SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 31
หน่วยรับข้อมูล (Input
Unit) / หน่วยแสดงผล
ข้อมูล (Output Unit)
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
    เป็นหน่วยทำำหน้ำทีรับข้อมูลจำกผู้ใช้เข้ำสู่หน่วยควำมจำำหลัก
                      ่
    แบ่งเป็นประเภทต่ำงๆ ดังนี้

อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device)
    แป้นพิมพ์ (Keyboard)
         เป็นหน่วยรับข้อมูลที่นิยมใช้กันมากที่สุด เพราะเป็น
    อุปกรณ์มาตรฐานในการป้อนข้อมูลสำาหรับเทอร์มินัล และ
    ไมโครคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะมีลักษณะคล้ายแป้นของ
    เครื่องพิมพ์ดีด แต่มีจำานวนแป้นมากกว่า และถูกแบ่งออก
    เป็น 4 กลุ่มด้วยกัน คือ
   แป้นอักขระ (Character Keys) จะมีลักษณะการจัดวางตัว
    อักษรเหมือนแป้นเครื่องพิมพ์ดีด
   แป้นควบคุม (Control Keys) เป็นแป้นที่มีหน้าที่สั่งการบาง
    อย่างโดยใช้งานร่วมกับแป้นอื่น
   แป้นฟังก์ชน (Function Keys) คือแป้นที่อยู่แถวบนสุด มี
              ั่
    ลักษณะเป็น F1, F2,…,F12 ซอฟต์แวร์แต่ละชนิดอำจ
    กำำหนดแป้นเหล่ำนี้ให้มีหน้ำที่เฉพำะอย่ำงแตกต่ำงกัน
    ไป
   แป้นตัวเลข (Numeric Keys) เป็นแป้นที่แยกจำกแป้น
    อักขระมำอยู่ทำงด้ำนขวำ มีลักษณะคล้ำยเครื่องคิดเลข
    ช่วยอำำนวยควำมสะดวกในกำรบันทึกตัวเลขเข้ำสู่เครื่อง
    คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ชี้ตำาแหน่ง (Pointing Devices)
เมาส์ (Mouse)
        เมำส์มีหลำยขนำดลักษณะต่ำงกันออกไป แต่ทนิยมใช้จะมี
                                                        ี่
   ขนำดเท่ำฝ่ำมือโดยมีส่วนประกอบดังนี้ มีลูกกลมกลิงอยู่ด้ำน
                                                      ้
   ล่ำงหรือเป็นระบบแสง ส่วนด้ำนบนจะมีปุ่มให้กดจำำนวนสอง สำม
   หรือสี่ปุ่ม กำรเลื่อนเมำส์ให้ลกกลมด้ำนล่ำงหมุน เพื่อเป็นกำร
                                 ู
   เลือนตัวชี้ตำำแหน่ง (Cursor) บนจอภำพไปยังตำำแหน่งทีต้องกำร
      ่                                                    ่
   บนจอภำพ
 การควบคุม
 กำรกดปุ่ม (Click)
 กดปุ่มซ้อนสองครั้ง (Double Click)
 กดปุ่มขวำ (Right Click)
 กำรลำกแล้ววำง (Drag and Drop)
ลูกกลมควบคุม (Track ball), แท่งชี้ควบคุม (Track Point),
   แผ่นรองสัมผัส
Touch pad)
         อุปกรณ์ทงสำมแบบนีมักพบในเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพก
                  ั้         ้
   พำเพื่อทำำหน้ำที่แทนเมำส์ เนืองจำกสำมำรถติดไว้กับตัวเครื่อง
                                ่
   ได้เลย ทำำให้พกพำได้สะดวกกว่ำ และใช้เนือที่ในกำรทำำงำน
                                               ้
   น้อยกว่ำเมำส์ อุปกรณ์ทั้งสำมแบบจะมีลกษณะที่แตกต่ำงกัน คือ
                                           ั
 ลูกกลมควบคุม จะเป็นลูกบอลเล็ก ๆ ซึ่งอำจวำงอยู่หน้ำจอใน
   เนือที่ของแป้นพิมพ์ หรือเป็นอุปกรณ์ต่ำงหำกเช่นเดียวกับเมำส์
       ้
   เมื่อผูใช้หมุนลูกบอลก็จะเป็นกำรเลื่อนตำำแหน่งของตัวชี้
          ้
   ตำำแหน่งบนจอภำพ มีหลักกำรทำำงำนเช่นเดียวกับเมำส์
 แท่งชี้ควบคุม จะเป็นแท่งพลำสติกเล็ก ๆ อยู่ตรงกลำงแป้น
   พิมพ์ บังคับโดยใช้นวหัวแม่มือ เพื่อเลื่อนตำำแหน่งของตัวชี้
                       ิ้
   ตำำแหน่งบนจอภำพเช่นเดียวกับเมำส์

