SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 92
Baixar para ler offline
วิทย์พลิกชุมชน:
ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีท�ำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ISBN	 978-616-584-002-6		
พิมพ์ครั้งที่	 1 (พฤษภาคม 2564)
จ�ำนวน	 1,000 เล่ม	
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) 2558
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ไม่อนุญาตให้คัดลอก ท�ำซ�้ำ และดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้
นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น
จัดท�ำโดย
สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.)
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน
ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
โทรศัพท์ 0 2564 7000
โทรสาร 0 2564 7004
www.nstda.or.th/agritec อีเมล agritec@nstda.or.th
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีท�ำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน/โดย สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเกษตร ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. -- ปทุมธานี :
ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2564.
	 89 หน้า : ภาพประกอบสี
	 ISBN: 978-616-584-002-6
	 1. วิทยาศาสตร์ 2. วิทยาศาสตร์ -- แง่สังคม 3.วิทยาศาสตร์การเกษตร 4. เทคโนโลยีการเกษตร
I. สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร II. ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ III. ชื่อเรื่อง
	 Q175.5			 303.483
ทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” ได้ใช้กลไก BCG Model พัฒนา
เศรษฐกิจ 3 มิติไปพร้อมกัน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจ
หมุนเวียน(CircularEconomy) เศรษฐกิจสีเขียว(GreenEconomy)โดยมีนวัตกรรม
เป็นเครื่องมือสู่การยกระดับรายได้ชุมชน ลดความเหลื่อมล�้ำ ชุมชนเข้มแข็ง และ
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อันน�ำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ
	 สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้ด�ำเนินงานภายใต้
กลไก BCG Model โดยร่วมกับเครือข่ายพันธมิตรทั้งภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย
และชุมชน ท�ำงานแบบจตุภาคี ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
สู่เกษตรกรและชุมชน เกิดการน�ำไปประยุกต์ปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของพื้นที่
สร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพยากรท้องถิ่น น�ำไปสู่ความมั่นคงทางด้านอาหาร รายได้
คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
	 หนังสือ วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีท�ำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
รวมเรื่องราวของเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรส่วนหนึ่งที่สท.และพันธมิตรได้ร่วมท�ำงาน
พัฒนาก�ำลังคนที่เป็นฐานรากส�ำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยน�ำองค์ความรู้
เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านสมาร์ทเทคโนโลยีเกษตรอินทรีย์เทคโนโลยีสิ่งทอ
เทคโนโลยีการผลิตอาหารโคคุณภาพ ตลอดจนการด�ำเนินโครงการอื่นๆ เพื่อ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากที่จะเป็นแรงกระเพื่อมสู่การพัฒนาและการเติบโต
ทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของประเทศต่อไป
สารจากผู้อำ�นวยการ
นางสาววิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์
ผู้อ�ำนวยการ
สถาบันการจัดการเทคโนโลยี
และนวัตกรรมเกษตร (สท.)
ติดอาวุธเกษตรกรไทย ด้วย ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’					
	 •	ปลูก ‘มะยงชิดคุณภาพ’ ให้ ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ เป็นตัวช่วย	 	 	
	 •	รู้ใช้ ‘ข้อมูลสภาวะแวดล้อม’ ท�ำสวนทุเรียนได้ ‘ประหยัด ปลอดภัย’	 	
	 •	‘เทคโนโลยี IoT’ เสริมศักยภาพ ‘การพึ่งพาตนเองด้านอาหาร’	
	 	 	
	 •	เรียนรู้ ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ ที่แปลงล�ำไย	 	 	 	 	 	
	 •	หอมขจรฟาร์ม: แปลงสาธิตเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ	 	 	 	
	
ปลูก “ปลอดภัย-อินทรีย์” สร้างสมดุล รักษ์ทรัพยากรชุมชน
	 •	เสริมแกร่งชาวนาใต้ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี
	 	 รักษ์ ‘ข้าวพันธุ์พื้นเมือง’	 	
	 •	จากถิ่น คืนถิ่น ...เมื่อเมล็ดพันธุ์งอกงามในชุมชน	 	 	 	
	 •	“ไข่เน่า” ฟักทองพื้นเมือง หัวเรือเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก
	 •	(ต้น) กล้า สร้างสุข		 	 	 	 	 	 	
	 •	ฝนแปดแดดสี่ ปลูกผักให้ได้ราคาด้วย ‘ความรู้และเทคโนโลยี’		
	6
	10
	14
	18
	22
	25
	
	28
	32
	40
	44
	48
	52
สารบัญ
56
	60
	64
	68
	
	72
	76
	80
	82
	
	84
	86
‘เทคโนโลยีและนวัตกรรม’ ยกระดับ ‘สิ่งทอพื้นเมือง’
	 •	‘จกโหล่งลี้’ ลายผ้าโบราณ เพิ่มคุณค่าด้วยนวัตกรรม	 	 	
	 •	‘ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ’ ผลิตภัณฑ์ Zero waste จากสวนมะพร้าว	 	
	
