่ง แข็งกระด้าง ไอแห้ง ผอมเหลือง ผิวซีดขาว ตาขาว ปัสสาวะขาว กินไม่ได้นอนไม่หลับ และอื่นๆ การตรวจวักกัง (ม้าม) - ม้ามตั้งอยู่ที่ชายโครงด้านซ้าย ติดข้างกระเพาะอาหาร
  • 3. การตรวจ - ให้เอามือซ้ายคว่าลงที่ชายโครงซ้าย แล้วเอามือขวา เคาะมือซ้ายที่คว่า ได้ยินเสียงตึกๆ และโปร่งอย่างนั้น เป็นปกติ - การตรวจอีกแบบหนึ่ง ให้เอามือสอดเข้าไปใต้ชายโครง ถ้าม้ามปกติ จะไม่มีการแลบออกมาม้ามถือว่าเป็นปกติ ม้ามพิการมีหลายประการ - ม้ามบวม บวมที่ชายโครงเหมือนอกเต่า เคาะเสียงดังปุๆ มีอาการชาบริเวณที่บวม - ม้ามย้อย ย้อยแลบออกมาจากใต้ชายโครง (บางตาราเรียกว่า ป้าง) เอานิ้วสอดเข้าไปใต้ชายโครง จะปรากฏเป็น ก้อนเนื้อแลบออกมา มีอาการผอมเหลืองซูบซีด การตรวจอันตัง - ลาไส้ใหญ่ติดต่อกับลาไส้น้อยเป็น 2 ตอน คือตอนบน ตั้งแต่ปากรวมถึงกระเพาะอาหาร ตอนล่างต่อจากลาไส้ น้อยถึงทวารหนัก หน้าที่ - มีหน้าที่ ย่อยอาหารเช่นกับลาไส้น้อย - มีหน้าที่ขับกากาอาหาร หืออุจจาระออกจากร่างกาย การตรวจ สังเกตอาการที่แสดงออกมา มีอาการให้วิงเวียน นัยต์ตา พร่ามัว ถ้ายืนตรงให้มีอาการเรอ ให้หาว ให้สะอึก ให้ขัด อก เมื่อยเอว เมื่อยหลัง และเส้นรัตตฆาต การตรวจอันตะคุณัง - ลาไส้น้อยลักษณะเป้นท่อนกลมยาวติดต่อกับกระเพาะ อาหารจนถึงลาไส้ใหญ่ตอนล่าง หน้าที่ - ย่อยอาหารต่อจากระเพาะอาหาร การตรวจ - ตรวจโดยใช้วิธีสังเกตอาการ เมื่อพิการมักให้ พะอืดพะอมท้องขึ้น ท้องพอง มักเป็นมานกระษัย บางที ให้ลงท้อง ตกเป็นมูกเลือด การตรวจปิหะกัง (ไต) - ไตมี 2 ไตขวาและซ้าย ตรงบั้นเอวเข้าไป 2 ข้าง สาหรับกรองน้าปัสสาวะ รูปคล้ายเม็ดทองหลาง ต้นขั้ว ใหญ่ปลายเรียวเล็ก มีหลอดออกไปทั้ง 2 ข้าง ทอดไปถึง กระเพาะปัสสาวะที่ท้องน้อย สาหรับให้น้าปัสสาวะเดิน ลงสู่กระเพาะเบา การตรวจ - ให้เอามือคลา หรือกดทั่ท้องน้อยที่หัวเหน่าขึ้นมาทั้ง 2 ข้าง ถ้าไตปกติจะไม่ปรากฏเป็นก้อนหรือขอดแข็ง แลให้ ตรวจหลังตรงบั้นเอวทั้ง 2 ข้าง ถ้าปกติในที่นั้นไม่มี อาการบวมหรือฟกช้า