จอยสติก (Joy Stick)
     จอยสติก จะเป็นก้ำนสำำหรับใช้โยกขึ้นลง /
 ซ้ำยขวำ เพื่อย้ำยตำำแหน่งของตัวชีตำำแหน่งบน
                                  ้
 จอภำพ มีหลักกำรทำำงำนเช่นเดียวกับเมำส์ แต่
 จะมีแป้นกดเพิมเติมมำจำำนวนหนึ่งสำำหรับสังงำน
               ่                         ่
 พิเศษ นิยมใช้กับกำรเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์
 หรือควบคุมหุ่นยนต์
จอภาพระบบไวต่อการสัมผัส (Touch-Sensitive
  Screen)
จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen)
      เป็นจอภำพแบบพิเศษซึงผู้ใช้เพียงแตะปลำยนิ้วลง
                             ่
  บนจอภำพในตำำแหน่งที่กำำหนดไว้ เพื่อเลือกกำร
  ทำำงำนที่ต้องกำรแทนกำรใช้ Mouse หรือ Keyboard
  ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหำว่ำผูใช้เลือกทำงเลือกใด
                                    ้
  และทำำงำนให้ตำมนั้น หลักกำรนี้นิยมใช้กับเครื่อง
  ไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
  ไม่คล่องนักสำมำรถเลือกข้อมูลที่ต้องกำรได้อย่ำง
  สะดวกรวดเร็ว จะพบกำรใช้งำนมำกในร้ำนอำหำรแบบ
ระบบปากกาแสดง (Pen-Based System)
ปากกาแสง (Light pen)
      ใช้เซลล์แบบ Photoelectric ซึ่งมีควำมไว
  ต่อแสงเป็นตัวกำำหนดตำำแหน่งบนจอภำพ รวม
  ทั้งสำมำรถใช้วำดลักษณะหรือรูปแบบของ
  ข้อมูลให้ปรำกฏบนจอภำพ กำรใช้งำนทำำได้
  โดยกำรแตะปำกกำแสงไปบนจอภำพตำม
  ตำำแหน่งที่ตองกำรนิยมใช้กับงำนคอมพิวเตอร์
              ้
  ช่วยกำรออกแบบ (Computer Aided Design หรือ
  CAD) รวมทั้งนิยมใช้เป็นอุปกรณ์ปอนข้อมูลโดย
                                 ้
  กำรเขียนด้วยมือ ในคอมพิวเตอร์ขนำดเล็ก เช่น
เครื่องอ่านพิกัด (Digitizing tablet)
      ประกอบด้วยกระดำษที่มี เส้นแบ่ง (Grid) ซึ่ง
  สำมำรถใช้ปำกกำเฉพำะที่เรียกว่ำ Stylus ชีไป
                                          ้
  บนกระดำษนั้น เพือส่งข้อมูลตำำแหน่งเข้ำไปยัง
                   ่
  คอมพิวเตอร์ ปรำกฏเป็นลำยเส้นบนจอภำพ เป็น
  อุปกรณ์อีกชนิดหนึงที่นยมใช้กับงำนด้ำน CAD
                     ่  ิ
  เช่น ใช้ในกำรออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่ ตึกอำคำร
  อุปกรณ์ทำงกำรแพทย์ และหุ่นยนต์ เป็นต้น
อุปกรณ์กวาดข้อมูล (Data Scanning Devices)
      เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ ระบบกำรวิเครำะห์แสง
  (Optical recognition systems) ซึ่งช่วยให้มีกำร
  พิมพ์ข้อมูลเข้ำน้อยที่สด อุปกรณ์ประเภทนี้จะ
                          ุ
  อ่ำนข้อมูลเข้ำสูเครื่องคอมพิวเตอร์ดวยกำรใช้
                    ่                   ้
  ลำำแสงกวำดผ่ำนข้อควำมหรือสัญลักษณ์ต่ำง ๆ
  ที่พิมพ์ไว้ เพื่อนำำไปแยกแยะรูปแบบต่อไป ใน
  ปัจจุบันมีกำรประยุกต์ใช้ในงำนต่ำง ๆ กันมำก
  โดยมีอุปกรณ์ที่ได้รับควำมนิยม คือ
   เอ็มไอซีอาร์ (Magnetic Ink Character Recognition –
    MICR)
          ปัจจุบันมีจำำนวนผูนยมใช้เช็คมำกขึ้น จึงมีผู้คดค้นวิธีกำร
                            ้ ิ                          ิ
    ตรวจสอบเช็คให้รวดเร็วมีประสิทธิภำพ และเชื่อถือได้ โดยได้
    คิดประดิษฐ์เครื่อง MICR ขึ้นใช้ในธนำคำรสำำหรับตรวจสอบเช็ค
    เครื่องจะทำำกำรเข้ำรหัสธนำคำร รหัสสำขำ เลขทีบัญชี และเลข
                                                       ่
    ทีเช็ค ไว้ในเช็คทุกใบ จำกนันจึงส่งเช็คให้ลูกค้ำ ตัวเลขที่เข้ำ
      ่                             ้
    รหัสไว้จะเรียกว่ำ เลขเอ็มไอซีอำร์ (MICR number) ในเช็คทุกใบ
    จะมีเลข MICR สีดำำชัดเจนที่ด้ำนล่ำงซ้ำยของเช็คเสมอ และ
    หลังจำกที่เช็คนันกลับมำสู่ธนำคำรอีกครั้ง ก็จะทำำกำรตรวจสอบ
                        ้
    จำกเลข MICR ว่ำเป็นเช็คของลูกค้ำคนนันจริงหรือไม่ เครื่อง
                                              ้
    MICR ไม่เป็นทีนิยมใช้กบงำนประเภทอื่น เพรำะชุดของตัวอักษร
                      ่         ั
    ทีเก็บได้มีสัญลักษณ์เพียง 14 ตัวเท่ำนันข้อดีของเครื่อง MICR
        ่                                 ้
    คือมีมนุษย์เข้ำมำเกี่ยวข้องน้อย ทำำให้มีเปอร์เซ็นต์ควำมผิด
    พลำดตำ่ำมำกรหัส MICR ทีใช้สำมำรถอ่ำนได้ทงคน และเครื่อง
                                  ่                 ั้
   เครืองอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader)
         ่
           เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1970 โดยจะพิมพ์รหัสสินค้ำนั้น ๆ
    ออกมำในรูปของแถบสีดำำและขำวต่อเนื่องกันไป เรียก
    ว่ำ รหัสแท่ง (Bar Code) จำกนั้นจะสำมำรถใช้เครื่อง
    อ่ำนบำร์โค้ดอ่ำนข้อมูลบนแถบ เพื่อเรียกข้อมูลของ
    รำยกำรสินค้ำนั้น เช่น รำคำสินค้ำ จำำนวนที่เหลืออยู่ใน
    คลังสินค้ำ เป็นต้น ออกมำจำกฐำนข้อมูล แล้วจึง
    ทำำกำรประมวลผลข้อมูลรำยกำรนั้นและทำำงำนต่อไป
    มำตรฐำนของบำร์โค้ดที่ใช้กันในปัจจุบันจะประกอบ
    ด้วยมำตรฐำน UPC (Universal Product Code) และ
    มำตรฐำน Code 39 (Three of Nine)
   สแกนเนอร์ (Scanner)
        เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่ำนหรือ สแกน (Scan)
    ข้อมูลบนเอกสำรเข้ำสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดย
    เอกสำรที่อ่ำนอำจจะประกอบด้วยข้อควำมหรือ
    รูปภำพกรำฟิกก็ได้ เทคโนโลยีที่ใช้ในกำรสแกน
    แยกได้เป็น สองแบบ คือ
          CCD (Charge Couple Device) โดยเครื่องสแกนเนอร์จะ
           ส่องแสงผ่ำนฟิลเตอร์สีแดงเขียวและนำ้ำเงินไปยังวัตถุที่
           ต้องกำรสแกน แสงทีส่องไปยังวัตถุจะถูกสะท้อนผ่ำน
                             ่
           กระจกและเลนส์กลับมำยัง CCD ซึ่งเป็น เซลล์ไวแสงที่
           จะทำำกำรตรวจสอบจับควำมเข้มข้นของแสงและแปลงให้
   CIS (Contact Image Sensor) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้หลอด
    LED สีแดง เขียวและนำ้ำเงินในกำรสร้ำงแสงสีขำวที่ใช้ใน
    กำรสแกน และทำำกำรรับแสงสะท้อนจำกวัตถุทถูกสแกนี่
    โดยไม่ตองผ่ำนกระจกและเลนส์ ทำำให้สแกนเนอร์ที่ใช้
             ้
    เทคโนโลยีนมีขนำดเล็ก นำ้ำหนักเบำ และรำคำถูก แต่
                 ี้
    คุณภำพในกำรสแกนจะด้อยกว่ำแบบ CCD ควำมละเอียด
    ในกำรสแกน มีหน่วยเป็น จุดต่อนิว (dot per inch) หรือ ดี
                                      ้
    พีไอ (dpi) กำรวัดค่ำควำมละเอียดในสแกนเนอร์กระทำำได้
    2 แบบ คือ Optical Resolution ซึ่งเป็นค่ำควำมละเอียด
    ทีแท้จริงของสแกนเนอร์ที่ตัว CCD สำมำรถกระทำำได้
       ่
    และ Interpolate resolution จะเป็นควำมละเอียดที่เพิ่มสูง
    ขึ้น โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในกำรเพิ่มจุดให้แก่ภำพที่
    สแกนจำำนวนบิตทีใช้แทนค่ำสี (Bit depth)
                     ่
สแกนเนอร์สามารถแบ่งตามวิธีใช้งานได้เป็นแบบ
    ต่าง ๆ คือ
   สแกนเนอร์มือถือ (Handhelp scanner) มีขนำดเล็ก
    สำมำรถพกพำได้สะดวก กำรใช้สแกนเนอร์รุ่นมือถือนี้
    ผูใช้ต้องถือตัวสแกนกวำดไปบนภำพหรือวัตถุที่
      ้
    ต้องกำร
   สแกนเนอร์แบบสอดกระดำษ (Sheet-fed scanner) เป็น
    สแกนเนอร์ที่ผู้ใช้ตองสอดภำพหรือเอกสำรเข้ำไปยัง
                       ้
    ช่องสำำหรับอ่ำนข้อมูล (Scan head) เครื่องชนิดนี้จะ
    เหมำะสำำหรับกำรอ่ำนเอกสำรที่เป็นแผ่น ๆ แต่ไม่