ยกระดับอาชีพ ‘การเลี้ยงโค’ ด้วยวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรม			
	 •	โคขุน ขุนโค ด้วยอาหาร TMR คุณภาพ 		 	 	 	
	 •	โคขุน ขุนโค สร้างอาชีพที่ชายแดนใต้	 	 	 	 	
	
โครงการอื่นๆ
	 •	เพิ่มประสิทธิภาพผลิตมันส�ำปะหลัง ด้วยกลไก ‘ตลาดน�ำการผลิต’	
	 	 (Inclusive Innovation)
	 •	แหล่งท่องเที่ยวไม้ดอกแห่งใหม่ ชู “ปทุมมาห้วยส�ำราญ”
	 	 สายพันธุ์ใหม่จากงานวิจัย
	 •	โครงการสนับสนุนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
	 	 เพื่อชุมชน (Community based Technology and Innovation
	 	 Assistance Project: CTAP)
หนึ่งในเครื่องมือที่ภาคเกษตรจะก้าวสู่วิถีการท�ำ “เกษตรสมัยใหม่”
คือการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เกิดการท�ำเกษตรที่แม่นย�ำ น�ำไปสู่การ
เพิ่มขีดความสามารถและประสิทธิภาพการผลิตจนได้ผลผลิตคุณภาพจาก
“ท�ำน้อย แต่ได้มาก”
	 สวทช.โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร(สท.)น�ำ
องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้าน ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ หรือ ‘เกษตร
อัจฉริยะ’ ถ่ายทอดสู่เกษตรกรมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็น เทคโนโลยี
โรงเรือนอัจฉริยะเทคโนโลยีระบบควบคุมการให้น�้ำอัจฉริยะส�ำหรับพืช
แปลงเปิด ระบบตรวจวัดด้วยเซนเซอร์แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อการ
จัดการและควบคุมอัตโนมัติ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี IoT ร่วม
กับโรงเรือนพลาสติกเพื่อการผลิตพืชผักคุณภาพ โดยผ่านการให้ความรู้
สร้างความเข้าใจ เพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงเทคโนโลยีและน�ำไปสู่การปรับ
ประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับตนเองและบริบทของพื้นที่อีกทั้งสท.ได้ร่วมมือกับ
ภาคีพันธมิตรทั้งหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา ผู้ประกอบการเอกชน
กลุ่มเครือข่ายเกษตรกร พัฒนา ‘สถานีเรียนรู้ด้านสมาร์ทเทคโนโลยี’
ในหลายพื้นที่ทั่วประเทศสร้างโอกาสการเข้าถึงความรู้และการน�ำเทคโนโลยี
ไปใช้ประโยชน์
	 นอกจากนี้ ในปี 2563 สท. ได้ก�ำหนดเป้าหมายกระจายการเข้าถึง
สมาร์ทเทคโนโลยี 30 จุดในสวนทุเรียนจังหวัดระยอง เพื่อให้เกิดการเข้าถึง
และเรียนรู้การใช้สมาร์ทเทคโนโลยีเก็บข้อมูล คาดการณ์และจัดการ
สภาวะแวดล้อม  เนื่องจากสภาพอากาศแต่ละปีไม่เหมือนกันการมีชุดข้อมูล
และน�ำมาประยุกต์ใช้จัดการสวนผลไม้จะลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้ และ
ยังรวบรวมข้อมูลเป็นBigDataของพื้นที่ที่สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อได้
ติดอาวุธเกษตรกรไทย
ด้วย ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’
7
8
9
Smart IoT
ปลูก ‘มะยงชิดคุณภาพ’
ให้ ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’
เป็นตัวช่วย
“เทคโนโลยีช่วยทุ่นเวลาและให้ความรู้” ค�ำตอบสั้นๆ จาก ฉัตรชนก ทองเรือง หรือ
ลุงแดง วัย 59 ปี เจ้าของสวนมะยงชิด “ทองเรือง” เมื่อพูดถึงเทคโนโลยี
การให้น�้ำอัจฉริยะส�ำหรับพืชแปลงเปิดที่เขาได้คลุกคลีมาเกือบ 2 ปี
“มะยงชิด” เป็นผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัดนครนายก
และเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของจังหวัด ซึ่ง
สวนทองเรืองแห่งนี้เป็นแหล่งผลิตมะยงชิดพันธุ์ทูลเกล้า
ที่คว้ารางวัลการประกวดมานับไม่ถ้วนผลผลิตของสวน
เฉลี่ยปีละ 2 ตัน ถูกจับจองล่วงหน้าและจ�ำหน่ายที่
หน้าสวนเท่านั้น ในราคากิโลกรัมละ 350-400 บาท
	 ด้วยความชอบรสชาติที่หวานและหอมกรอบของ
มะยงชิด ท�ำให้ ลุงแดง หันมาปลูกมะยงชิดอย่างจริงจัง
	 “ที่นี่ปลูกแบบยกโคก มะยงชิดชอบน�้ำผ่าน
แล้วให้แห้ง ไม่ชอบแฉะ เราต้องรู้สรีระของ
ต้นมะยงชิด ท�ำให้ต้นสมบูรณ์ และยังสัมพันธ์
กับความชื้นในดิน อากาศ ต้นถึงจะออกดอก”
	 บนพื้นที่ของสวนขนาด2ไร่ที่มีต้นมะยงชิดกว่า
100 ต้น ถูกปกคลุมด้วยมอส สะท้อนถึงปริมาณ
ความชื้นและการให้น�้ำของสวนแห่งนี้ ซึ่ง ลุงแดง
มองว่า ผลผลิตที่สมบูรณ์ของสวนส่วนหนึ่งมาจาก
การให้ความชื้นที่มาก และกลายเป็นโจทย์ร่วม
ของ ลุงแดง และเจ้าหน้าที่ สวทช. เมื่อครั้งมา
ประเมินพื้นที่เพื่อติดตั้งระบบการให้น�้ำอัจฉริยะว่า
ความต้องการน�้ำและความชื้น สัมพันธ์ต่อการ
ติดดอกออกผลของต้นมะยงชิดอย่างไร
	 “แต่ก่อนรดน�้ำสายยางก็ดูจากหน้าดิน ถ้าน�้ำ
หน้าดินไม่ค่อยซึมแสดงว่าน�้ำในดินเยอะแล้ว
ก็รู้ว่ารดแค่นี้ล่ะ ความชื้นได้แล้ว หรือความชื้น
ในอากาศของสวนผม ไม่มีใครเชื่อว่าเท่ากัน
ทุกต�ำแหน่ง เขาบอกว่าเอาความรู้สึกมาวัด
หรือช่วงติดดอก ไม่รู้เลยว่าดินต้องชื้นเท่าไหร่
ต้องมีความชื้นในอากาศเท่าไหร่ถึงออกดอก
รู้แต่ว่าถ้าอุณหภูมิสัก17-18องศา ติดกันสามวัน
แล้วอากาศอุ่นขึ้น มะยงชิดจะออกดอก”
	 เมื่อ “ความรู้สึก” ไม่ใช่สิ่งที่มองเห็นได้และ
ไม่สามารถเป็นตัวแทนของข้อมูล การเข้ามาของ
เทคโนโลยีการให้น�้ำอัจฉริยะส�ำหรับพืชแปลงเปิด
จึงช่วยคลายความคาใจให้ลุงแดง
ตั้งแต่ปี 2535 เรียนรู้ สังเกต จดบันทึกการปลูก
และพัฒนาการปลูกมะยงชิดของตนเอง จนได้
ผลผลิตที่ “รสชาติหวาน หอมกรอบ สีเหลืองส้ม”
เป็นที่หมายปองของผู้นิยมบริโภคมะยงชิด
11
การใช้ระบบให้น�้ำอัจฉริยะ
ท�ำให้รู้ว่ามะยงชิดจะออกดอก