  • 4. ลักษณะไตพิการ - ไตบวม มีอาการให้ตึงที่ข้างท้องน้อย เป็นก้อนแข็งยาวรีโตประมาณผลแตงกวาใบเล็กถ้ายืดท้องท้องให้เจ็บปวด ถ้า นานวันให้บวมทั้งตัวตลอดหน้า มือ เท้าทั้ง 2 ข้าง - ไตอักเสบ เนื่องจากท้องจากท้องน้อยหรือบั้นเอวถูกของแข็ง เจ็บปวดท้องน้อยและบั้นเอว ปัสสาวะไม่ออก หยด น้อยเหมือนช้ารั่ว การตรวจกระเพาะปัสสาวะ - กระเพาะปัสสาวะเป็นที่พักน้าหนักเบา ซึ่งกรองมาจาก ไตแล้ว ตั้งอยู่ในช่องท้องน้อยเหนือขึ้นไปประมาณ 2 นิ้ว เยื้องไปทางขวาเล็กน้อย มีสัณฐานเหมือนขวดนมที่เด็ก กิน การตรวจ - ให้คลาดูที่ท้องน้อยเบาๆ ถ้าปกติในที่นั้นจะเรียบ ไม่ บวมหรือนูน เวลาเอามือกดลงไม่รู้สึกเจ็บปวด ลักษณะกระเพาะปัสสาวะพิการ - กระเพาะบวม บวมนูนขึ้นที่ท้องน้อย ปวดเจ็บเสียวซ่านตามหัวเหน่า มีพิษแสบร้อนเมื่อปัสสาวะให้ปวดที่กระเพาะ ดังจะแตก - กระเพาะเบาเป็นแผล เนื่องจากน้าปัสสาวะกัดบางคราวเกิดจากกามโรค มีอาการปัสสาวะเป็นโลหิตสดๆ บางคราว ให้เป็นช้าเลือดช้าหนอง การตรวจมดลูก - มดลูกตั้งอยู่ที่ตรงท้องน้อย เหนือหัวเหน่าขึ้นไป ประมาณ 2 นิ้ว อยู่ใต้กระเพาะปัสสาวะเยื้องกันเล็กน้อย มดลูกเป็นเนื้อยืด – หดได้ในตัว - ภายในโพรงมดลูกสาหรับโลหิตฤดู และมีปีกแผ่ออกไป 2 ข้างซ้ายขวา มีเอ็นยึดเกาะอยู่ที่ขื่อของหัวตะคากทั้ง 2 ข้าง การตรวจ - ให้เอามือคลาที่ท้องน้อย แล้วเอานิ้วกดลงแต่พอควร ถ้ามดลูกปกติ ไม่มีอาการบวมและเจ็บปวด เรียบเป็น ปกติอย่างธรรมดา ลักษณะมดลูกพิการ - บวม มีอาการเจ็บปวดที่ท้องน้อย และบวมเป็นเปาะขึ้นมาเหมือนหญิงมีครรภ์ เวลากระดิกตัวลุก-นั่งให้ปวดเป็น กาลัง บางคราวทาให้ขัดอุจจาระ ปัสสาวะ - ฝีในมดลูก มีอาการปวดที่มดลูก ปวดร้าวท้องน้อย มีพิษร้อน ถ้าฝีตั้งเป็นหนอง ปวดสาหัส เมื่อฝีแตกแล้วมีเลือด และหนองออกมาทางช่องทวาร การตรวจร่างกายภายนอก - ตรวจที่ศีรษะและหน้าผาก - ที่ขมับทั้ง 2 ข้าง เพื่อรู้กาลังโลหิตที่ขึ้นไปสู่สมอง - ตรวจที่ซอกคอทั้ง 2 ข้าง ตามทรวงอก เพื่อรู้ความร้อน เย็น - ตรวจตามสวาบท้องไปถึงท้องน้อย แขนขาตลอดถึง ปลายมือปลายเท้า เพื่อรู้ความร้อนเย็น อาการฟกบวม