    สำมำรถอ่ำนเอกสำรที่เย็บเป็นเล่มได้
   สแกนเนอร์แบบแท่น (Flatbed scanner) เป็นสแกนเนอร์
    ที่นิยมใช้กนมำกที่สุดในปัจจุบัน ผูใช้เพียงวำงกระดำษ
               ั                      ้
    ต้นฉบับที่ตองกำรไปบนเครื่องสแกนเนอร์ มีวิธีกำร
                 ้
   เครื่องรู้จำาอักขระด้วยแสง (Optical
    Character Recognition – OCR)
        โอซีอำร์ เป็นอุปกรณ์สำำหรับอ่ำนข้อมูลที่เป็น
    ตัวอักขระบนเอกสำรต่ำง ๆ และทำำกำรแปลง
    ข้อมูลแบบดิจิตอลที่อ่ำนได้ไปเป็นตัวอักษรโดย
    อัตโนมัติ โอซีอำร์อำจเป็นได้ทั้งอุปกรณ์เฉพำะ
    สำำหรับแปลงเอกสำรเข้ำสูคอมพิวเตอร์ หรืออำจ
                             ่
    หมำยถึงซอฟต์แวร์สำำหรับวิเครำะห์ตัวอักษรจำก
    ข้อมูลที่ได้จำกสแกนเนอร์ก็ได้
   เครื่องอ่านเครื่องหมายด้วยแสง (Optical
    Mark Reader-OMR)
          โอเอ็มอำร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้หลักกำรอ่ำน
    สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมำยที่ระบำยด้วยดินสอ
    ดำำลงในตำำแหน่งที่กำำหนด ตัวอย่ำงเช่น ข้อสอบ
    แบบเลือกคำำตอบ เป็นต้น โดยดินสอดำำที่ใช้นน     ั้
    ต้องมี สำรแม่เหล็ก (Magnetic particle) จำำนวน
    หนึง เพื่อให้เครื่องโอเอ็มอำร์สำมำรถรับรู้ได้ ซึ่ง
        ่
    โดยปกติแล้วจะใช้ดินสอ 2B จำกนั้น เครื่องโอ
    เอ็มอำร์ก็จะอ่ำนข้อมูลตำมเครื่องหมำยที่มีกำร
    ระบำยด้วยดินสอดำำ
กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (Digital Camera)
      เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับถ่ำยภำพแบบไม่ต้องใช้
 ฟิล์ม โดยเก็บภำพที่ถำยไว้ในลักษณะดิจิตอลด้วย
                        ่
 อุปกรณ์ CCD (Charge Coupled Device) หรืออุปกรณ์
 CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor)
 ภำพที่ได้จะประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ จำำนวนมำก กล้อง
 ดิจิตอลในปัจจุบันจะมีควำมละเอียดของรูปที่ถำยใน่
 ระดับ 1 ล้ำนจุด (Pixel) ไปจนถึง 5 ล้ำนจุด ซึงรูปที่ถำย
                                             ่       ่
 มำจะสำมำรถนำำเข้ำเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งำนได้
 ทันทีโดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์สแกนเนอร์อีก
กล้องถ่ายทอดวิดีโอดิจิตอล (Digital Video)
      เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับบันทึกภำพ
 เคลื่อนไหวและเก็บเป็นข้อมูลแบบดิจิตอลนิยม
 ใช้ในกำรทำำกำรประชุมทำงไกลผ่ำนวิดโอ    ี
 (Video Teleconference) ซึ่งเป็นกำรประชุมผ่ำน
 เครือข่ำยคอมพิวเตอร์ เช่น อินเตอร์เน็ตหรือ
 อินทรำเน็ต เป็นต้น อย่ำงไรก็ดี กล้องถ่ำยทอด
 วิดีโอแบบดีจิตอลยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น โดย
 สำมำรถเก็บภำพเคลื่อนไหวได้ประมำณ 10-15
 เฟรมต่อวินำทีเท่ำนัน ้
อุปกรณ์รจำาเสียง (Voice Recognition Device)
          ู้
      กำรสื่อสำรกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในรูปของเสียง
  เป็นอีกขันตอนของกำรพัฒนำทำงเทคโนโลยี ถึงแม้ใน
             ้
  ปัจจุบันนี้ยังมีปัญหำอยูบ้ำงก็ตำม อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น
                            ่
  อุปกรณ์วเคราะห์เสียงพูด (Speech Recognition
               ิ
  Device)
      เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนำโดยนักคอมพิวเตอร์และนัก
  ภำษำศำสตร์ เพื่อใช้รับสัญญำณ เสียงที่มนุษย์พูดและ
  แปลงเป็นสัญญำณดิจิตอลเก็บเป็นข้อมูลไว้ใน
  คอมพิวเตอร์ ปัญหำที่สำำคัญของอุปกรณ์ชนิดนี้คือ ผู้
  พูดแต่ละคนจะพูดด้วยนำ้ำเสียงและสำำเนียงเฉพำะของ
  แต่ละบุคคล จึงได้มีกำรแก้ปัญหำโดยให้คอมพิวเตอร์
  ได้เรียนรู้เสียงของผู้ที่ต้องกำรใช้งำนในระยะเวลำหนึ่ง
  ก่อน เพื่อเก็บรูปแบบของนำ้ำเสียงและสำำเนียงไว้
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
        หน่วยแสดงผลคืออุปกรณ์ที่ทำำหน้ำที่แสดง
    ผลลัพธ์จำกคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้เป็นสอง
    ประเภท คือ
   หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy)
        หมำยถึงกำรแสดงผลออกมำให้ผู้ใช้ได้รับ
    ทรำบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกกำรทำำงำนหรือเลิก
    ใช้แล้วผลนั้นก็หำยไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บ
    ได้ แต่ถ้ำต้องกำรเก็บผลลัพธ์นนก็สำมำรถส่ง
                                 ั้
    ถ่ำยไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูล
    สำำรอง เพื่อให้สำมำรถนำำมำใช้งำนในภำยหลัง
จอภาพ (Monitor)
    ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้
 ทันที มีรูปร่ำงคล้ำยจอภำพของโทรทัศน์ บน
 จอภำพประกอบด้วยจุดจำำนวนมำก เรียกจุด
 เหล่ำนั้นว่ำ พิกเซล (Pixel) ถ้ำมีพิกเซลจำำนวน
 มำกก็จะทำำให้ผู้ใช้มองเห็นภำพบนจอได้ชดเจน ั
 มำกขึ้น จอภำพที่ใช้ในปัจจุบันแบ่งได้เป็นสอง
 ประเภท คือ
   จอซีอำร์ที (Cathode Ray Tube) นิยมใช้กับเครื่องไมโคร
    คอมพิวเตอร์ส่วนมำกในปัจจุบัน ใช้หลักกำรยิงแสงผ่ำนหลอด
    ภำพคล้ำยกับเครื่องรับโทรทัศน์
   จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display) นิยมใช้เป็นจอภำพของ
    เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพำ เป็นจอภำพที่ใช้หลักกำรเรือง
    แสงเมื่อผ่ำนกระแสไฟฟ้ำเข้ำไปในผลึกเหลว ทำำให้จอภำพมี
    ควำมหนำไม่มำก นำ้ำหนักเบำและกินไฟน้อยกว่ำจอภำพซีอำร์ที
    แต่มีรำคำสูงกว่ำ เทคโนโลยีจอแอลซีดีในปัจจุบันจะมีสองแบบ
    คือ Passive Matrix ซึ่งมีรำคำตำ่ำแต่จะขำดควำมคมชัดและอำจม
    องไม่เห็นภำพเมื่อผู้ใช้มองจำกบำงมุม และActive Matrix หรือ
    บำงครั้งอำจเรียกว่ำ Thin File Transistor (TFT) จะให้ภำพที่คม
    ชัดกว่ำแต่จะมีรำคำสูงกว่ำ ในปัจจุบันจอภำพแบบ TFT เริ่มนิยม
    นำำมำใช้แทนจอภำพ CRT มำกขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจำกรำคำเริ่มตำ่ำ
    ลง ในขณะที่มีข้อดีคอใช้เนือที่ในกำรวำงน้อย นำ้ำหนักเบำ กิน
                          ื     ้
    ไฟตำ่ำ และมีกำรแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้ำออกมำน้อยมำก
อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector)
             เป็นอุปกรณ์ทนิยมใช้ในกำรเรียนกำรสอนหรือกำรประชุม
                         ี่
   เนืองจำกสำมำรถนำำเสนอข้อมูลให้แก่ผู้ชมจำำนวนมำกเห็นพร้อม
       ่
   ๆ กัน อุปกรณ์ฉำยภำพในปัจจุบันจะมีอยู่หลำยแบบ ทั้งที่
   สำมำรถต่อสัญญำณจำกคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือใช้อุปกรณ์
   พิเศษในกำรวำงลงบนเครื่องฉำยภำพข้ำมศีรษะ (OverHead
   Projector) ธรรมดำ เหมือนกับอุปกรณ์นั้นเป็นแผ่นใส อุปกรณ์
   ฉำยภำพจะมีข้อแตกต่ำงกันมำกในเรื่องของกำำลังแสงสว่ำง
   เนืองจำกยิ่งมีกำำลังส่องสว่ำงสูงภำพที่ได้ก็จะชัดเจนมำกขึ้น
         ่
   กำำลังส่องสว่ำงมีหน่วยวัดค่ำอยู่ 3 แบบ คือ LUX, LUMEN และ
   ANSI LUMEN โดยกำรวัดแบบ LUX จะวัดค่ำควำมสว่ำงทีจุด        ่
   กึ่งกลำงของภำพ จึงได้คำควำมสว่ำงสูงทีสุดเมื่อเทียบกับอีก 2
                               ่              ่
   แบบ กำรวัดแบบ LUMEN จะแบ่งภำพออกเป็น 3 ส่วน คือ บน
   กลำงและล่ำง และแต่ละส่วนจะถูกแบ่งออกเป็น 3 จุด คือ ริม