ต้องใช้ค่าต่างๆ เท่าไหร่
ซึ่งใช้เป็นข้อมูลปีต่อไปได้
	 “ผมไม่เป็นเลยกับเทคโนโลยีแบบนี้ ยังไม่รู้ว่า
ต้องท�ำอย่างไรบ้าง เจ้าหน้าที่ก็สอนแล้ว แต่เราเอง
ยังไม่คล่อง ต้องท�ำความเข้าใจ เข้าไปดูค่าต่างๆ
ในระบบอยู่เรื่อยๆ เดี๋ยวนี้ไม่ยากแล้ว”
	 เทคโนโลยีการให้น�้ำอัจฉริยะส�ำหรับพืชแปลงเปิด
เป็นเทคโนโลยีตรวจวัดและควบคุมแบบไร้สายที่
ติดตามสภาวะแวดล้อมของพืช พร้อมทั้งควบคุมการ
ให้น�้ำตามความต้องการพืชด้วยระบบอัตโนมัติตั้งเวลา
และควบคุมตรง ประกอบด้วยเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ
และความชื้นสัมพัทธ์ เซนเซอร์วัดความเข้มแสง และ
เซนเซอร์วัดความชื้นดิน
	 “จากเดิมที่เคยใช้สายยางรดน�้ำ 1 ชั่วโมง ก็
เปลี่ยนมาเป็นระบบน�้ำแบบสปริงเกอร์ ส่วนการสั่ง
งานตอนแรกตั้งเป็นแบบอัตโนมัติ ทดลองตั้งการ
ให้น�้ำที่ความชื้นในดิน 60% เมื่อค่าความชื้นลด
ลง ระบบท�ำงานอัตโนมัติให้น�้ำเพื่อเพิ่มความชื้น
กลับมาที่ 60% ซึ่งแบบนี้จะท�ำให้รากเน่าได้ เพราะ
มะยงชิดไม่ชอบน�้ำขัง ชอบน�้ำผ่าน ผมก็เปลี่ยนมา
สั่งแบบก�ำหนดเอง โดยดูที่การดูดซึมของน�้ำที่หน้า
ดินคู่กันไป”
	 หลังจากเรียนรู้การใช้งานระบบควบคู่กับการ
เปรียบเทียบข้อมูลแปลงที่จดบันทึกไว้ ท�ำให้ ลุงแดง
รู้ค่าตัวเลขที่แทนความรู้สึกได้ว่า ค่าความชื้นในดิน
ของต้นมะยงชิดตั้งแต่ฝนทิ้งช่วง-ก่อนเก็บเกี่ยว ต้องมี
ความชื้นดินอย่างน้อย 80%
Smart IoT
12
“ผมจดบันทึกข้อมูลท�ำสวนมะยงชิดทุกปี
ใส่ปุ๋ยเมื่อไหร่ รดน�้ำวันไหน พอใช้ระบบให้น�้ำ
ของ สวทช. ผมก็จดตัวเลขที่ได้จากระบบ
ก่อนออกดอก วันที่ออกดอก อุณหภูมิ ค่าแสง
เป็นอย่างไร ค่าความชื้นในอากาศ ความชื้น
ในดินเป็นเท่าไหร่ การใช้ระบบฯ ท�ำให้รู้ว่า
มะยงชิดจะออกดอกต้องใช้ค่าต่างๆ เท่าไหร่
ซึ่งใช้เป็นข้อมูลปีต่อไปได้”
	 ประสบการณ์เกือบ 30 ปีกับการปลูกมะยงชิด
ค�ำแนะน�ำที่ให้กับสวนต่างๆ ว่าความชื้นในสวนต้อง
เท่านี้ตามความรู้สึก มาวันนี้ไม่เพียง ลุงแดง มีค่า
ตัวเลขที่สามารถบอกแทนค่าความรู้สึกได้แล้ว เขา
ยังเห็นความส�ำคัญของการใช้เทคโนโลยีกับการท�ำ
สวนมะยงชิด
	 “การรู้ค่าตัวเลขท�ำให้เรามีความรู้กับการท�ำสวน
เพิ่มขึ้น เป็นข้อมูลให้ที่อื่นได้ แล้วยังช่วยทุ่นเวลา
ก็คือ เราสั่งรดน�้ำได้ ไม่ต้องลากสายยางรด
ลดปริมาณการใช้น�้ำเพราะมีตัวเลขที่เรารู้ความชื้น
ที่เหมาะ และประหยัดค่าไฟฟ้า แทนที่รดด้วย
สายยาง 1 ชั่วโมง เปลี่ยนมารดด้วยสปริงเกอร์
ใช้เวลา 10นาทีใช้ปั๊มวันละ1ชม.กับวันละ10นาที
แตกต่างกันเยอะเลยนะ”
(ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2564)
การรู้ค่าตัวเลข
ท�ำให้เรามีความรู้
กับการท�ำสวนเพิ่มขึ้น
เป็นข้อมูลให้ที่อื่นได้
แล้วยังช่วยทุ่นเวลา
ลดปริมาณการใช้น�้ำ
ประหยัดค่าไฟฟ้า
สวนทองเรือง ต.ดอนยอ อ.เมือง
จ.นครนายก มีพื้นที่ปลูกมะยงชิด 2 ไร่
มีแรงงาน 2 คน ได้ผลผลิต 2 ตัน/ปี
รายได้ไม่ต�่ำกว่า 300,000 บาท/ตัน
จ�ำหน่ายกิ่งพันธุ์มะยงชิดพันธุ์ทูลเกล้า
และให้ค�ำแนะน�ำการปลูกมะยงชิดกับ
สวนต่างๆ 				
โทรศัพท์ 064 9146559
facebook: ฉัตรชนกสวนทองเรือง
ฉัตรชนก ทองเรือง
13
รู้ใช้ ‘ข้อมูลสภาวะแวดล้อม’
“ท�ำให้รู้สภาพอากาศสวนของเราเป็นอย่างไร แล้วก็
ประหยัดและปลอดภัย” ค�ำบอกเล่าจาก นัทธี
สุวรรณจินดา เกษตรกรรุ่นใหม่ เมื่อพูดถึง ระบบ
ตรวจวัดด้วยเซนเซอร์แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อการ
จัดการและควบคุมอัตโนมัติ หรือ ไวมาก (WiMaRC)
ทำ�สวนทุเรียนได้
	 “สมัยพ่อแม่ท�ำสวนอาศัยประสบการณ์
จัดการแปลง อย่างช่วงพฤศจิกายนลมหนาวเริ่ม
มา จะอดน�้ำทุเรียนเพื่อให้ทุเรียนออกดอก แต่
บางปีก็ไม่เป็นตามนั้น ถ้าอากาศไม่ได้ ก็ต้องอด
น�้ำทุเรียน จนใบเหลือง ถ้าไม่หนาวก็ต้องรดน�้ำ”
นัทธี เล่าถึง “การคาดเดาสภาพอากาศไม่ได้”
ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งที่คนท�ำสวนทุเรียนประสบ
	 นัทธี เบนเข็มจากอาชีพครูมาช่วยพ่อแม่ท�ำสวน
ทุเรียน “สุวรรณจินดา” ได้ราว 10 ปี ด้วยเป็น
คนรุ่นใหม่ที่เข้าถึงเทคโนโลยีได้ง่ายเขาจึงหาข้อมูล
สภาพอากาศจากแหล่งอื่นๆ นอกเหนือจากข้อมูล
สภาพอากาศจากหน่วยงานรัฐที่ชาวสวนคุ้นเคย  
เพื่อมาช่วยตัดสินใจจัดการสวนทุเรียนพื้นที่ 30 ไร่
ของครอบครัว
	 “ข้อมูลจากเว็บไซต์อากาศหรือจากเฟซบุ๊ก
มีมากขึ้น ดูง่ายและดูผ่านมือถือได้ ท�ำให้เรา
รู้ว่าต้องเตรียมสวนอย่างไร อย่างรู้ว่าอาทิตย์
หน้าอากาศจะเริ่มหนาว เราจะต้องตัดแต่งกิ่ง
ในทรงพุ่ม ใส่ปุ๋ย รดน�้ำให้ต้นทุเรียนกินอาหาร
เต็มที่ พออากาศหนาวมาก็อดน�้ำทุเรียนให้อยู่
ในสภาวะเครียดเพื่อออกดอก”
	 แม้จะมีข้อมูลสภาพอากาศจากหลายแหล่ง
แล้วก็ตาม แต่ นัทธี กลับสนใจเทคโนโลยีไวมากที่
เจ้าหน้าที่ สวทช. ลงพื้นที่แนะน�ำให้ “กลุ่มปรับปรุง
คุณภาพทุเรียนวังจันทร์” ที่เขาเป็นสมาชิก และเขา
‘ประหยัด ปลอดภัย’
Smart IoT
ปีแรกที่ใช้ข้อมูล
จากไวมากมาจัดการ
เห็นความแตกต่างได้ชัด
ร้อยละ 70
ของต้นทุเรียนในสวน
ออกดอกพร้อมกัน
ได้ขออาสาเป็นจุดติดตั้งเทคโนโลยีไวมากของกลุ่มฯ
	 “ตอนแรกยังไม่เข้าใจเทคโนโลยีมากนัก แต่สนใจ
เพราะเห็นว่ามีเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์
และความชื้นดิน ที่จะท�ำให้รู้ข้อมูลสภาวะอากาศใน
สวนเราเอง ไม่ต้องใช้ข้อมูลอ้างอิงจากที่อื่น”
	 นอกจากเทคโนโลยีไวมาก ท�ำให้ นัทธี ได้รู้ข้อมูลสภาวะ