  • 5. ตุ่ม ผื่น เขียว ดา แดง ที่ใด - ถ้ามีเป็นไข้ ให้ตรวจที่จอนหู และราวคอตลอดถึง ขากรรไกร ที่ซอกรักแร้ หน้าขาทั้ง 2 ข้าง ที่ท้ายสะบัก และเส้นข้างกระดูกสันหลัง กับบั้นเอว ซ้าย ขวา มีเม็ด มีผื่น และบวมต้องพิจารณาให้แน่นอน การตรวจโรคทั่วไป วัดด้วยเทอร์โมมิเตอร์วัดไข้และสัมผัสคนไข้ 1. ดูความร้อนของร่างกาย 1.1 ใช้มือแตะหน้าผากและข้างคอ 1.2 ใช้ปรอทวัด เพื่อความแม่นยากว่าการสัมผัส 2. ที่ขมับทั้ง 2 ข้าง ตรงเหนือหูเฉียงมาทางหน้าผาก ประมาณ 1 นิ้ว 3. ที่โคนขากรรไกรทั้ง 2 ข้าง 4. ที่ใต้ตาตุ่มในทั้ง 2 ข้าง การตรวจความร้อนด้วยเทอร์โมมิเตอร์วัดไข้ - ให้คนไข้อมปรอทไว้ใต้ลิ้นประมาณ 2 นาที หรือใสไว้ ใต้รักแร้ประมาณ 2 นาที -ในเด็กเล็ก มักสอดเท้าทางรูทวารหนัก เพื่อความ สะดวก ที่เด็กจะอ้นไม่ขัดแก่การตรวจ อุณภูมิตามการแพทย์แผนปัจจุบัน - อุณภูมิปกติของร่างกายอยู่ที่ 37.5 องศาเซลเซียส - อุณภูมิที่มีไข้ระดับต่าอยู่ที่ 37.5 องศาเซลเซียส – 38.4 องศาเซลเซียส - อุณภูมิที่มีไข้ปานกลางอยู่ที่ 38.5 องศาเซลเซียส – 39.4 องศาเซลเซียส - อุณหภูมิที่มีไข้ระดับสูงอยู่ที 39.5 องศาเซลเซียส ขึ้น ไป อุณภูมิตามการแพทย์แผนไทย - อุณภูมิปกติของร่างกาอยู่ที่ 37 องศาเซนติเกรด – 98.3 องศาฟาเรนไฮต์ - อุณภูมิที่เรียกว่าไข้ธรรมดาอยู่ที่ 40 องศาเซนติเกรด และ 104 องศาฟาเรนไฮด์ - อุณภูมิคนไข้นั้นมีอาการหนักที่สุคือ 41 องศา เซนติเกรด และ 106 องศาฟาเรนไฮด์ การตรวจชีพจร - การตรวจชีพจรปกติจะใช้บริเวณข้อมือทั้ง 2 ข้างตอน ริมที่สุดด้านนอกเมื่อเราใช้มือสัมผัสจะทราบได้ถึงการ เต้นของชีพจร - ชีพจรสาหรับคนปกติอยู่ที่ 60 – 100 ครั้ง/นาที(ตาม การแพทย์แผนปัจจุบัน)
  • 6. - ชีพจรสาหรับคนปกติอยู่ที่ 72 – 100 ครั้ง/นาที(ตาม การแพทย์แผนไทย) วิธีการตรวจชีพจร - ให้คนไข้เหยียดมือ อย่าทับแขน ใช้นิ้วชี้หรือนิ้วกลาง จับที่เส้นเพราะนิ้วหัวแม่มือมีเส้นที่เต้นได้บ้าง ให้กดตรง เส้นแรงพอสมควร ให้สังเกตการเต้นของชีพจร คือเร็ว หรือช้ากับแรงและเบา สังเกตเป็นเส้นเล็กหรือใหญ่ หนัก เบา เช่น - ถ้าชีพจรเต้นแรงเต็มเส้น มักเป็นด้วยอาการพิษ - ถ้าชีพจรเต้นช้า เป็นโดยกาลังอ่อน - ถ้าชีพจรเต้นเร็วแต่อ่อน มักเป็นด้วยกาลังอ่อน การเต้นของชีพจรในแต่ละวัย (ตามการแพทย์แผน ไทย) การเต้นของชีพจรในแต่ละวัย (ตามการแพทย์แผน