   ซ้ำย กลำง และริมขวำ รวมจุดภำพทั้งหมด 9 จุด แล้วจึงใช้คำ     ่
   เฉลียของควำมสว่ำงทัง 9 จุด คิดออกมำเป็นค่ำ LUMEN ส่วน
           ่                 ้
   กำรวัดแบบ ANSI LUMEN จะมีมำตรฐำนสูงสุด โดยใช้วิธีเดียว
อุปกรณ์เสียง (Audio Output)
      หน่วยแสดงเสียง ซึงประกอบขึ้นจำก ลำำโพง
                         ่
  (Speaker) และกำร์ดเสียง (Sound card) เพื่อให้ผใช้
                                                ู้
  สำมำรถฟังเพลงในขณะทำำงำน หรือให้เครื่อง
  คอมพิวเตอร์รำยงำนเป็นเสียงให้ทรำบเมื่อเกิดปัญหำ
  ต่ำง ๆ เช่น ไม่มีกระดำษในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น รวมทั้ง
  สำมำรถเล่นเกมส์ที่มีเสียงประกอบได้อย่ำงสนุกสนำน
  โดยลำำโพงจะมีหน้ำที่ในกำรแปลงสัญญำณจำก
  คอมพิวเตอร์ให้เป็นเสียงเช่นเดียวกับลำำโพงวิทยุ ส่วน
  กำร์ดเสียงจะเป็นแผงวงจรเพิ่มเติมที่นำำมำเสียบกับช่อง
  เสียบขยำยในเมนบอร์ดเพื่อช่วยให้คอมพิวเตอร์
  สำมำรถส่งสัญญำณเสียงผ่ำนลำำโพง รวมทั้งสำมำรถ
  ต่อไมโครโฟนเข้ำมำที่กำร์ดเพื่อบันทึกเสียงเก็บไว้ด้วย
  เทคโนโลยีด้ำนเสียงสำมำรถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
  Waveform audio หรือเรียกว่ำ Digital audio และMIDI
   หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy)
        หมำยถึงกำรแสดงผลที่สำมำรถจับต้อง และ
    เคลื่อนย้ำยได้ตำมต้องกำร มักจะออกมำในรูป
    ของกระดำษ ซึ่งผู้ใช้สำมำรถนำำไปใช้ในที่ต่ำง ๆ
    หรือให้ผู้ร่วมงำนดูในที่ใด ๆ ก็ได้ อุปกรณ์ที่ใช้
    เช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้
    กันมำก และมีให้เลือกหลำกหลำยชนิดขึ้นกับ
    คุณภำพและควำมละเอียดของกำรพิมพ์
    ควำมเร็วในกำรพิมพ์ ขนำดกระดำษสูงสุดที่
    สำมำรถพิมพ์ได้ และเทคโนโลยีที่ใช้ในกำร
เครื่องพิมพ์สำมำรถแบ่งตำมวิธกำรพิมพ์ได้เป็นสองชนิด คือ
                              ี
  1. เครื่องพิมพ์ชนิดตอก (Impact printer) ใช้กำรตอกให้คำร์บอน
  บนผ้ำหมึกติดบนกระดำษตำมรูปแบบที่ต้องกำร สำมำรถพิมพ์
  สำำเนำ (Copy) ครั้งละหลำยชุดโดยใช้กระดำษคำร์บอนวำง
  ระหว่ำงกระดำษแต่ละแผ่น ควำมเร็วในกำรพิมพ์ของเครื่องพิมพ์
  ประเภทนีจะมีหน่วยเป็นบรรทัดต่อวินำที (lpm-line per minute)
             ้
  ข้อเสียของเครื่องพิมพ์ชนิดนี้กคือ มีเสียงดังและคุณภำพงำน
                                 ็
  พิมพ์ที่ได้จะไม่ดนัก สำมำรถแบ่งเป็น 2 ชนิดย่อย คือ
                   ี
 เครื่องพิมพ์อักษร (Character printer) หมำยถึงเครื่องพิมพ์ดดที่
                                                             ี
  พิมพ์ครั้งละหนึ่งตัวอักษรเท่ำนั้น ตัวอักษรแต่ละตัวจะถูกสร้ำงขึ้น
  จำกจุดเล็ก ๆ จำำนวนมำก จึงสำมำรถเรียกอีกอย่ำงว่ำ
  เครื่องพิมพ์แบบจุด (Dot matrix printer) นิยมใช้กับเครื่องไมโคร
  คอมพิวเตอร์
 เครื่องพิมพ์บรรทัด (Line printer) หมำยถึงเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ครั้ง
  ละหนึงบรรทัด เป็นเครื่องพิมพ์ทใช้งำนได้รวดเร็ว แต่จะมีรำคำ
          ่                        ี่
  สูง นิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่ หรือเครื่องพิมพ์ที่มี
  ผูใช้หลำยคน
      ้
2. เครื่องพิมพ์ชนิดไม่ตอก (Non impact printer) ใช้
    เทคนิคกำรพิมพ์จำกวิธีกำรทำงเคมี ซึงทำำให้พิมพ์ได้
                                           ่
    เร็วและคมชัดกว่ำชนิดตอก พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรและ
    กรำฟฟิก รวมทั้งไม่มีเสียงขณะพิมพ์ แต่มีข้อจำำกัดคือ
    ไม่สำมำรถพิมพ์กระดำษสำำเนำ (Copy) ได้ ควำมเร็วใน
    กำรพิมพ์ของเครืองพิมพ์ประเภทนี้จะมีหน่วยเป็นหน้ำ
                     ่
    ต่อนำที (PPM-page per minute) และสำมำรถแบ่งออก
    เป็นประเภทต่ำง ๆ คือ
   เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) ทำำงำนคล้ำยเครื่อง
    ถ่ำยเอกสำร คือใช้แสงเลเซอร์สร้ำงประจุไฟฟ้ำ ซึงจะมี
                                                     ่
    ผลให้โทนเนอร์ (Toner) สร้ำงภำพที่ต้องกำรและพิมพ์
    ภำพนั้นลงบนกระดำษ เครื่องพิมพ์เลเซอร์แต่ละรุ่นจะ
    แตกต่ำงกันในด้ำนควำมเร็วและควำมละเอียดของงำน
   เครื่องพิมพ์ฉีดหมึก (Inkjet Printer) ได้รับควำมนิยมอย่ำงมำกใน
    ปัจจุบัน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรใช้กบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
                                           ั
    เนืองจำกสำมำรถพิมพ์สีได้ ถึงแม้จะไม่คมชัดเท่ำเครื่องพิมพ์
       ่
    ชนิดเลเซอร์ แต่ก็คมชัดกว่ำเครื่องพิมพ์ตอก สำมำรถพิมพ์รูปได้
    คุณภำพใกล้เคียงกับภำพถ่ำย และมีรำคำถูกกว่ำเครื่องพิมพ์
    ชนิดเลเซอร์ เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกในปัจจุบันจะมีคณภำพใน  ุ
    กำรพิมพ์ตำงกันไปตำมเทคโนโลยีกำรฉีดหมึกและจำำนวนสีทใช้
                ่                                                   ี่
    โดยรุ่นทีมีรำคำตำ่ำมักใช้หมึกพิมพ์สำมสี คือ นำ้ำเงิน (cyan) , ม่วง
              ่
    แดง (magenta) และเหลือง (yellow) ซึ่งสำมำรถผสมสีออกมำ
    เป็นสีตำง ๆ ได้ แต่จะให้คุณภำพของสีดำำที่ไม่ดนัก จึงมี
            ่                                           ี
    เครื่องพิมพ์ทให้คุณภำพสูงกว่ำทีเพิ่มสีที่ 4 เข้ำไปคือ สีดำำ
                   ี่                    ่
    (black) เครื่องพิมพ์ฉีดหมึกในปัจจุบันโดย มำกจะใช้สีนเป็นหลัก
                                                               ี้
    แต่จะมีเครื่องพิมพ์อีกระดับทีเรียกว่ำเครื่องพิมพ์สำำหรับภำพถ่ำย
                                     ่
    (Photo printer) ที่จะเพิ่มสีนำ้ำเงินอ่อน (light cyan) และม่วงแดง
    อ่อน (light magenta) เป็น 6 สีเพื่อเพิ่มควำมละเอียดในกำรไล่เฉด
    สีภำพถ่ำยให้เหมือนจริงยิ่งขึ้น และบำงรุ่นก็จะมีกำรเพิ่มสีที่ 7
   เครื่องพิมพ์เทอร์มอล (Thermal printer) เป็น
    เครื่องพิมพ์ที่ให้คณภำพในกำรพิมพ์สงสุดจะมี 2
                       ุ                 ู
    ประเภท คือ Thermal wax transfer ให้คุณภำพ
    และรำคำที่ตำ่ำกว่ำ ทำำงำนโดยกำรกลิ้งริบบอนที่
    เคลือบแวกซ์ไปบนกระดำษ แล้วเพิ่มควำมร้อน
    ให้กับริบบอนจนแวกซ์นนละลำยและเกำะติดอยู่
                             ั้
    บนกระดำษ ส่วน Thermal dye transfer ใช้หลัก
    กำรเดียวกับ thermal wax แต่ใช้สย้อมแทน wax
                                    ี
    จะเป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้คุณภำพสูงสุด โดย
    สำมำรถพิมพ์ภำพสีได้ใกล้เคียงกับภำพถ่ำย แต่
เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)
      ใช้วำดหรือเขียนภำพสำำหรับงำนที่ต้องกำร
  ควำมละเอียดสูง ๆ เนืองจำกพลอตเตอร์จะใช้
                         ่
  ปำกกำในกำรวำดเส้นสำยต่ำง ๆ ทำำให้ได้เส้นที่
  ต่อเนื่องกันตลอด ในขณะที่เครื่องพิมพ์ทั่วไปจะ
  ใช้วิธพิมพ์จุดเล็ก ๆ ประกอบขึ้นเป็นเส้น ทำำให้
        ี
  ได้เส้นที่ไม่ต่อเนืองกันสนิท พลอตเตอร์นิยมใช้
                     ่
  กับงำนออกแบบทำงสถำปัตยกรรมและ
  วิศวกรรมที่ต้องกำรควำมสวยงำมและควำม
  ละเอียดสูง มีให้เลือกหลำกหลำยชนิดโดยจะ
  แตกต่ำงกันในด้ำนควำมเร็ว ขนำดกระดำษ และ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์Guntima Pisaidsin
 
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐานความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐานAnny Choosaeng
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4tttotongg
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์jennysarida
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นNoppakhun Suebloei
 
Chapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output DevicesChapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output DevicesAdul Yimngam
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างsrilakorn
 
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตการจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตThanaporn Singsuk
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์kruchanon2555
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technologyNittaya Intarat
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลskiats
 
ส่วนรับข้อมูล
ส่วนรับข้อมูลส่วนรับข้อมูล
ส่วนรับข้อมูลsaysey
 
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผลอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผลปุ๋ย อิศริยา
 

Mais procurados (18)

อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐานความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
ความรู้ คอมพิวเตอร์ พื้นฐาน
 
Onet-Work3-09
Onet-Work3-09Onet-Work3-09
Onet-Work3-09
 
H wintegration
H wintegrationH wintegration
H wintegration
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สื่อการสอน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Com
ComCom
Com
 
Chapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output DevicesChapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output Devices
 
เนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่างเนื้อหาตัวอย่าง
เนื้อหาตัวอย่าง
 
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตการจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
 
ส่วนรับข้อมูล
ส่วนรับข้อมูลส่วนรับข้อมูล
ส่วนรับข้อมูล
 
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผลอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
 

Destaque

บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
General Overview of Gil University
General Overview of Gil UniversityGeneral Overview of Gil University
General Overview of Gil Universitytommo42
 
OIA administration
OIA administrationOIA administration
OIA administrationtechmeonline
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Alena_Stog
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำPokypoky Leonardo
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Alena_Stog
 
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...vincenzo santalucia
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 

Destaque (17)

บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
General Overview of Gil University
General Overview of Gil UniversityGeneral Overview of Gil University
General Overview of Gil University
 
OIA administration
OIA administrationOIA administration
OIA administration
 
Roba
RobaRoba
Roba
 
Preposiciones en dativo y acusativo
Preposiciones en dativo y acusativoPreposiciones en dativo y acusativo
Preposiciones en dativo y acusativo
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำบทที่ 5.หน่วยความจำ
บทที่ 5.หน่วยความจำ
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
Ruссola video 2012
Ruссola video 2012Ruссola video 2012
Ruссola video 2012
 
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
SPAZI FISICI E SPAZI POSSIBILI - COME I VIDEOGIOCHI BILANCIANO GRATIFICAZIONE...
 