อากาศในพื้นที่สวนของตัวเองแล้ว การรู้ค่าความชื้นดิน
ที่ไม่เพียงท�ำให้รู้ว่ารดน�้ำแค่ไหนถึงเพียงพอ หากยังช่วย
แก้ปัญหาการดูดซึมน�้ำของต้นทุเรียนในสวน
	 “ปกติจะรดน�้ำต้นทุเรียนครึ่งชั่วโมงก็สังเกตและสงสัย
ว่าท�ำไมหน้าดินแห้งเร็ว ต้นไม่งาม พอได้เซนเซอร์มาวัด
ความชื้นดิน ท�ำให้รู้ว่าหัวสปริงเกอร์ที่ใช้อยู่ ให้เม็ดน�้ำ
ใหญ่ น�้ำที่ลงดินเหมือนน�้ำหลากหน้าดิน ไหลผ่านเฉยๆ
น�้ำไม่ซึมลงดิน พอรู้แบบนี้ก็เลยเปลี่ยนหัวสปริงเกอร์
ที่ให้เม็ดน�้ำเล็กลง ผลที่ได้ตัวเลขความชื้นในดินเพิ่มขึ้น”
	 การใช้งานเทคโนโลยีไวมากในปีแรก นัทธี ใช้ข้อมูล
จากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์อากาศควบคู่กับ
เซนเซอร์ความชื้นดิน เพื่อเตรียมความพร้อมให้ต้นทุเรียน
พร้อมออกดอก
	 “ข้อมูลอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ ความชื้นดิน
สัมพันธ์กัน ถ้าเราคุมความชื้นดิน ความชื้นสัมพัทธ์ได้
ตามที่คิดไว้ เมื่ออากาศหนาวมา ทุเรียนจะติดดอกได้
ง่ายและสม�่ำเสมอ จากเดิมที่ทยอยออกดอก ซึ่งปีแรกที่
ใช้ข้อมูลจากไวมากมาจัดการ เห็นความแตกต่างได้ชัด
ร้อยละ 70 ของต้นทุเรียนในสวนออกดอกพร้อมกัน”
15
นัทธีศึกษาข้อมูลค่าความชื้นดินและความชื้นสัมพัทธ์
จากสวนอื่นๆและมาปรับใช้กับสวนตัวเองเขาพบว่าช่วงที่
จะท�ำให้ติดดอก ค่าความชื้นสัมพัทธ์ 50-60% ค่าความ
ชื้นดินอยู่ที่ 70-75% โดยใช้เวลารดน�้ำครึ่งชั่วโมง วันเว้น
วัน ถ้าให้น�้ำมากกว่านี้จะท�ำให้รากเน่าโคนเน่าได้ ถ้าให้
น้อยกว่านี้ท�ำได้แต่จะมีผลต่อค่าความชื้นสัมพัทธ์ในโคนต�่ำ 
ซึ่งจะท�ำให้ทุเรียนเครียดน้อยและไม่ออกดอก
	 ประสบการณ์ที่ได้จากการใช้งานในปีแรก นัทธี ยังน�ำ
มาใช้ส�ำหรับผลิตทุเรียนในปีถัดมา แม้ว่าเทคโนโลยีไวมาก
ที่เขาได้รับติดตั้งจะยังไม่มีระบบสั่งการรดน�้ำอัตโนมัติ ซึ่ง
สามารถเพิ่มฟังก์ชั่นนี้ได้ แต่เขาเห็นว่า ขึ้นอยู่กับความ
เหมาะสมของแต่ละสวน และอยู่ที่การเอาข้อมูลจาก
เทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ให้หลากหลายแค่ไหน ส�ำหรับ
การใช้เทคโนโลยีไวมากนัทธีมองว่าไวมากสั่งให้เราไปท�ำ 
ท�ำให้ประหยัดและปลอดภัย
	 “ข้อมูลจากเทคโนโลยีไวมาก ท�ำให้เราคาดการณ์
ได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น แล้วเราจะจัดการหรือป้องกัน
อย่างไร  เช่น ช่วงที่อากาศร้อนต่อเนื่อง มีลมพัด เป็น
จังหวะที่อาจจะมีไรแดงลงใบทุเรียน ข้อมูลจากไวมาก
เป็นสัญญาณเตือนเราว่าแนวโน้มอากาศร้อนมีลม เรา
จ�ำเป็นต้องตรวจแปลงว่ามีไรแดงหรือยัง ถ้าเราพบ
ไรแดงน้อย เราก็ฉีดยาปริมาณไม่มาก จัดการตั้งแต่
ต้นทาง ท�ำให้เราประหยัดและปลอดภัย จากที่ต้องใช้
สารเคมี 6 ขวด ก็เหลือ 2-3 ขวด หรือการรู้ค่าความชื้น
ในดินก็มีส่วนช่วยลดค่าใช้จ่ายยาก�ำจัดเชื้อราจากโรค
รากเน่าโคนเน่าได้”
ข้อมูลจากเทคโนโลยี
ไวมาก ท�ำให้เราคาดการณ์ได้ว่า
จะเกิดอะไรขึ้น แล้วเราจะจัดการ
หรือป้องกันอย่างไร ท�ำให้เรา
ประหยัดและปลอดภัย
Smart IoT
นัทธี สุวรรณจินดา
16
นัทธี น�ำข้อมูลที่ได้จากเทคโนโลยีไวมากไปแลกเปลี่ยน
ให้สมาชิกลุ่มปรับปรุงคุณภาพทุเรียนวังจันทร์ในวงประชุม
เสมอ ขณะเดียวกันข้อมูลสภาวะแวดล้อมอากาศนี้ยังกลาย
เป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงให้หน่วยงานในพื้นที่เพื่อใช้บริหาร
งบประมาณด้านภัยพิบัติให้กับชาวสวนอีกด้วย
	 ส�ำหรับการใช้งานชุดข้อมูลสภาวะแวดล้อมต่างๆ จาก
เทคโนโลยีไวมากที่บันทึกและดูย้อนหลังได้ นัทธี วางแผน
ที่จะเก็บข้อมูลของสวน 3 ปี เพื่อให้ได้ฐานข้อมูลสภาวะ
แวดล้อมของสวนทุเรียนตัวเองพร้อมๆกับข้อมูลการจัดการ
สวน ซึ่งเขามองว่า ถ้าเราได้ข้อมูลและค่าที่ถูกต้องแล้ว
ต่อไปถ้ามีระบบสั่งการอัตโนมัติ ก็จะท�ำได้แม่นย�ำขึ้น
	 “เก็บข้อมูล 3 ปี ก็น่าจะเห็นข้อมูลของสวน
ได้ โดยใช้ข้อมูลจากไวมากให้เต็มที่และเปรียบเทียบ
กับแหล่งอื่น ถ้าข้อมูลใกล้เคียงกัน การจัดการใกล้
เคียงกัน ต่อไปข้อมูลจากสวนเราก็จะเป็นที่อ้างอิงให้
สวนอื่นได้”
สวนสุวรรณจินดา
ต.วังจันทร์ อ.วังจันทร์ จ.ระยอง
ผลิตทุเรียนพันธุ์หมอนทองและชะนี
ผลผลิตทุเรียนเฉลี่ย 50 ตัน/ปี
โดยร้อยละ 80 ของผลผลิต
ส่งจ�ำหน่ายต่างประเทศ
โทรศัพท์ 063 2398990
facebook: สวนสุวรรณจินดา
(ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2564)
Smart IoT
17
Smart IoT
‘เทคโนโลยี IoT’ เสริมศักยภาพ
‘การพึ่งพาตนเองด้านอาหาร‘
สร้างชุมชนตัวอย่างของการพึ่งพาตนเอง เป็นแหล่งผลิต
อาหารอินทรีย์ของคนเมือง สอดคล้องกับวิถีธรรมชาติ คือ
หนึ่งในเป้าหมายที่ คมสัน หุตะแพทย์ ผู้อ�ำนวยการชุมชนนิเวศน์
สันติวนา ก�ำลังขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นบนพื้นที่กว่า 30 ไร่
ย่านดอนเมือง กรุงเทพฯ โดยมีแปลงผักอินทรีย์เป็นจุดเริ่มต้น
ของการพึ่งพาตนเองในด้านอาหาร
เป็นความยากของ
เกษตรกรที่จะรู้ว่า
สภาพแวดล้อมแต่ละช่วง
เป็นอย่างไร ยิ่งในสภาวะ
อากาศที่แปรปรวนสูง
ในปัจจุบัน ซึ่งไวมาก
ตอบโจทย์ตรงนี้
ค่อนข้างเยอะ”
	 คมสัน เป็นผู้บุกเบิก “สวนผักบ้านคุณตา”
ศูนย์อบรมเกษตรและแหล่งเรียนรู้การพึ่งพาตนเองที่
ขึ้นชื่อของเมืองกรุง และได้ขยายภารกิจสร้างความรู้
การพึ่งพาตนเองในพื้นที่แห่งใหม่นี้ “เดิมเราปลูกผัก
อินทรีย์ในพื้นที่ขนาดเล็ก แต่พื้นที่ขนาด 2 ไร่ เรา
เพิ่งท�ำได้ 2 ปี ปลูกผักทั้งในโรงเรือนของ สวทช.