ปัจจุบัน) - ผู้ใหญ่ชีพจรเต้น 72 – 100 ครั้ง/นาที - เด็กเพิ่งคลอดชีพจรเต้น 130 – 150 ครั้ง/นาที - เด็ก 2 ขวบชีพจรเต้น 100 ครั้ง/นาที เมื่ออายุมากขึ้น ชีพจรจะเต้นช้าลงตามลาดับ - ทารกแรกเกิด ถึง 1 เดือน ประมาณ 120-160 ครั้ง/ นาที - 1-12 เดือน ประมาณ 80 – 140 ครั้ง/นาที - 12 เดือน-2 ปี ประมาณ 80 – 130 ครั้ง/นาที - 2 – 6 ปี ประมาณ 75 – 120 ครั้ง/นาที - 6 – 12 ปี ประมาณ 75 – 110 ครั้ง/นาที - วัยรุ่น-วัยผู้ใหญ่ ประมาณ 60 – 100 ครั้ง/นาที คนไข้ที่ใกล้จะสิ้นชีวิต จะมีการเต้นของชีพจรดังนี้ - เร็วที่สุด แล้วก็หยุด - ช้าที่สุด แล้วก็หยุด - เต้นไม่เป็นจังหวะ การตรวจร่างกายทั่วไป - ดูความร้อนเย็นของส่วนปลายประสาท ส่วนปลา อวัยวะ ให้จับที่ปลายมือปลายเท้า - ดูอาการม้ามบวม ใช้มือซ้ายกดที่ชายโครงด้านซ้ายจะ พบม้าม ถ้าบวมย้อยลงมาและมีระยะม้ามย้อย 3 ระยะ คือ 1. ระยะแรก จะพบม้ามย้อยลงมาเพียงเล็กน้อย เสมอระดับชายโครง 2. ระยะกลาง จะพบม้ามาพ้นชายโครงลงมาสัก 2 - 3 นิ้ว แต่ไม่ถึงแนวเส้นสะดือ 3. ระยะสุด จะพบม้ามย้อยอยู่ในแนวเส้นสะดือ การตรวจตามต่อมต่างๆ - คนไข้ที่ป่วยเป้นไข้เนื่องจากถูกทิ่มแทง ถูกอาวุธตาม ส่วนปลายอวัยวะมักมีอาการต่อมอักเสบ - จะคลาพบที่ 2 หน้าขา ใต้รักแร้ และที่ใต้คาง เมื่อมี การอักเสบ จะบวมโต ผิดธรรมดา และคนไข้รู้สึกเจ็บ
  • 7. การตรวจด้วยวิธีสังเกต - ถ้าคนไข้มีผิวเหลืองซีดเหลือง ตาเหลือง เนื้องมาจากน้าดีซ่านพิการ - ผิวหนังเหลืองแห้ง ริมฝีปากแห้ง เนื่องจากโลหิต - เส้นเลือดในตามีน้อย เปลือกตาซีด ตาโรย เนื่องจากเส้นประสาทพิการและนอนไม่หลับ มักจะเป้นลม และอุจจาระ - การหายใจขัดๆ และสะท้อน เนื่องจากหลอดลม หรือปอดพิการ - ตามผิวหนังมีผื่นแดงทั้งตัว เนื่องจากโลหิตทาพิษหรือโลหิตซ่าน - ตามปลายอวัยวะ เช่น มือ เท้า ปากสั่น เนื่องจากโลหิตทาพิษหรือโลหิตซ่าน การตรวจด้วยเครื่องฟัง การตรวจปอด - ใช้เครื่องหูฟังที่หน้าอก ด้านซ้ายขวา ข้างหลัง ที่ใต้ สะบัก ละที่ซอกไหปลาร้า - ให้คนไข้หายใจๆ สั้นๆ ฉะนั้น - ถ้ามีเสียงคร็อกแคร็ก ปอดมีหนองหรือเป็นหืด เป็นหลอดลมอักเสบ - ถ้าดังที่ตอนหลอดลม มักเป็นหลอดลมอักเสบ เนื่องจากหวัดและไข้หวัด - ถ้าดังที่ขั้วปอดมักจะเป็นแก่ผู้เป็นหืด หรือวัณโรค ระยะแรก การตรวจหัวใจ - ตรวจโดยเครื่องฟังๆ ที่ระดับราวนมเบื้องซ้าย ฉะนั้น จะทราบว่า - คนธรรมาดา หัวใจเต้น 72-100 ครั้ง/นาที(ตาม การแพทย์แผนไทย) - คนปกติ หัวใจเต้น 60-100 ครั้ง/นาที (ตาม การแพทย์แผนปัจจุบัน) - คนไข้หัวใจเต้น 100 ครั้ง/นาที การฟังหัวใจทารกในครรภ์ - วางเครื่องฟังลงที่หน้าท้องส่วนใต้สะดือ เหนือหัวเหน่า ในแนวเส้นท้องของผู้ที่มีครรภ์จะได้ยินหัวใจของทารก ถนัด โรคที่จะทราบได้จากการฟังหัวใจและปอด 1. ไข้ ไข้หวัด ไข้รากสาด จะมีเสียงที่ปอดในเวลาฟังด้วยเครื่อง มีเสียงคล้ายท่อลม ได้ยินเสียงหวีด เคาะด้วยมือที่ หน้าอกจะมีเสียงดังก้อง 2. โรคถุงหย่อน เวลาไอ เสมหะยังไม่ออกจะมีเสียงทึบ และเสมหะออกแล้วจะมีเสียงโปร่งเหมือนโพรง 3. โรคหืด ได้ยินเสียงหายใจถี่ หายใจออกยาว เสียงปอดคร๊อกแคร๊กเสมอ 4. โรคปอดอักเสบ โรคผอมแห้ง ไตอักเสบ โรคหัวใจพิการ โรคสมอง ฟังหัวใจจะมีเสียงลมหายใจเป็นเสียงดังฟูดๆ 5. ไข้พิษ เสียงปอดดังทึบ หัวใจเต้นเร็ว แต่เสียงลมหายใจผิดปกติ มีเสียงหายใจยาวและสั้น 6. ไข้ปวดเมื่อย ไข้อีดาอีแดง เสียงหัวใจเต้นไม่สม่าเสมอ เสียงลิ้นหัวใจรัวสั่น 7. ถุงหุ้มหัวใจอักเสบ - มักเกิดแก่คนไข้โรค ดังนี้ - วัณโรค - ไข้ปวดเมื่อย
  • 8. - ไข้ตะวันออก (ไข้ป่า) - ไตอักเสบ คนไข้รู้สึกยอกในช่องซี่โครง 3-4 ด้านตรงหัวใจ ความ ร้อนสูง 8. โรคปวดเมื่อยของสตรี โรคลมขัดข้อ บวม ปัสสาวะ เป็นหนอง - ใช้มือคลาที่หน้าอกด้านซ้ายตรงกับหัวใจจะรู้สึก สะเทือน - ใช้มือเคาะมีเสียงก้องบริเวณทางขวาของกระดูก หน้าอก - ใช้เครื่องฟัง ที่ปลายหัวใจ(ใต้ราวนม) จะได้ยินเสียงดัง ครืดๆ - ชีพจรอ่อนเบา ไม่สม่าเสมอ - เสียงปอดฟังขัดๆ 9. โรคต่อไปนี้ ที่จะตรวจได้ทางชีพจรว่าผิดปกติ - โรคบวมศีรษะและโรคสมอง และโรคสมองถูก กระทบกระเทือน - ธาตุเสีย - หัวใจพิการ -ถูกยาพิษ หรือเสพยาเสพติด 10. สาเหตุที่หัวใจเต้นเร็วมาก - ไข้ธรรมดา - ไข้ต่อมอักเสบ - โรคขลาดกลัว (เนื่องจากโรคประสาท) 11. สาเหตุที่หัวใจเต้นช้า - คนคลอดบุตร - แรกหายจากไข้พิษ หรือไข้อย่างแรง - โรคน้าดีซ่าน - โรคสมอง - โลหิตจาง - เหนื่อยอ่อน ฯลฯ การตรวจด้วยการเคาะ วิธีเคาะนั้น ให้เอานิ้วซ้ายคว่ามือลงกับหนังแล้วเอานิ้วกลางมือขวาเคาะบนหลังมือตนเอง - จะได้ยินเสียงโปร่งตามที่นิ้วตรงนั้น ใช้เคาะท้องเสียงโปร่งเป้นลมอยู่ เป็นต้น ตรวจอุจจาระ ปัสสาวะ อุจจาระ - สีดา แดง เป็นเมือกมัน มักเป็นด้วยไข้รากสาด บิด ทุ ชนิด ไข้พิษ ไข้กาฬ อติสารธาตุพิการ - สีอุจจาระเทา เป็นมูลโค เนื่องจากธาตุหย่อนโรคซาง เด็ก โรคไข้กาฬ - สีอุจจาระสีเหลือง เขียว เนื่องจากดีพิการ ในโรคไข้ป่า ไข้ป้าง อติสาร ปัสสาวะ - สีแดงจัด เนื่องจากไข้เพื่อดีและโลหิต เช่น ไข้ป่า ไข้ป้าง - สีเหลืองแก่ เนื่องจากดีในไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้พิษ
  • 9. - ขุ่นมันสีชาแก่ เนื่องจากไตพิการ ไข้รากสาด ไข้พิษ และโรคเบาหวาน ตรวจ ลิ้น ตา ปาก ลิ้น - ลิ้นเป็นฝ้าละออง มักเนื่องมาจากไข้ธรรมดา โรคลาไส้ พิการ กระเพาะอาหาร และธาตุพิการ และในไข้พิษ - ลิ้นแตกแห้งเป็นเม็ดเป็นขุม เนื่องจากธาตุพิการ ไข้พิษ ไข้ป่า ไข้ป้าง ไข้รากสาด - ไข้กาฬ ที่ลิ้นจะเป็นเม็ดกาฬ ตา - ตาซีดขาวโรย ที่เปลือกตาเผือดดา บางรายเขียว ขุ่นมัว เนื่องจากโลหิตน้อย น้าดีพิการ แฃะวิ๔ประสาทพิการ โรคนอนไม่หลับ ไข้จับทุกชนิด ปาก - ปากเหม็น เนื่องจากโรคฟัน โรคอาหาร แฃะธาตุพิการ น้าลายพิการ - ปากแตกระแหง เนื่องจากธาตุพิการ ลมเป่าคอ โลหิต น้อย และไข้ทุกชนิด การวินิจฉัยโรค เมื่อตรวจพอแล้วที่จะสรุปความเห็นวินิจฉัยประมวลโรคได้ โดยอาศัยหลัก 5 ประการดังนี้ - คนเจ็บมีอาการอย่างนี้มีอะไรพิการอยุ่ในสมุฏฐานและพิกัดใด รวมความแล้วควรจะสมมุติเรียกว่าโรคอะไร - โรคนั้นมีที่เกิดแต่อะไรเป็นต้นเหตุ พึงเอาอาการนั้นๆ มาเป็นหลักวิเคราะห์ว่า คนเจ็บนั้นเกิดโรคด้วยเหตุอันใด มีอะไรมากระทบกระเทือน อะไรเป็นเหตุให้เจ็บไข้ - โรคเช่นนี้จะบาบัดแก้ไขโดยใช้วิธีใดก่อน เมื่อเห็นทางแก้แล้ว จึงเลือกยาที่จะใช้บาบัดต่อไป - สรรพคุณยาอะไรจะต้องใช้อย่างละมากน้อยเท่าไหร่ ให้รับประทานเวลาอะไร ขนาดเท่าไหร่ - เริ่มวางยาตามลักษณะโรคที่ตรวจพบ สุดแต่จะเห็นสมควรจะให้ยาบาบัดโรค ที่ทรมานสาคัญอย่างใดก่อน