KrutoTop.com
KrutoTop.comKrutoTop.com
KrutoTop.com
 
Marshmallow design challenge
Marshmallow design challengeMarshmallow design challenge
Marshmallow design challenge
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Gameplay Concept Tool
Gameplay Concept ToolGameplay Concept Tool
Gameplay Concept Tool
 
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศบทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
บทที่ 8. ประเภทของระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 

Semelhante a บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต

ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์natthaphorn_thepyoo
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์jennysarida
 
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์พัน พัน
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์khomkritzana
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์wannipharkhao
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์wannipharkhao
 
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผลอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผลปุ๋ย อิศริยา
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Kainuy Supranee Thiabpo
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Omm2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Omm2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Omm2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Omm2om138762
 

Semelhante a บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต (20)

หน่วยรับข้อมูล
หน่วยรับข้อมูลหน่วยรับข้อมูล
หน่วยรับข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์3อุปกรณ์คอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์3
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
Work3-09
Work3-09Work3-09
Work3-09
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผลอุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
อุปกรณ์รับข้อมูลและแสดงผล
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Omm2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Omm2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Omm2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Omm2
 

บทที่ 4 อินพุตและเอาท์พุต

  • 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) / หน่วยแสดงผล ข้อมูล (Output Unit)
  • 2. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นหน่วยทำำหน้ำทีรับข้อมูลจำกผู้ใช้เข้ำสู่หน่วยควำมจำำหลัก ่ แบ่งเป็นประเภทต่ำงๆ ดังนี้ อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นหน่วยรับข้อมูลที่นิยมใช้กันมากที่สุด เพราะเป็น อุปกรณ์มาตรฐานในการป้อนข้อมูลสำาหรับเทอร์มินัล และ ไมโครคอมพิวเตอร์ โดยทั่วไปจะมีลักษณะคล้ายแป้นของ เครื่องพิมพ์ดีด แต่มีจำานวนแป้นมากกว่า และถูกแบ่งออก เป็น 4 กลุ่มด้วยกัน คือ  แป้นอักขระ (Character Keys) จะมีลักษณะการจัดวางตัว อักษรเหมือนแป้นเครื่องพิมพ์ดีด  แป้นควบคุม (Control Keys) เป็นแป้นที่มีหน้าที่สั่งการบาง อย่างโดยใช้งานร่วมกับแป้นอื่น
  • 3. แป้นฟังก์ชน (Function Keys) คือแป้นที่อยู่แถวบนสุด มี ั่ ลักษณะเป็น F1, F2,…,F12 ซอฟต์แวร์แต่ละชนิดอำจ กำำหนดแป้นเหล่ำนี้ให้มีหน้ำที่เฉพำะอย่ำงแตกต่ำงกัน ไป  แป้นตัวเลข (Numeric Keys) เป็นแป้นที่แยกจำกแป้น อักขระมำอยู่ทำงด้ำนขวำ มีลักษณะคล้ำยเครื่องคิดเลข ช่วยอำำนวยควำมสะดวกในกำรบันทึกตัวเลขเข้ำสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์
  • 4. อุปกรณ์ชี้ตำาแหน่ง (Pointing Devices) เมาส์ (Mouse) เมำส์มีหลำยขนำดลักษณะต่ำงกันออกไป แต่ทนิยมใช้จะมี ี่ ขนำดเท่ำฝ่ำมือโดยมีส่วนประกอบดังนี้ มีลูกกลมกลิงอยู่ด้ำน ้ ล่ำงหรือเป็นระบบแสง ส่วนด้ำนบนจะมีปุ่มให้กดจำำนวนสอง สำม หรือสี่ปุ่ม กำรเลื่อนเมำส์ให้ลกกลมด้ำนล่ำงหมุน เพื่อเป็นกำร ู เลือนตัวชี้ตำำแหน่ง (Cursor) บนจอภำพไปยังตำำแหน่งทีต้องกำร ่ ่ บนจอภำพ  การควบคุม  กำรกดปุ่ม (Click)  กดปุ่มซ้อนสองครั้ง (Double Click)  กดปุ่มขวำ (Right Click)  กำรลำกแล้ววำง (Drag and Drop)
  • 5. ลูกกลมควบคุม (Track ball), แท่งชี้ควบคุม (Track Point), แผ่นรองสัมผัส Touch pad) อุปกรณ์ทงสำมแบบนีมักพบในเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพก ั้ ้ พำเพื่อทำำหน้ำที่แทนเมำส์ เนืองจำกสำมำรถติดไว้กับตัวเครื่อง ่ ได้เลย ทำำให้พกพำได้สะดวกกว่ำ และใช้เนือที่ในกำรทำำงำน ้ น้อยกว่ำเมำส์ อุปกรณ์ทั้งสำมแบบจะมีลกษณะที่แตกต่ำงกัน คือ ั  ลูกกลมควบคุม จะเป็นลูกบอลเล็ก ๆ ซึ่งอำจวำงอยู่หน้ำจอใน เนือที่ของแป้นพิมพ์ หรือเป็นอุปกรณ์ต่ำงหำกเช่นเดียวกับเมำส์ ้ เมื่อผูใช้หมุนลูกบอลก็จะเป็นกำรเลื่อนตำำแหน่งของตัวชี้ ้ ตำำแหน่งบนจอภำพ มีหลักกำรทำำงำนเช่นเดียวกับเมำส์  แท่งชี้ควบคุม จะเป็นแท่งพลำสติกเล็ก ๆ อยู่ตรงกลำงแป้น พิมพ์ บังคับโดยใช้นวหัวแม่มือ เพื่อเลื่อนตำำแหน่งของตัวชี้ ิ้ ตำำแหน่งบนจอภำพเช่นเดียวกับเมำส์ 
  • 6. จอยสติก (Joy Stick) จอยสติก จะเป็นก้ำนสำำหรับใช้โยกขึ้นลง / ซ้ำยขวำ เพื่อย้ำยตำำแหน่งของตัวชีตำำแหน่งบน ้ จอภำพ มีหลักกำรทำำงำนเช่นเดียวกับเมำส์ แต่ จะมีแป้นกดเพิมเติมมำจำำนวนหนึ่งสำำหรับสังงำน ่ ่ พิเศษ นิยมใช้กับกำรเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ หรือควบคุมหุ่นยนต์
  • 7. จอภาพระบบไวต่อการสัมผัส (Touch-Sensitive Screen) จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen) เป็นจอภำพแบบพิเศษซึงผู้ใช้เพียงแตะปลำยนิ้วลง ่ บนจอภำพในตำำแหน่งที่กำำหนดไว้ เพื่อเลือกกำร ทำำงำนที่ต้องกำรแทนกำรใช้ Mouse หรือ Keyboard ซอฟต์แวร์ที่ใช้จะเป็นตัวค้นหำว่ำผูใช้เลือกทำงเลือกใด ้ และทำำงำนให้ตำมนั้น หลักกำรนี้นิยมใช้กับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยให้ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ ไม่คล่องนักสำมำรถเลือกข้อมูลที่ต้องกำรได้อย่ำง สะดวกรวดเร็ว จะพบกำรใช้งำนมำกในร้ำนอำหำรแบบ
  • 8. ระบบปากกาแสดง (Pen-Based System) ปากกาแสง (Light pen) ใช้เซลล์แบบ Photoelectric ซึ่งมีควำมไว ต่อแสงเป็นตัวกำำหนดตำำแหน่งบนจอภำพ รวม ทั้งสำมำรถใช้วำดลักษณะหรือรูปแบบของ ข้อมูลให้ปรำกฏบนจอภำพ กำรใช้งำนทำำได้ โดยกำรแตะปำกกำแสงไปบนจอภำพตำม ตำำแหน่งที่ตองกำรนิยมใช้กับงำนคอมพิวเตอร์ ้ ช่วยกำรออกแบบ (Computer Aided Design หรือ CAD) รวมทั้งนิยมใช้เป็นอุปกรณ์ปอนข้อมูลโดย ้ กำรเขียนด้วยมือ ในคอมพิวเตอร์ขนำดเล็ก เช่น
  • 9. เครื่องอ่านพิกัด (Digitizing tablet) ประกอบด้วยกระดำษที่มี เส้นแบ่ง (Grid) ซึ่ง สำมำรถใช้ปำกกำเฉพำะที่เรียกว่ำ Stylus ชีไป ้ บนกระดำษนั้น เพือส่งข้อมูลตำำแหน่งเข้ำไปยัง ่ คอมพิวเตอร์ ปรำกฏเป็นลำยเส้นบนจอภำพ เป็น อุปกรณ์อีกชนิดหนึงที่นยมใช้กับงำนด้ำน CAD ่ ิ เช่น ใช้ในกำรออกแบบรถยนต์รุ่นใหม่ ตึกอำคำร อุปกรณ์ทำงกำรแพทย์ และหุ่นยนต์ เป็นต้น
  • 10. อุปกรณ์กวาดข้อมูล (Data Scanning Devices) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ ระบบกำรวิเครำะห์แสง (Optical recognition systems) ซึ่งช่วยให้มีกำร พิมพ์ข้อมูลเข้ำน้อยที่สด อุปกรณ์ประเภทนี้จะ ุ อ่ำนข้อมูลเข้ำสูเครื่องคอมพิวเตอร์ดวยกำรใช้ ่ ้ ลำำแสงกวำดผ่ำนข้อควำมหรือสัญลักษณ์ต่ำง ๆ ที่พิมพ์ไว้ เพื่อนำำไปแยกแยะรูปแบบต่อไป ใน ปัจจุบันมีกำรประยุกต์ใช้ในงำนต่ำง ๆ กันมำก โดยมีอุปกรณ์ที่ได้รับควำมนิยม คือ