โรงเรือนหลังคาโค้งทั่วไป และแปลงปลูกนอก
โรงเรือน”
	 พืชผักที่คมสัน ปลูกในพื้นที่2ไร่เช่นสลัดเรดโอ๊ค
กรีนโอ๊ค เคล กวางตุ้ง มะเขือเทศ คะน้า โดยปลูกใน
โรงเรือนพลาสติกของ สวทช. ได้ 8 รอบ ใช้ระยะเวลา
ปลูก30-40วัน/รอบขณะที่ปลูกนอกโรงเรือนได้4-6รอบ
ใช้ระยะเวลาปลูก 30-45 วัน/รอบ ซึ่งผลผลิตผักที่ได้
น�ำไปแบ่งปันผ่านกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนฯ จ�ำหน่าย
รอบพื้นที่และจ�ำหน่ายแก่ผู้บริโภคโดยให้เข้ามาตัดผัก
ในแปลงด้วยตนเอง
	 ชุมชนนิเวศน์สันติวนาได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
โรงเรือนพลาสติกเพื่อการผลิตพืชผักคุณภาพ
ของ สวทช. ร่วมกับระบบตรวจวัดด้วยเซนเซอร์
แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อการจัดการและควบคุม
อัตโนมัติ หรือ ไวมาก (WiMaRC) เพื่อเป็นอีกหนึ่งจุด
เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีของ สวทช. ซึ่งการปลูกผักใน
โรงเรือนไม่เพียงช่วยเพิ่มรอบการผลิตพืชผักได้ผลผลิต
ที่มีคุณภาพกว่าปลูกนอกโรงเรือนการติดตั้งเทคโนโลยี
ไวมากยังท�ำให้คมสัน ได้เรียนรู้ข้อมูลสภาวะแวดล้อม
ที่ส�ำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชผักอีกด้วย
	 “การปลูกผักต้องรู้จักผัก การเจริญเติบโต ดิน
ความต้องการน�้ำ ความต้องการแสงแดด ซึ่งเป็น
กุญแจส�ำคัญที่จะท�ำให้ผักเติบโตสอดคล้องกับ
ช่วงอายุ แต่เป็นความยากของเกษตรกรที่จะรู้ว่า
สภาพแวดล้อมแต่ละช่วงเป็นอย่างไร ยิ่งในสภาวะ
อากาศที่แปรปรวนสูงในปัจจุบัน คนที่เชี่ยวชาญ
ปลูกผักก็ยังประสบปัญหา ซึ่งไวมากตอบโจทย์
ตรงนี้ค่อนข้างเยอะ”
คมสัน หุตะแพทย์
19
เทคโนโลยีไวมากประกอบด้วย สถานีตรวจวัด
สภาวะแวดล้อม2ชุดแต่ละชุดประกอบด้วยเซนเซอร์
วัดค่าความชื้นดิน ความชื้นอากาศ ปริมาณแสง และ
อุณหภูมิโดยสถานีแม่ข่ายจะเพิ่มอุปกรณ์วัดความเร็ว
ลมและปริมาณน�้ำฝน ติดตั้งอยู่นอกโรงเรือนเพื่อเก็บ
ข้อมูลสภาวะอากาศภายนอกโรงเรือนเปรียบเทียบ
กับข้อมูลจากสถานีลูกข่ายที่อยู่ในโรงเรือน นอกจากนี้
ยังได้เพิ่มเซนเซอร์วัดค่าการใช้ไฟฟ้าและการใช้น�้ำ 
เพื่อเก็บข้อมูลเป็นต้นทุนการผลิตของสวน และยังมี
กล้องบันทึกภาพการเจริญเติบโตของพืชผักที่ช่วยให้
เห็นการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชได้
	 “การใช้งานไวมากไม่ยุ่งยาก ตัวหลักที่ใช้คือ
ควบคุมการเปิดปิดการให้น�้ำอัตโนมัติ ไม่ว่าอยู่
ที่ไหนก็สั่งเปิดปิดปั๊มเพื่อให้น�้ำได้ ที่นี่จะตั้งการ
ให้น�้ำไว้ 2 ครั้ง คือเช้าและเย็น วันที่อากาศ
ร้อนมาก ก็เปิดให้น�้ำตอนกลางวันเพิ่ม ส่วน
ระยะเวลาให้น�้ำขึ้นอยู่กับปริมาณความต้องการ
ของผักในแต่ละช่วงการเติบโต การใช้เทคโนโลยี
ไวมาก 1. ประหยัดเวลา ในพื้นที่ขนาดใหญ่
สามารถสั่งการผ่านมือถือได้ 2. ให้น�้ำในช่วงเวลา
ที่แน่นอนและในปริมาณที่เราก�ำหนดได้แน่นอน
และ 3. ประหยัดทรัพยากร เช่น ปริมาณน�้ำ
บางช่วงที่แล้ง การให้น�้ำที่สอดคล้องกับทั้งพืช
และปริมาณน�้ำที่มีอยู่ มีความจ�ำเป็น จะช่วย
ประหยัดไฟที่เปิดปั๊ม ส่งผลต่อต้นทุนการผลิต
และก�ำไรขาดทุนของการปลูกผัก”
	 นอกจากการรู้สภาวะแวดล้อมในโรงเรือนที่จะ
ช่วยให้จัดการพืชผักได้อย่างเหมาะสมแล้ว ข้อมูล
และภาพที่เก็บไว้ในระบบ ยังเป็นตัวช่วยจดบันทึก
สภาวะแวดล้อมให้เกษตรกรซึ่งเมื่อน�ำมาใช้ร่วมกับ
ข้อมูลกิจกรรมการปลูกและดูแลแปลงแล้วจะท�ำให้
ได้ปฏิทินการจัดการแปลงปลูกของตนได้
การใช้เทคโนโลยีไวมาก
ประหยัดเวลา ให้น�้ำในช่วง
เวลาที่แน่นอนและในปริมาณ
ที่ก�ำหนดได้แน่นอน และ
ประหยัดทรัพยากร
Smart IoT
20
“ในพืชชนิดเดียวกัน ถ้าเป็นฤดูกาลใกล้เคียงกัน การ
จัดการปัญหาก็ใกล้เคียงกัน ข้อมูลจากไวมากที่บันทึก
เก็บไว้บนเน็ตพาย (NETPIE) เป็นประโยชน์มากส�ำหรับ
วางแผนการปลูกรอบต่อไป ซึ่งข้อมูลเก็บได้เป็นปี
เป็นข้อดีของระบบที่มาปิดข้ออ่อนของเกษตรกร ซึ่ง
ไม่ค่อยจดบันทึกข้อมูล แม้แต่ผมที่ท�ำงานข้อมูล ก็ยัง
ไม่ค่อยได้จด การไปสั่งงานคนในสวนให้จดเป็นเรื่อง
ยากมากข้อมูลในระบบช่วยให้เราวางแผนและประเมิน
สาเหตุได้ จากเดิมที่ไม่มีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์มาตอบ
ว่าปัญหาที่เจอเกิดจากอะไร เช่น บางช่วงผักเป็นโรคที่
เกิดจากเชื้อรา ก็สัมพันธ์กับการให้น�้ำเยอะแสงแดดน้อย”
	 การเป็นตัวอย่างชุมชนที่พึ่งพาตนเองด้านอาหาร เป็น
หนึ่งในแนวทางการด�ำเนินงานเกษตรของชุมชนนิเวศน์
สันติวนาภายใต้แนวคิด Permaculture หรือ Permanent
Agriculture ที่ค�ำนึงถึงความสัมพันธ์และการรักษาสมดุล
ชุมชนนิเวศน์สันติวนา
เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างมูลนิธิอุร์สุลินเพื่อการศึกษาและ
มูลนิธิศูนย์สื่อเพื่อการพัฒนา ร่วมกันรักษาและพัฒนาให้เป็นพื้นที่
แห่งความยั่งยืน ชุมชนเรียนรู้แห่งนี้เป็นพื้นที่ตัวอย่างของการรักษา
สมดุลทางระบบนิเวศในเมือง พื้นที่ของการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร
และพลังงาน และเป็นพื้นที่ส�ำหรับฝึกฝนด้านจิตวิญญาณในการ
ใช้ชีวิต ซึ่ง สวทช. โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เกษตร (สท.) ได้ร่วมสนับสนุนองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการพัฒนาเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้และ
พึ่งพาตนเอง
โทรศัพท์ 095 0672728
facebook: Santi Wana Eco Community ชุมชนนิเวศสันติวนา
(ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564)
ของระบบนิเวศในพื้นที่ เมื่อเกิดการน�ำเทคโนโลยี
IoT ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกพืชใน
โรงเรือนมาใช้ในพื้นที่ คมสัน จึงมองไปถึงการ
สร้างระบบนิเวศวิทยา(ecology)ในโรงเรือนที่ไม่ใช่
แค่พืชผักชนิดใดชนิดเดียวหรือสองสามชนิด แต่
ต้องหลากหลายเพื่อสร้างความแข็งแรงให้พืชผัก
ด้วยตัวมันเอง โดยมีเทคโนโลยี IoT เป็นเครื่องมือ
	 “เราเชื่อมั่นในศักยภาพของมนุษย์ที่จะพึ่ง
ตนเองและอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างยั่งยืนได้
การมีเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพเป็นเครื่องมือ
ช่วยเพิ่มศักยภาพของเรา อย่างไรก็ตาม
เราต้องตระหนักว่า ความรู้ของเราและความ
สามารถของเทคโนโลยีก็เป็นเพียงการส่งเสริม
