SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 3
Baixar para ler offline
อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑๑
       อุเปนทรวิเชียรฉันท (อานวา อุ-เปน-ทฺระ-วิ-เชียน-ฉัน) เปนชื่อฉันทอยางหนึ่ง มี
ความหมายวา “ฉันทที่มีลีลาคลายหรือรองจากอินทรวิเชียรฉันท” ซึ่งฉันทประเภทนี้ใช
สําหรับดําเนินเรื่องอยางธรรมดา

คณะและพยางค
        อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑ บท ประกอบดวยคณะและพยางค ดังนี้
        มี ๒ บาท วรรคหนามีจํานวน ๕ คํา/พยางค และวรรคหลังมีจํานวน ๖ คํา/
พยางค
         ๑ บาท นับจํานวนคําได ๑๑ คํา/พยางค ดังนั้น จึงเขียนเลข ๑๑ หลังชื่อ
อุเปนทรวิเชียรฉันท นี่เองครับ แตนักเรียนตองสังเกตที่ครุ-ลหุ (มีฉันทลักษณที่คลาย
อินทรวิเชียรฉันทมาก) ในแตละบาทจะปรากฏคําครุ- คําลหุ ดังนี้
        วรรคหนาเปนครุในคําที่ ๒, คําที่ ๔ และ คําที่ ๔ เปนลหุในคําที่ ๑ และ
คําที่ ๓
        วรรคหลังเปนครุในคําที่ ๓, คําที่ ๕ และ คําที่ ๖ เปนลหุในคําที่ ๑, คําที่
๒ และ คําที่ ๔
        อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑ บทมีจํานวนทั้งสิ้น ๒๒ คํา/พยางค

สัมผัส
     พบวา อุเปนทรวิเชียรฉันท มีสัมผัสนอก (ที่เปนสัมผัสภายในบท) จํานวน ๒
แหง ดังนี้
                 ๑. คําสุดทายของวรรคหนาในบาทที่ ๑ สงสัมผัสกับคําที่ ๓ ของ
วรรคหลังในบาทเดียวกัน
                ๒. คําสุดทายของวรรคหลังในบาทที่ ๑ สงสัมผัสกับคําสุดทายของ
วรรคหนาในบาทที่ ๒
        สัมผัสระหวางบท พบวา คําสุดทายของบท สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรค
หลังในบาทที่ ๑ ของบทตอไป
        คําครุ ลหุ อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑ บท มีคําครุทั้งหมด ๑๒ คํา/
พยางค และมีคําลหุทั้งหมด ๑๐ คํา/พยางค ใหนักเรียนสังเกตสัมผัสบังคับ (สัมผัส
นอก) และบังคับครุ-ลหุ อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑๑ ตามผังภาพ
       คําครุ สัญลักษณแทนดวย ั
       คําลหุ สัญลักษณแทนดวย ุ ใหนักเรียนดูตัวอยางตามผังภาพ ครับ
๏ จะจริงมิจริงเหลือ     มนเชื่อเพราะไปเห็น
ผิขอบอลําเค็ญ              ธ ก็ควรขยายความ
   ๏ กุมารองคเสา           วนเคาคดีความ
กระทูพระครูถาม             นยสุดจะสงสัย
    (จาก สามัคคีเภทคําฉันท ของ ชิต บุรทัต)
ที่มา/อางอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียน
           สาระการเรียนรูพื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ กลุมสาระ
           การเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
           ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๘.
กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, ๒๕๔๐.
แจมจันทร สุวรรณรงค. ลักษณะคําประพันธไทย. สกลนคร : วิทยาลัยครูสกลนคร,
           ๒๕๓๑.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ :
           นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖.
วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคําประพันธไทย. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๖.
สิทธา พินิจภูวดล และประทีป วาทิกทินกร. รอยกรอง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย
           รามคําแหง, ๒๕๑๘.




                          โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล
          โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย เผยแพรเมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๔

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์Ku'kab Ratthakiat
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้องPiyarerk Bunkoson
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองnsiritom
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 

Mais procurados (20)

ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
อินทร๑๑
อินทร๑๑อินทร๑๑
อินทร๑๑
 
วสันต
วสันตวสันต
วสันต
 
ฉันทลักษณะ
ฉันทลักษณะฉันทลักษณะ
ฉันทลักษณะ
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 
กลอนแปด
กลอนแปดกลอนแปด
กลอนแปด
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์วิชา ฉันทลักษณ์
วิชา ฉันทลักษณ์
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 

Destaque

งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)Chutima Tongnork
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8MilkOrapun
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 

Destaque (9)

งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)งานภาษาไทย (อนุสรา)
งานภาษาไทย (อนุสรา)
 
Ton
TonTon
Ton
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8จิตรปทา ฉันท์ 8
จิตรปทา ฉันท์ 8
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2สามัคคีเภทคำฉันท์2
สามัคคีเภทคำฉันท์2
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 

Semelhante a Upenthrawichianchan

นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒Manas Panjai
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Wataustin Austin
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80Rose Banioki
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทยKru Poy
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 

Semelhante a Upenthrawichianchan (20)

นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ป.๖ ชุด ๒
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทย
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

Mais de Piyarerk Bunkoson

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรPiyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1Piyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อPiyarerk Bunkoson
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554Piyarerk Bunkoson
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงPiyarerk Bunkoson
 

Mais de Piyarerk Bunkoson (20)

แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทรแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ 3 ครูวินทร
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ชุดที่ 1
 
บทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทรบทคัดย่่อครูวรินทร
บทคัดย่่อครูวรินทร
 
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ dlit ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ infographic ทำสื่อ
 
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ999 บทสัมภาษณ์  smedu ทำสื่อ
999 บทสัมภาษณ์ smedu ทำสื่อ
 
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 25542554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
2554 รวมรางวัลเกียรติยศจากอดีตถึงปี 2554
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสงบทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
บทคัดย่อผลงานทางวิชาการครูสุพักตร์ ทองแสง
 
016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12016 ชุดที่ 12
016 ชุดที่ 12
 
015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11015 ชุดที่ 11
015 ชุดที่ 11
 
014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10014 ชุดที่ 10
014 ชุดที่ 10
 
013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9013 ชุดที่ 9
013 ชุดที่ 9
 
012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8012 ชุดที่ 8
012 ชุดที่ 8
 
011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7011 ชุดที่ 7
011 ชุดที่ 7
 
010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6010 ชุดที่ 6
010 ชุดที่ 6
 
009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5009 ชุดที่ 5
009 ชุดที่ 5
 
008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4008 ชุดที่ 4
008 ชุดที่ 4
 
007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3007 ชุดที่ 3
007 ชุดที่ 3
 

Upenthrawichianchan

  • 1. อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑๑ อุเปนทรวิเชียรฉันท (อานวา อุ-เปน-ทฺระ-วิ-เชียน-ฉัน) เปนชื่อฉันทอยางหนึ่ง มี ความหมายวา “ฉันทที่มีลีลาคลายหรือรองจากอินทรวิเชียรฉันท” ซึ่งฉันทประเภทนี้ใช สําหรับดําเนินเรื่องอยางธรรมดา คณะและพยางค อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑ บท ประกอบดวยคณะและพยางค ดังนี้ มี ๒ บาท วรรคหนามีจํานวน ๕ คํา/พยางค และวรรคหลังมีจํานวน ๖ คํา/ พยางค ๑ บาท นับจํานวนคําได ๑๑ คํา/พยางค ดังนั้น จึงเขียนเลข ๑๑ หลังชื่อ อุเปนทรวิเชียรฉันท นี่เองครับ แตนักเรียนตองสังเกตที่ครุ-ลหุ (มีฉันทลักษณที่คลาย อินทรวิเชียรฉันทมาก) ในแตละบาทจะปรากฏคําครุ- คําลหุ ดังนี้ วรรคหนาเปนครุในคําที่ ๒, คําที่ ๔ และ คําที่ ๔ เปนลหุในคําที่ ๑ และ คําที่ ๓ วรรคหลังเปนครุในคําที่ ๓, คําที่ ๕ และ คําที่ ๖ เปนลหุในคําที่ ๑, คําที่ ๒ และ คําที่ ๔ อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑ บทมีจํานวนทั้งสิ้น ๒๒ คํา/พยางค สัมผัส พบวา อุเปนทรวิเชียรฉันท มีสัมผัสนอก (ที่เปนสัมผัสภายในบท) จํานวน ๒ แหง ดังนี้ ๑. คําสุดทายของวรรคหนาในบาทที่ ๑ สงสัมผัสกับคําที่ ๓ ของ วรรคหลังในบาทเดียวกัน ๒. คําสุดทายของวรรคหลังในบาทที่ ๑ สงสัมผัสกับคําสุดทายของ วรรคหนาในบาทที่ ๒ สัมผัสระหวางบท พบวา คําสุดทายของบท สงสัมผัสกับคําสุดทายของวรรค หลังในบาทที่ ๑ ของบทตอไป คําครุ ลหุ อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑ บท มีคําครุทั้งหมด ๑๒ คํา/ พยางค และมีคําลหุทั้งหมด ๑๐ คํา/พยางค ใหนักเรียนสังเกตสัมผัสบังคับ (สัมผัส นอก) และบังคับครุ-ลหุ อุเปนทรวิเชียรฉันท ๑๑ ตามผังภาพ คําครุ สัญลักษณแทนดวย ั คําลหุ สัญลักษณแทนดวย ุ ใหนักเรียนดูตัวอยางตามผังภาพ ครับ
  • 2. ๏ จะจริงมิจริงเหลือ มนเชื่อเพราะไปเห็น ผิขอบอลําเค็ญ ธ ก็ควรขยายความ ๏ กุมารองคเสา วนเคาคดีความ กระทูพระครูถาม นยสุดจะสงสัย (จาก สามัคคีเภทคําฉันท ของ ชิต บุรทัต)
  • 3. ที่มา/อางอิง กระทรวงศึกษาธิการ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หนังสือเรียน สาระการเรียนรูพื้นฐาน วรรณคดีวิจักษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ กลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๘. กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาสน, ๒๕๔๐. แจมจันทร สุวรรณรงค. ลักษณะคําประพันธไทย. สกลนคร : วิทยาลัยครูสกลนคร, ๒๕๓๑. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุคสพับลิเคชั่นส, ๒๕๔๖. วิเชียร เกษประทุม. ลักษณะคําประพันธไทย. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๖. สิทธา พินิจภูวดล และประทีป วาทิกทินกร. รอยกรอง. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย รามคําแหง, ๒๕๑๘. โดย ครูปยะฤกษ บุญโกศล โรงเรียนโพนทันเจริญวิทย เผยแพรเมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๔