  • 11. เอ็มไอซีอาร์ (Magnetic Ink Character Recognition – MICR) ปัจจุบันมีจำำนวนผูนยมใช้เช็คมำกขึ้น จึงมีผู้คดค้นวิธีกำร ้ ิ ิ ตรวจสอบเช็คให้รวดเร็วมีประสิทธิภำพ และเชื่อถือได้ โดยได้ คิดประดิษฐ์เครื่อง MICR ขึ้นใช้ในธนำคำรสำำหรับตรวจสอบเช็ค เครื่องจะทำำกำรเข้ำรหัสธนำคำร รหัสสำขำ เลขทีบัญชี และเลข ่ ทีเช็ค ไว้ในเช็คทุกใบ จำกนันจึงส่งเช็คให้ลูกค้ำ ตัวเลขที่เข้ำ ่ ้ รหัสไว้จะเรียกว่ำ เลขเอ็มไอซีอำร์ (MICR number) ในเช็คทุกใบ จะมีเลข MICR สีดำำชัดเจนที่ด้ำนล่ำงซ้ำยของเช็คเสมอ และ หลังจำกที่เช็คนันกลับมำสู่ธนำคำรอีกครั้ง ก็จะทำำกำรตรวจสอบ ้ จำกเลข MICR ว่ำเป็นเช็คของลูกค้ำคนนันจริงหรือไม่ เครื่อง ้ MICR ไม่เป็นทีนิยมใช้กบงำนประเภทอื่น เพรำะชุดของตัวอักษร ่ ั ทีเก็บได้มีสัญลักษณ์เพียง 14 ตัวเท่ำนันข้อดีของเครื่อง MICR ่ ้ คือมีมนุษย์เข้ำมำเกี่ยวข้องน้อย ทำำให้มีเปอร์เซ็นต์ควำมผิด พลำดตำ่ำมำกรหัส MICR ทีใช้สำมำรถอ่ำนได้ทงคน และเครื่อง ่ ั้
  • 12. เครืองอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader) ่ เริ่มใช้ในปี ค.ศ. 1970 โดยจะพิมพ์รหัสสินค้ำนั้น ๆ ออกมำในรูปของแถบสีดำำและขำวต่อเนื่องกันไป เรียก ว่ำ รหัสแท่ง (Bar Code) จำกนั้นจะสำมำรถใช้เครื่อง อ่ำนบำร์โค้ดอ่ำนข้อมูลบนแถบ เพื่อเรียกข้อมูลของ รำยกำรสินค้ำนั้น เช่น รำคำสินค้ำ จำำนวนที่เหลืออยู่ใน คลังสินค้ำ เป็นต้น ออกมำจำกฐำนข้อมูล แล้วจึง ทำำกำรประมวลผลข้อมูลรำยกำรนั้นและทำำงำนต่อไป มำตรฐำนของบำร์โค้ดที่ใช้กันในปัจจุบันจะประกอบ ด้วยมำตรฐำน UPC (Universal Product Code) และ มำตรฐำน Code 39 (Three of Nine)
  • 13. สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่ำนหรือ สแกน (Scan) ข้อมูลบนเอกสำรเข้ำสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ โดย เอกสำรที่อ่ำนอำจจะประกอบด้วยข้อควำมหรือ รูปภำพกรำฟิกก็ได้ เทคโนโลยีที่ใช้ในกำรสแกน แยกได้เป็น สองแบบ คือ  CCD (Charge Couple Device) โดยเครื่องสแกนเนอร์จะ ส่องแสงผ่ำนฟิลเตอร์สีแดงเขียวและนำ้ำเงินไปยังวัตถุที่ ต้องกำรสแกน แสงทีส่องไปยังวัตถุจะถูกสะท้อนผ่ำน ่ กระจกและเลนส์กลับมำยัง CCD ซึ่งเป็น เซลล์ไวแสงที่ จะทำำกำรตรวจสอบจับควำมเข้มข้นของแสงและแปลงให้
  • 14. CIS (Contact Image Sensor) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้หลอด LED สีแดง เขียวและนำ้ำเงินในกำรสร้ำงแสงสีขำวที่ใช้ใน กำรสแกน และทำำกำรรับแสงสะท้อนจำกวัตถุทถูกสแกนี่ โดยไม่ตองผ่ำนกระจกและเลนส์ ทำำให้สแกนเนอร์ที่ใช้ ้ เทคโนโลยีนมีขนำดเล็ก นำ้ำหนักเบำ และรำคำถูก แต่ ี้ คุณภำพในกำรสแกนจะด้อยกว่ำแบบ CCD ควำมละเอียด ในกำรสแกน มีหน่วยเป็น จุดต่อนิว (dot per inch) หรือ ดี ้ พีไอ (dpi) กำรวัดค่ำควำมละเอียดในสแกนเนอร์กระทำำได้ 2 แบบ คือ Optical Resolution ซึ่งเป็นค่ำควำมละเอียด ทีแท้จริงของสแกนเนอร์ที่ตัว CCD สำมำรถกระทำำได้ ่ และ Interpolate resolution จะเป็นควำมละเอียดที่เพิ่มสูง ขึ้น โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในกำรเพิ่มจุดให้แก่ภำพที่ สแกนจำำนวนบิตทีใช้แทนค่ำสี (Bit depth) ่
  • 15. สแกนเนอร์สามารถแบ่งตามวิธีใช้งานได้เป็นแบบ ต่าง ๆ คือ  สแกนเนอร์มือถือ (Handhelp scanner) มีขนำดเล็ก สำมำรถพกพำได้สะดวก กำรใช้สแกนเนอร์รุ่นมือถือนี้ ผูใช้ต้องถือตัวสแกนกวำดไปบนภำพหรือวัตถุที่ ้ ต้องกำร  สแกนเนอร์แบบสอดกระดำษ (Sheet-fed scanner) เป็น สแกนเนอร์ที่ผู้ใช้ตองสอดภำพหรือเอกสำรเข้ำไปยัง ้ ช่องสำำหรับอ่ำนข้อมูล (Scan head) เครื่องชนิดนี้จะ เหมำะสำำหรับกำรอ่ำนเอกสำรที่เป็นแผ่น ๆ แต่ไม่ สำมำรถอ่ำนเอกสำรที่เย็บเป็นเล่มได้  สแกนเนอร์แบบแท่น (Flatbed scanner) เป็นสแกนเนอร์ ที่นิยมใช้กนมำกที่สุดในปัจจุบัน ผูใช้เพียงวำงกระดำษ ั ้ ต้นฉบับที่ตองกำรไปบนเครื่องสแกนเนอร์ มีวิธีกำร ้
  • 16. เครื่องรู้จำาอักขระด้วยแสง (Optical Character Recognition – OCR) โอซีอำร์ เป็นอุปกรณ์สำำหรับอ่ำนข้อมูลที่เป็น ตัวอักขระบนเอกสำรต่ำง ๆ และทำำกำรแปลง ข้อมูลแบบดิจิตอลที่อ่ำนได้ไปเป็นตัวอักษรโดย อัตโนมัติ โอซีอำร์อำจเป็นได้ทั้งอุปกรณ์เฉพำะ สำำหรับแปลงเอกสำรเข้ำสูคอมพิวเตอร์ หรืออำจ ่ หมำยถึงซอฟต์แวร์สำำหรับวิเครำะห์ตัวอักษรจำก ข้อมูลที่ได้จำกสแกนเนอร์ก็ได้
  • 17. เครื่องอ่านเครื่องหมายด้วยแสง (Optical Mark Reader-OMR) โอเอ็มอำร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้หลักกำรอ่ำน สัญลักษณ์ หรือเครื่องหมำยที่ระบำยด้วยดินสอ ดำำลงในตำำแหน่งที่กำำหนด ตัวอย่ำงเช่น ข้อสอบ แบบเลือกคำำตอบ เป็นต้น โดยดินสอดำำที่ใช้นน ั้ ต้องมี สำรแม่เหล็ก (Magnetic particle) จำำนวน หนึง เพื่อให้เครื่องโอเอ็มอำร์สำมำรถรับรู้ได้ ซึ่ง ่ โดยปกติแล้วจะใช้ดินสอ 2B จำกนั้น เครื่องโอ เอ็มอำร์ก็จะอ่ำนข้อมูลตำมเครื่องหมำยที่มีกำร ระบำยด้วยดินสอดำำ
  • 18. กล้องถ่ายภาพดิจิตอล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับถ่ำยภำพแบบไม่ต้องใช้ ฟิล์ม โดยเก็บภำพที่ถำยไว้ในลักษณะดิจิตอลด้วย ่ อุปกรณ์ CCD (Charge Coupled Device) หรืออุปกรณ์ CMOS (Complementary Metal Oxide Semiconductor) ภำพที่ได้จะประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ จำำนวนมำก กล้อง ดิจิตอลในปัจจุบันจะมีควำมละเอียดของรูปที่ถำยใน่ ระดับ 1 ล้ำนจุด (Pixel) ไปจนถึง 5 ล้ำนจุด ซึงรูปที่ถำย ่ ่ มำจะสำมำรถนำำเข้ำเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งำนได้ ทันทีโดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์สแกนเนอร์อีก
  • 19. กล้องถ่ายทอดวิดีโอดิจิตอล (Digital Video) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำำหรับบันทึกภำพ เคลื่อนไหวและเก็บเป็นข้อมูลแบบดิจิตอลนิยม ใช้ในกำรทำำกำรประชุมทำงไกลผ่ำนวิดโอ ี (Video Teleconference) ซึ่งเป็นกำรประชุมผ่ำน เครือข่ำยคอมพิวเตอร์ เช่น อินเตอร์เน็ตหรือ อินทรำเน็ต เป็นต้น อย่ำงไรก็ดี กล้องถ่ำยทอด วิดีโอแบบดีจิตอลยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น โดย สำมำรถเก็บภำพเคลื่อนไหวได้ประมำณ 10-15 เฟรมต่อวินำทีเท่ำนัน ้
  • 20. อุปกรณ์รจำาเสียง (Voice Recognition Device) ู้ กำรสื่อสำรกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในรูปของเสียง เป็นอีกขันตอนของกำรพัฒนำทำงเทคโนโลยี ถึงแม้ใน ้ ปัจจุบันนี้ยังมีปัญหำอยูบ้ำงก็ตำม อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น ่ อุปกรณ์วเคราะห์เสียงพูด (Speech Recognition ิ Device) เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนำโดยนักคอมพิวเตอร์และนัก ภำษำศำสตร์ เพื่อใช้รับสัญญำณ เสียงที่มนุษย์พูดและ แปลงเป็นสัญญำณดิจิตอลเก็บเป็นข้อมูลไว้ใน คอมพิวเตอร์ ปัญหำที่สำำคัญของอุปกรณ์ชนิดนี้คือ ผู้ พูดแต่ละคนจะพูดด้วยนำ้ำเสียงและสำำเนียงเฉพำะของ แต่ละบุคคล จึงได้มีกำรแก้ปัญหำโดยให้คอมพิวเตอร์ ได้เรียนรู้เสียงของผู้ที่ต้องกำรใช้งำนในระยะเวลำหนึ่ง ก่อน เพื่อเก็บรูปแบบของนำ้ำเสียงและสำำเนียงไว้
  • 21. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยแสดงผลคืออุปกรณ์ที่ทำำหน้ำที่แสดง ผลลัพธ์จำกคอมพิวเตอร์ แบ่งออกได้เป็นสอง ประเภท คือ  หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมำยถึงกำรแสดงผลออกมำให้ผู้ใช้ได้รับ ทรำบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกกำรทำำงำนหรือเลิก ใช้แล้วผลนั้นก็หำยไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บ ได้ แต่ถ้ำต้องกำรเก็บผลลัพธ์นนก็สำมำรถส่ง ั้ ถ่ำยไปเก็บในรูปของข้อมูลในหน่วยเก็บข้อมูล สำำรอง เพื่อให้สำมำรถนำำมำใช้งำนในภำยหลัง
  • 22. จอภาพ (Monitor) ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้ ทันที มีรูปร่ำงคล้ำยจอภำพของโทรทัศน์ บน จอภำพประกอบด้วยจุดจำำนวนมำก เรียกจุด เหล่ำนั้นว่ำ พิกเซล (Pixel) ถ้ำมีพิกเซลจำำนวน มำกก็จะทำำให้ผู้ใช้มองเห็นภำพบนจอได้ชดเจน ั มำกขึ้น จอภำพที่ใช้ในปัจจุบันแบ่งได้เป็นสอง ประเภท คือ