กระบวนการธรรมชาติให้ท�ำงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น”
21
Smart IoT
เรียนรู้ ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’
ที่แปลงล�ำไย
	 จากประสบการณ์การท�ำงานวิจัยและคลุกคลี
กับเกษตรกรชาวสวนล�ำไยภาคเหนือมากว่า
25 ปี ผศ.ดร.วินัย วิริยะอลงกรณ์ ประธาน
อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
(เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชสวน (ไม้ผล)
คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
จ.เชียงใหม่ กล่าวว่า องค์ประกอบที่ท�ำให้ล�ำไย
มีคุณภาพ คือ น�้ำ การตัดแต่งกิ่ง การตัดแต่งช่อผล
การให้ปุ๋ย และการจัดการโรคและแมลงศัตรู
อย่างถูกต้องและเหมาะสม แต่เกษตรกรส่วนใหญ่
ยังปฏิบัติไม่ครบหรือไม่ถูกต้อง และยังมีความเชื่อ
ในวิถีการจัดการและดูแลแปลงล�ำไยแบบเดิมๆ
ที่ปฏิบัติกันมาช้านาน ซึ่งกลุ่มนี้เปลี่ยนความคิด
ค่อนข้างยากอย่างไรก็ตามยังมีอีกกลุ่มหนึ่งที่พร้อม
จะรับเทคโนโลยี แต่ความรู้ต่างๆ ยังเข้าไปไม่ถึง
ตัวเกษตรกรอย่างแท้จริง ปัจจุบันกลุ่มที่ยอมรับและ
น�ำเทคโนโลยีไปใช้ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรวัยหนุ่มสาว
มีความรู้พอสมควร ไม่ได้จบด้านเกษตรหรือไม่มี
พื้นฐานด้านเกษตร แต่มีใจรักอาชีพเกษตร กลุ่มนี้
เปิดใจยอมรับความรู้และเทคโนโลยี สามารถท�ำได้
ดีจนเป็นเกษตรกรผู้น�ำเกษตรกรกลุ่มเดิมๆ และ
สามารถพัฒนาระบบเทคโนโลยีให้ก้าวล�้ำหน้าไปไกล
รวมทั้งผลผลิตมีคุณภาพตามที่ตลาดต้องการ
แต่เกษตรกรกลุ่มนี้ยังมีอยู่น้อยมากในปัจจุบัน
22
แปลงเรียนรู้ล�ำไย มหาวิทยาลัยแม่โจ้:
ศาสตร์แห่งล�ำไยเป็นสถาบันการเกษตรที่ร่วมบุกเบิก
ล�ำไยพร้อมๆ กับเกษตรกรมาช้านาน มีองค์ความรู้
ด้านล�ำไยครบวงจร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ส่งเสริมให้
เกษตรกรชาวสวนล�ำไยได้ปรับเปลี่ยนแนวคิดการ
ผลิตล�ำไยเพื่อให้ได้ผลผลิตคุณภาพและลดต้นทุน
การผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะสภาพอากาศ
แปรปรวนที่ยากต่อการควบคุมแต่สามารถจัดการได้
โดยอาศัยความรู้และเทคโนโลยี
	 สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เกษตร (สท.) ภายใต้ สวทช. ได้น�ำเทคโนโลยี IoT
(Internet of Things) ประยุกต์ใช้ร่วมกับข้อมูลจาก
งานวิจัยเรื่องล�ำไยของ ผศ.ดร.วินัย เพื่อบริหาร
จัดการแปลงล�ำไยให้ได้คุณภาพ โดยเฉพาะการ
จัดการให้น�้ำในแปลงล�ำไยอย่างอัจฉริยะและ
เหมาะสม
	 “การให้น�้ำเป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้ผลผลิต
ล�ำไยไม่เสียหาย ซึ่งผลผลิตล�ำไยที่เสียหายใน
ปัจจุบันเกิดจากฝนหลงฤดู เกษตรกรไม่มีน�้ำให้
หรือให้ไม่สม�่ำเสมอ เมื่อฝนหลงฤดูมาในช่วงที่
ล�ำไยสร้างเนื้อ ผลล�ำไยจึงแตก”
	 การให้น�้ำของเกษตรกรสวนล�ำไยนิยมให้น�้ำเต็ม
พื้นที่ทรงพุ่มหรือร่องที่ท�ำไว้ใต้ต้นล�ำไย โดยเชื่อว่า
ล�ำไยจะได้รับน�้ำจนอิ่ม ซึ่งท�ำให้เกษตรกรต้องใช้
น�้ำในปริมาณมาก ขณะที่แปลงเรียนรู้แห่งนี้วาง
ระบบน�้ำและให้น�้ำผ่านสปริงเกอร์
ผศ.ดร.วินัย วิริยะอลงกรณ์
“ถ้ามีล�ำไย 100 ต้น เกษตรกรชาวเหนือให้น�้ำอยู่
3 วัน แต่จากงานวิจัย 1 ต้นล�ำไย ใช้หัวสปริงเกอร์
1-2 หัว ขนาดของปั๊มไม่เกิน 2 แรงม้า ให้น�้ำไม่ถึง
ชั่วโมง ความรู้เรื่องระบบน�้ำเป็นปัญหาของชาวสวน
ล�ำไยทางภาคเหนือเกษตรกรยังวางระบบน�้ำไม่เหมาะสม
หรือใช้ปั๊มผิดประเภทเช่นใช้ปั๊ม 2-3 แรงให้น�้ำล�ำไย
ได้ประมาณครั้งละ 6-10 ต้น ขณะที่แปลงจุดเรียนรู้
ที่เดินระบบน�้ำร่วมกับเทคโนโลยี IoT รดน�้ำได้ 109
ต้น/ครั้ง และน�้ำออกสม�่ำเสมอ”
	 แปลงเรียนรู้ล�ำไยแห่งนี้ไม่เพียงเป็นจุดเรียนรู้
การจัดการแปลงและการวางระบบน�้ำที่เหมาะสมแล้ว
ยังได้ติดตั้ง เทคโนโลยีระบบควบคุมการให้น�้ำ
อัจฉริยะส�ำหรับพืชแปลงเปิด ครอบคลุมพื้นที่ 1 ไร่
เพื่อก�ำหนดการให้น�้ำอัตโนมัติ โดยใช้ข้อมูลความต้องการ
น�้ำของล�ำไยจากงานวิจัยของ ผศ.ดร.วินัย เป็นตัวก�ำหนด
การสั่งการให้น�้ำตามระยะการเจริญเติบโตของล�ำไย
	
	 “จากงานวิจัยท�ำให้มีข้อมูลความต้องการน�้ำ
ในแต่ละช่วงการเจริญเติบโตของล�ำไย ข้อมูลที่มีน�ำ
ไปตั้งค่าในระบบให้น�้ำอัจฉริยะฯเพื่อสั่งการให้น�้ำเช่น
ช่วงออกดอกติดผล ต้องเพิ่มปริมาณน�้ำและความชื้น
ในดิน ช่วงหน้าร้อน น�้ำระเหยมาก ความชื้นในดิน
ไม่ควรต�่ำกว่า 40% ถ้าความชื้นดินต�่ำ ระบบให้น�้ำ
อัจฉริยะฯจะท�ำงานเพื่อเพิ่มปริมาณความชื้นให้ถึง50%”
	 จากการทดลองใช้เทคโนโลยีฯพบว่าการเจริญเติบโต
การออกดอก ติดผล และผลผลิตของล�ำไยที่ได้สมบูรณ์
กว่าแปลงที่ให้น�้ำแบบทั่วไป (ให้น�้ำเมื่อเห็นว่าดินแห้ง)
ท�ำให้ได้ผลผลิตล�ำไยต่อต้นประมาณ 70-80 กก./ต้น
(ขนาดทรงพุ่มกว้าง 3-4 เมตร)
	 การวางระบบน�้ำที่ถูกต้อง การเลือกใช้ระบบให้น�้ำ
แบบสปริงเกอร์ การตัดแต่งกิ่งล�ำไย เป็นเรื่องที่เกษตรกร
ที่มาดูงานที่แปลงล�ำไยแห่งนี้ได้มีโอกาสศึกษาเรียน
รู้ ขณะเดียวกันยังได้ท�ำความรู้จักเทคโนโลยี IoT หรือ
สมาร์ทเทคโนโลยีที่เข้ามาเป็นเครื่องมือช่วยเกษตรกร
นอกจากเทคโนโลยีระบบควบคุมการให้น�้ำอัจฉริยะ
ส�ำหรับพืชแปลงเปิดแล้ว แปลงเรียนรู้แห่งนี้ยังได้
ติดตั้ง เทคโนโลยีระบบตรวจวัดด้วยเซนเซอร์แบบ
เครือข่ายไร้สายเพื่อการจัดการและควบคุม
อัตโนมัติ หรือ ไวมาก (WiMaRC) เป็นเสมือนสถานี
วัดอากาศที่เก็บข้อมูลสภาวะอากาศโดยมีเซนเซอร์วัด
อุณหภูมิเซนเซอร์วัดความชื้นอากาศเซนเซอร์วัดความ
เข้มแสง เซนเซอร์วัดความชื้นดิน อุปกรณ์วัดความเร็ว
ลม และอุปกรณ์วัดปริมาณน�้ำฝน ซึ่งเป็นอีกเทคโนโลยี
ที่ช่วยบริหารจัดการแปลงปลูก
	 “เกษตรกรให้ความสนใจการให้น�้ำด้วย
เทคโนโลยี IoT สอบถามการใช้งาน การลงทุนติด
ตั้ง แต่เกษตรกรชาวสวนล�ำไยต้องเข้าใจเรื่องระบบ
น�้ำและการให้น�้ำแบบสปริงเกอร์ ซึ่งเป็นเรื่องพื้น
ฐานที่ส�ำคัญก่อนขยับไปใช้เทคโนโลยี IoT”
Smart IoT
สวทช. และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ลงนามความร่วมมือ “การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี
เกษตรและเกษตรอัจฉริยะ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน” โดยมีแผนทดสอบและขยายผล
เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะในฟาร์มเปิดและการผลิตในระบบโรงเรือน
24
หอมขจรฟาร์ม: แปลงสาธิตเกษตร
ปลอดภัยอัจฉริยะ
“การท�ำอาหารให้ได้คุณภาพ วัตถุดิบเป็นสิ่งส�ำคัญ ซึ่งต้นทางวัตถุดิบมาจากการท�ำเกษตร
ที่ดี” มหาวิทยาลัยสวนดุสิตเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในอัตลักษณ์อันโดดเด่นด้านอาหาร
มาเนิ่นนาน นับตั้งแต่ก่อตั้งเป็นโรงเรียนการเรือนจวบจนกระทั่งปัจจุบัน มหาวิทยาลัยได้ท�ำหน้าที่
สร้างสรรค์นวัตกรรมด้านอาหารออกสู่สังคมโดยค�ำนึงความอร่อย คุณค่าและความปลอดภัย
ของผู้บริโภคเป็นส�ำคัญ จากแนวคิดดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการขับเคลื่อน โครงการ
แปลงสาธิตเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ หรือ หอมขจรฟาร์ม บนพื้นที่กว่า 30 ไร่ ที่วิทยาเขต
สุพรรณบุรี เพื่อด�ำเนินงานส่งเสริมคุณค่าห่วงโซ่การผลิตอาหารปลอดภัยจากต้นน�้ำไปถึง
ปลายน�้ำ และยกระดับคุณภาพชีวิตให้แก่เกษตรกร ผู้ประกอบการและชุมชน
	 “เราไม่ได้ต้องการท�ำเกษตรดั้งเดิม แต่จะน�ำ
เทคโนโลยีมาบูรณาการกับการเกษตรที่ดีและ
ความเชี่ยวชาญด้านการแปรรูปที่เป็นมาตรฐาน
ของมหาวิทยาลัย” รศ.ดร.ชนะศึก นิชานนท์
รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัย
สวนดุสิต กล่าวถึงความตั้งใจของมหาวิทยาลัยต่อการ
ขับเคลื่อนโครงการแปลงสาธิตเกษตรปลอดภัย
อัจฉริยะ ที่ไม่ใช่แค่การด�ำเนินงานเพื่อยกระดับห่วงโซ่
คุณค่าด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยเท่านั้น
หากยังบูรณาการการด�ำเนินงานของแปลงสาธิตเกษตร
ปลอดภัยอัจฉริยะเป็นฐานการสร้างประสบการณ์
เรียนรู้ให้บุคคลทุกช่วงวัย ทั้งนักเรียน นักศึกษา
คณาจารย์ เกษตรกร และผู้ประกอบการในจังหวัด
สุพรรณบุรี
รศ.ดร.ชนะศึก นิชานนท์
25
เฉลิมชัย แสงอรุณ ผู้จัดการแปลงสาธิตเกษตร
ปลอดภัยอัจฉริยะและผู้เชี่ยวชาญด้านพืชสวน เล่าว่า
ที่ผ่านมาหอมขจรฟาร์มได้ทดลองปลูกเมล่อนมาแล้ว
จ�ำนวน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ทิเบต พันธุ์กาเรีย และ
พันธุ์ออเร้นจ์แมน โดยปลูกในโรงเรือน 3 รูปแบบได้แก่
โรงเรือนอัจฉริยะ เป็นโรงเรือนที่มีระบบเซนเซอร์ส�ำหรับ
วัดความชื้นดิน อุณหภูมิ ความชื้นอากาศ และความเข้มแสง
มีระบบสเปรย์หมอก สามารถควบคุมการให้น�้ำหรือลด
อุณหภูมิภายในโรงเรือนได้ผ่านทางมือถือได้ โรงเรือนกึ่ง
อัตโนมัติเป็นโรงเรือนที่ควบคุมการให้น�้ำและปุ๋ยได้ผ่านมือถือ
แต่ไม่มีระบบสเปรย์หมอก และโรงเรือนที่ติดตั้งเฉพาะ
เซนเซอร์ เพื่อดูค่าสภาวะแวดล้อมแต่ไม่สามารถควบคุม
หรือสั่งงานได้
	 “ระบบในโรงเรือนอัจฉริยะบริหารจัดการปัญหาได้
ดีพอสมควร ในหน้าหนาวไม่ค่อยเจอปัญหา แต่หน้า
ร้อนที่มีเพลี้ยไฟ ไรแดงระบาด สามารถใช้สเปรย์หมอก
ช่วยได้ รวมทั้งกรณีที่สังเกตเห็นเซนเซอร์อุณหภูมิเตือน
ว่าอากาศอบอ้าว ก็สามารถสั่งให้สเปรย์หมอกท�ำงาน
หรือสั่งให้พัดลมระบายอากาศท�ำงาน เพื่อสร้างสภาวะ
แวดล้อมให้เหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืช แต่
อย่างไรก็ตามการท�ำเกษตร นอกจากจะมีอุปกรณ์หรือ
เทคโนโลยีช่วยแล้ว เกษตรกรต้องมีความรู้ในการดูแล
พืช แม้จะสามารถสั่งงานผ่านแอพได้ แต่ก็ควรต้องไป
คลุกคลีสังเกตในโรงเรือนอย่างใกล้ชิดด้วยเช่นกัน”
	 โรงเรือนเพาะปลูกพืชขนาด 6x20x5.6
เมตร จ�ำนวน 3 โรงเรือนตั้งเรียงตระหง่าน
บนพื้นที่หอมขจรฟาร์ม เป็นหนึ่งในเทคโนโลยี
ด้านการเกษตรที่เกิดจากความร่วมมือระหว่าง
สวทช. กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยมี
เป้าหมายเพื่อ “พัฒนางานวิจัยและถ่ายทอด
องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม เพื่อพัฒนาอาชีพและยกระดับ
คุณภาพชีวิตในชุมชน” ซึ่งทั้งสามโรงเรือน
ดังกล่าวมีความต่างเรื่องโครงสร้าง อุปกรณ์ ฟังก์ชั่น
การใช้งานและราคา ที่สามารถใช้ในการด�ำเนิน
การวิจัยและสาธิตการผลิตพืชมูลค่าสูงและเป็น
ตัวอย่างของโรงเรือนปลูกพืชให้แก่เกษตรกร
ในการเรียนรู้และประยุกต์ให้เหมาะกับตนเอง
แปลงสาธิตเกษตรปลอดภัย
อัจฉริยะ ไม่เพียงยกระดับ
ห่วงโซ่คุณค่าด้านการผลิต
สินค้าเกษตรปลอดภัย แต่ยัง
เป็นฐานสร้างประสบการณ์
เรียนรู้ให้บุคคลทุกช่วงวัย
เฉลิมชัย แสงอรุณ
Smart IoT
26
รศ.ดร.ชนะศึก และ เฉลิมชัย ได้วางแผนการปลูก
เมล่อนทั้ง 3 สายพันธุ์ ให้ครบทุกฤดูกาลในวงรอบ 1 ปี
เพื่อเรียนรู้ถึงสภาวะแวดล้อมและการจัดการเมล่อนใน
แต่ละช่วงฤดูได้อย่างเหมาะสม และรวบรวมองค์ความรู้
จากการผลิตเมล่อนในระบบโรงเรือนส่งต่อให้เกษตรกร
ได้น�ำไปปรับใช้ได้จริงในชุมชน นอกจากเมล่อนแล้วยังได้
วางแผนปลูกพืชมูลค่าสูงอื่นๆ ที่ต้องการดูแลพิเศษใน
โรงเรือน เช่น ไม้ดอก มะเขือเทศ
	 “โครงการแปลงสาธิตเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ
เป็นการท�ำงานในรูปแบบของเครือข่ายความร่วมมือ
ระหว่างมหาวิทยาลัยสวนดุสิตกับหน่วยงานต่างๆ
ที่เป็นพันธมิตรต่อกัน เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้
และเทคโนโลยีตลอดห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตร
สู่ชุมชนโดยไม่หวังผลก�ำไร ยกตัวอย่างเช่น
โรงเรือนของ สวทช. ก็ไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อเป็น
ทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต หากแต่ทั้ง
สวทช. และมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีเจตนารมณ์
ร่วมกันที่จะสร้างขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ส�ำหรับ
เกษตรกรซึ่งจะพัฒนาหลักสูตรจัดอบรมร่วมกันต่อไป”
รศ.ดร.ชนะศึก กล่าวทิ้งท้าย
	 รศ.ดร.ชนะศึก เล่าถึงผลผลิตเมล่อนที่ได้จาก
โรงเรือนปลูกพืชของสวทช.เมื่อบวกกับการวางแผน
การตลาดและความเชี่ยวชาญด้านการแปรรูป
ของมหาวิทยาลัย จะเป็นตัวอย่างให้เกษตรกรได้
มองเห็นถึงการผลิตที่เน้นท�ำในปริมาณน้อย
แต่มีคุณภาพสามารถสร้างมูลค่าให้แก่ผลผลิตและ
สร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรกรได้
	 “ผลผลิตเมล่อนจากทั้งสามโรงเรือนได้
รับรองมาตรฐาน GAP และจ�ำหน่ายภายใต้
แบรนด์หอมขจร ซึ่งเมล่อนเกรดพรีเมี่ยม
(น�้ำหนักเกิน 3 กก. ร้อยละ 85 ของผลผลิต)
จัดส่งขายที่ตลาด อตก. ราคาลูกละ 399 บาท
เกรด B วางขายที่ปั๊มปตท. จังหวัดสุพรรณบุรี
ราคาลูกละ 250 บาท (น�้ำหนัก 2-3 กก. ร้อยละ 10
ของผลผลิต) ส่วนเกรด C (น�้ำหนักต�่ำกว่า 2 กก.