  • 23. จอซีอำร์ที (Cathode Ray Tube) นิยมใช้กับเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์ส่วนมำกในปัจจุบัน ใช้หลักกำรยิงแสงผ่ำนหลอด ภำพคล้ำยกับเครื่องรับโทรทัศน์  จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display) นิยมใช้เป็นจอภำพของ เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพำ เป็นจอภำพที่ใช้หลักกำรเรือง แสงเมื่อผ่ำนกระแสไฟฟ้ำเข้ำไปในผลึกเหลว ทำำให้จอภำพมี ควำมหนำไม่มำก นำ้ำหนักเบำและกินไฟน้อยกว่ำจอภำพซีอำร์ที แต่มีรำคำสูงกว่ำ เทคโนโลยีจอแอลซีดีในปัจจุบันจะมีสองแบบ คือ Passive Matrix ซึ่งมีรำคำตำ่ำแต่จะขำดควำมคมชัดและอำจม องไม่เห็นภำพเมื่อผู้ใช้มองจำกบำงมุม และActive Matrix หรือ บำงครั้งอำจเรียกว่ำ Thin File Transistor (TFT) จะให้ภำพที่คม ชัดกว่ำแต่จะมีรำคำสูงกว่ำ ในปัจจุบันจอภำพแบบ TFT เริ่มนิยม นำำมำใช้แทนจอภำพ CRT มำกขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจำกรำคำเริ่มตำ่ำ ลง ในขณะที่มีข้อดีคอใช้เนือที่ในกำรวำงน้อย นำ้ำหนักเบำ กิน ื ้ ไฟตำ่ำ และมีกำรแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้ำออกมำน้อยมำก
  • 24. อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector) เป็นอุปกรณ์ทนิยมใช้ในกำรเรียนกำรสอนหรือกำรประชุม ี่ เนืองจำกสำมำรถนำำเสนอข้อมูลให้แก่ผู้ชมจำำนวนมำกเห็นพร้อม ่ ๆ กัน อุปกรณ์ฉำยภำพในปัจจุบันจะมีอยู่หลำยแบบ ทั้งที่ สำมำรถต่อสัญญำณจำกคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือใช้อุปกรณ์ พิเศษในกำรวำงลงบนเครื่องฉำยภำพข้ำมศีรษะ (OverHead Projector) ธรรมดำ เหมือนกับอุปกรณ์นั้นเป็นแผ่นใส อุปกรณ์ ฉำยภำพจะมีข้อแตกต่ำงกันมำกในเรื่องของกำำลังแสงสว่ำง เนืองจำกยิ่งมีกำำลังส่องสว่ำงสูงภำพที่ได้ก็จะชัดเจนมำกขึ้น ่ กำำลังส่องสว่ำงมีหน่วยวัดค่ำอยู่ 3 แบบ คือ LUX, LUMEN และ ANSI LUMEN โดยกำรวัดแบบ LUX จะวัดค่ำควำมสว่ำงทีจุด ่ กึ่งกลำงของภำพ จึงได้คำควำมสว่ำงสูงทีสุดเมื่อเทียบกับอีก 2 ่ ่ แบบ กำรวัดแบบ LUMEN จะแบ่งภำพออกเป็น 3 ส่วน คือ บน กลำงและล่ำง และแต่ละส่วนจะถูกแบ่งออกเป็น 3 จุด คือ ริม ซ้ำย กลำง และริมขวำ รวมจุดภำพทั้งหมด 9 จุด แล้วจึงใช้คำ ่ เฉลียของควำมสว่ำงทัง 9 จุด คิดออกมำเป็นค่ำ LUMEN ส่วน ่ ้ กำรวัดแบบ ANSI LUMEN จะมีมำตรฐำนสูงสุด โดยใช้วิธีเดียว
  • 25. อุปกรณ์เสียง (Audio Output) หน่วยแสดงเสียง ซึงประกอบขึ้นจำก ลำำโพง ่ (Speaker) และกำร์ดเสียง (Sound card) เพื่อให้ผใช้ ู้ สำมำรถฟังเพลงในขณะทำำงำน หรือให้เครื่อง คอมพิวเตอร์รำยงำนเป็นเสียงให้ทรำบเมื่อเกิดปัญหำ ต่ำง ๆ เช่น ไม่มีกระดำษในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น รวมทั้ง สำมำรถเล่นเกมส์ที่มีเสียงประกอบได้อย่ำงสนุกสนำน โดยลำำโพงจะมีหน้ำที่ในกำรแปลงสัญญำณจำก คอมพิวเตอร์ให้เป็นเสียงเช่นเดียวกับลำำโพงวิทยุ ส่วน กำร์ดเสียงจะเป็นแผงวงจรเพิ่มเติมที่นำำมำเสียบกับช่อง เสียบขยำยในเมนบอร์ดเพื่อช่วยให้คอมพิวเตอร์ สำมำรถส่งสัญญำณเสียงผ่ำนลำำโพง รวมทั้งสำมำรถ ต่อไมโครโฟนเข้ำมำที่กำร์ดเพื่อบันทึกเสียงเก็บไว้ด้วย เทคโนโลยีด้ำนเสียงสำมำรถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ Waveform audio หรือเรียกว่ำ Digital audio และMIDI
  • 26. หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy) หมำยถึงกำรแสดงผลที่สำมำรถจับต้อง และ เคลื่อนย้ำยได้ตำมต้องกำร มักจะออกมำในรูป ของกระดำษ ซึ่งผู้ใช้สำมำรถนำำไปใช้ในที่ต่ำง ๆ หรือให้ผู้ร่วมงำนดูในที่ใด ๆ ก็ได้ อุปกรณ์ที่ใช้ เช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้ กันมำก และมีให้เลือกหลำกหลำยชนิดขึ้นกับ คุณภำพและควำมละเอียดของกำรพิมพ์ ควำมเร็วในกำรพิมพ์ ขนำดกระดำษสูงสุดที่ สำมำรถพิมพ์ได้ และเทคโนโลยีที่ใช้ในกำร
  • 27. เครื่องพิมพ์สำมำรถแบ่งตำมวิธกำรพิมพ์ได้เป็นสองชนิด คือ ี 1. เครื่องพิมพ์ชนิดตอก (Impact printer) ใช้กำรตอกให้คำร์บอน บนผ้ำหมึกติดบนกระดำษตำมรูปแบบที่ต้องกำร สำมำรถพิมพ์ สำำเนำ (Copy) ครั้งละหลำยชุดโดยใช้กระดำษคำร์บอนวำง ระหว่ำงกระดำษแต่ละแผ่น ควำมเร็วในกำรพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ ประเภทนีจะมีหน่วยเป็นบรรทัดต่อวินำที (lpm-line per minute) ้ ข้อเสียของเครื่องพิมพ์ชนิดนี้กคือ มีเสียงดังและคุณภำพงำน ็ พิมพ์ที่ได้จะไม่ดนัก สำมำรถแบ่งเป็น 2 ชนิดย่อย คือ ี  เครื่องพิมพ์อักษร (Character printer) หมำยถึงเครื่องพิมพ์ดดที่ ี พิมพ์ครั้งละหนึ่งตัวอักษรเท่ำนั้น ตัวอักษรแต่ละตัวจะถูกสร้ำงขึ้น จำกจุดเล็ก ๆ จำำนวนมำก จึงสำมำรถเรียกอีกอย่ำงว่ำ เครื่องพิมพ์แบบจุด (Dot matrix printer) นิยมใช้กับเครื่องไมโคร คอมพิวเตอร์  เครื่องพิมพ์บรรทัด (Line printer) หมำยถึงเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ครั้ง ละหนึงบรรทัด เป็นเครื่องพิมพ์ทใช้งำนได้รวดเร็ว แต่จะมีรำคำ ่ ี่ สูง นิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนำดใหญ่ หรือเครื่องพิมพ์ที่มี ผูใช้หลำยคน ้
  • 28. 2. เครื่องพิมพ์ชนิดไม่ตอก (Non impact printer) ใช้ เทคนิคกำรพิมพ์จำกวิธีกำรทำงเคมี ซึงทำำให้พิมพ์ได้ ่ เร็วและคมชัดกว่ำชนิดตอก พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรและ กรำฟฟิก รวมทั้งไม่มีเสียงขณะพิมพ์ แต่มีข้อจำำกัดคือ ไม่สำมำรถพิมพ์กระดำษสำำเนำ (Copy) ได้ ควำมเร็วใน กำรพิมพ์ของเครืองพิมพ์ประเภทนี้จะมีหน่วยเป็นหน้ำ ่ ต่อนำที (PPM-page per minute) และสำมำรถแบ่งออก เป็นประเภทต่ำง ๆ คือ  เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) ทำำงำนคล้ำยเครื่อง ถ่ำยเอกสำร คือใช้แสงเลเซอร์สร้ำงประจุไฟฟ้ำ ซึงจะมี ่ ผลให้โทนเนอร์ (Toner) สร้ำงภำพที่ต้องกำรและพิมพ์ ภำพนั้นลงบนกระดำษ เครื่องพิมพ์เลเซอร์แต่ละรุ่นจะ แตกต่ำงกันในด้ำนควำมเร็วและควำมละเอียดของงำน
  • 29. เครื่องพิมพ์ฉีดหมึก (Inkjet Printer) ได้รับควำมนิยมอย่ำงมำกใน ปัจจุบัน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรใช้กบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ั เนืองจำกสำมำรถพิมพ์สีได้ ถึงแม้จะไม่คมชัดเท่ำเครื่องพิมพ์ ่ ชนิดเลเซอร์ แต่ก็คมชัดกว่ำเครื่องพิมพ์ตอก สำมำรถพิมพ์รูปได้ คุณภำพใกล้เคียงกับภำพถ่ำย และมีรำคำถูกกว่ำเครื่องพิมพ์ ชนิดเลเซอร์ เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกในปัจจุบันจะมีคณภำพใน ุ กำรพิมพ์ตำงกันไปตำมเทคโนโลยีกำรฉีดหมึกและจำำนวนสีทใช้ ่ ี่ โดยรุ่นทีมีรำคำตำ่ำมักใช้หมึกพิมพ์สำมสี คือ นำ้ำเงิน (cyan) , ม่วง ่ แดง (magenta) และเหลือง (yellow) ซึ่งสำมำรถผสมสีออกมำ เป็นสีตำง ๆ ได้ แต่จะให้คุณภำพของสีดำำที่ไม่ดนัก จึงมี ่ ี เครื่องพิมพ์ทให้คุณภำพสูงกว่ำทีเพิ่มสีที่ 4 เข้ำไปคือ สีดำำ ี่ ่ (black) เครื่องพิมพ์ฉีดหมึกในปัจจุบันโดย มำกจะใช้สีนเป็นหลัก ี้ แต่จะมีเครื่องพิมพ์อีกระดับทีเรียกว่ำเครื่องพิมพ์สำำหรับภำพถ่ำย ่ (Photo printer) ที่จะเพิ่มสีนำ้ำเงินอ่อน (light cyan) และม่วงแดง อ่อน (light magenta) เป็น 6 สีเพื่อเพิ่มควำมละเอียดในกำรไล่เฉด สีภำพถ่ำยให้เหมือนจริงยิ่งขึ้น และบำงรุ่นก็จะมีกำรเพิ่มสีที่ 7
  • 30. เครื่องพิมพ์เทอร์มอล (Thermal printer) เป็น เครื่องพิมพ์ที่ให้คณภำพในกำรพิมพ์สงสุดจะมี 2 ุ ู ประเภท คือ Thermal wax transfer ให้คุณภำพ และรำคำที่ตำ่ำกว่ำ ทำำงำนโดยกำรกลิ้งริบบอนที่ เคลือบแวกซ์ไปบนกระดำษ แล้วเพิ่มควำมร้อน ให้กับริบบอนจนแวกซ์นนละลำยและเกำะติดอยู่ ั้ บนกระดำษ ส่วน Thermal dye transfer ใช้หลัก กำรเดียวกับ thermal wax แต่ใช้สย้อมแทน wax ี จะเป็นเครื่องพิมพ์ที่ให้คุณภำพสูงสุด โดย สำมำรถพิมพ์ภำพสีได้ใกล้เคียงกับภำพถ่ำย แต่
  • 31. เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter) ใช้วำดหรือเขียนภำพสำำหรับงำนที่ต้องกำร ควำมละเอียดสูง ๆ เนืองจำกพลอตเตอร์จะใช้ ่ ปำกกำในกำรวำดเส้นสำยต่ำง ๆ ทำำให้ได้เส้นที่ ต่อเนื่องกันตลอด ในขณะที่เครื่องพิมพ์ทั่วไปจะ ใช้วิธพิมพ์จุดเล็ก ๆ ประกอบขึ้นเป็นเส้น ทำำให้ ี ได้เส้นที่ไม่ต่อเนืองกันสนิท พลอตเตอร์นิยมใช้ ่ กับงำนออกแบบทำงสถำปัตยกรรมและ วิศวกรรมที่ต้องกำรควำมสวยงำมและควำม ละเอียดสูง มีให้เลือกหลำกหลำยชนิดโดยจะ แตกต่ำงกันในด้ำนควำมเร็ว ขนำดกระดำษ และ