ร้อยละ5ของผลผลิต)น�ำไปแปรรูปเป็นไอศกรีม
และเครื่องดื่มขายในโรงแรมสวนดุสิตเพลส
และเรายังน�ำผลอ่อนหรือลูกที่คัดทิ้งไปท�ำ
เมนูเมล่อนผัดไข่ ซึ่งกลายเป็น signature ของ
โรงแรมที่ถูกพูดถึง”
ผลผลิตเมล่อนที่ได้จาก
โรงเรือน สวทช. บวกกับ
การตลาด ความเชี่ยวชาญ
การแปรรูปของมหาวิทยาลัย
เป็นตัวอย่างให้เห็นถึงการ
ผลิตที่เน้นท�ำปริมาณน้อย
แต่มีคุณภาพ
27
‘เกษตรปลอดภัยเกษตรอินทรีย์’เป็นระบบการท�ำเกษตรที่ไม่เพียงสร้าง
ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี หากยังเป็นระบบการท�ำเกษตรที่เป็นมิตรต่อทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค
ทรัพยากรท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อม
	 การเพิ่มศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตข้าวแบบครบวงจรด้วยกระบวนการ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพื้นที่จังหวัดสงขลา การพัฒนาทักษะ
ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่ การพัฒนาเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ ผู้ผลิต
ผักสดและเมล็ดพันธุ์ในชุมชน ตลอดจนการถ่ายทอดเทคโนโลยี
โรงเรือนพลาสติกส�ำหรับการปลูกพืชผักและการบริหารจัดการแบบ
ครบวงจร เป็นโครงการส่วนหนึ่งที่สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเกษตร(สท.)สวทช.ได้น�ำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
และนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรได้ตระหนัก ปรับเปลี่ยน และ
ยืนหยัดในการท�ำเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ตามบริบทพื้นที่
ของตนเอง ซึ่งไม่เพียงได้ผลผลิตคุณภาพ สร้างสุขภาวะที่ดีให้เกษตรกร
สร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้นให้ครอบครัว คืนความสมบูรณ์ให้สิ่งแวดล้อม หาก
ยังน�ำไปสู่การอนุรักษ์พันธุ์พืชประจ�ำถิ่นที่จะเป็นคลังทรัพยากรชีวภาพ
ให้กับประเทศ
ปลูก “ปลอดภัย-อินทรีย์”
สร้างสมดุล
รักษ์ทรัพยากรชุมชน
29
30
31
แม้การท�ำนาไม่ใช่อาชีพหลักของคนใต้ แต่ภาคใต้กลับอุดมด้วย
สายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองกว่า 160 สายพันธุ์ ด้วยวิถีการท�ำนาที่ปลูก
เพื่อบริโภค เนื้อสัมผัสหรือรสชาติของข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่คุ้นเคย
จึงครองใจคนในพื้นที่ แต่ด้วยความเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ
และสังคม ท�ำให้พื้นที่เพาะปลูกข้าวในภาคใต้ลดน้อยลง ความพยายาม
ในการรักษาพันธุ์ข้าวพื้นเมืองและผลักดันให้ข้าวพื้นเมืองเป็นที่นิยม
มากขึ้น กลายเป็นโจทย์ของชาวนาใต้ในหลายพื้นที่
เสริมแกร่งชาวนาใต้
ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี
รักษ์ ‘ข้าวพันธุ์พื้นเมือง’
เกษตรอินทรีย์
32
เป็นอีกหนึ่งชุมชนชาวไทย-มุสลิมที่ยังยึดอาชีพท�ำนาแม้ไม่ใช่
อาชีพหลักที่สร้างรายได้อย่างการท�ำสวนยางพาราแต่ที่นี่กลับให้
ความส�ำคัญกับการส่งต่อวิถีการท�ำนาสู่เด็กนักเรียนโดยมีสมาชิก
วิสาหกิจชุมชนข้าวช่อขิงบ้านกระอาน หมุนเวียนไปให้ความรู้
และพาลงมือท�ำในพื้นที่นาของโรงเรียนบ้านกระอาน
ถ้าเราผลิตเมล็ดพันธุ์ที่ดี มีคุณภาพ
เท่ากับเราท�ำสิ่งที่ดีให้คนอื่น
ให้เขาได้ผลผลิตที่ดีขึ้นด้วย
	 “เรียกว่าไปแนะน�ำไม่ใช่สอนหรอก” นูรีย๊ะ สูโรโรจน์
หรือกะย๊ะประธานกลุ่มนาอินทรีย์วิถีวิทย์อ�ำเภอเทพา(บ้านกระอาน)
เล่าถึงบทบาทหนึ่งของกลุ่มฯ ที่ร่วมงานกับโรงเรียนเพื่อให้เด็กๆ
ได้รู้จักอาชีพของพ่อแม่ตัวเองที่แม้จะไม่ใช่อาชีพหลักอย่างท�ำสวน
ยางพารา แต่เป็นอาชีพที่ผลิต ‘ข้าว’ อาหารหลักของเด็กๆ
	 กะย๊ะ เล่าว่า เดิมการท�ำนาของเรายังไม่เป็นแบบปลอดภัย
มีใช้ยาฆ่าหญ้าพันธุ์ข้าวที่ปลูกมีทั้งช่อรวงช่อกระดังงาหอมจันทร์
แต่หลังจากได้ไปดูงานปลูกข้าวอินทรีย์ในพื้นที่อื่น สมาชิกจึง
หันมาปรับเปลี่ยนเป็นนาปลอดภัย
	 วิสาหกิจชุมชนฯ บ้านกระอาน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2557 หลังจาก
ที่วิทยาลัยชุมชนสงขลา(วชช.สงขลา)เข้ามาส่งเสริมการปลูกข้าว
พันธุ์ช่อขิงและแปรรูปข้าวเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆและในเวลาต่อมา
ได้เข้าร่วมเป็นหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
	 ‘ข้าวช่อขิง บ้านกระอาน ต.ท่าม่วง อ.เทพา’ และ
‘ข้าวลูกปลา บ้านป่าชิง ต.ป่าชิง อ.จะนะ’ เป็นตัวอย่าง
สองสายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองที่สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมเกษตร (สท.) สวทช. ได้ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร
ในจังหวัดสงขลา ด�ำเนินงานโครงการ การเพิ่มศักยภาพกลุ่ม
ผู้ผลิตข้าวแบบครบวงจรด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีในพื้นที่จังหวัดสงขลา เพื่อยกระดับการผลิตข้าว
ให้มีคุณภาพพร้อมส่งต่อผู้บริโภคในวงกว้าง  
บ้านกระอาน ต.ท่าม่วง อ.เทพา
นูรีย๊ะ สูโรโรจน์
33
“แต่ก่อนเก็บเมล็ดพันธุ์เป็นรวงแล้ววางเรียง
ถึงหน้าหว่านก็นวดๆ แล้วไปหว่านเลย ไม่ได้
เลือกรวง พอมาร่วมโครงการกับ สท. ก็ได้
ความรู้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะการคัดเมล็ด
ถ้าคัดรวงดี รวงโต ไม่มีโรค ผลผลิตที่ออกมา
จะดีเป็นเรื่องใหม่ที่ไม่เคยรู้ชอบและเห็นจริง
จากผลผลิตที่ออกมา”
	 วิถีการปลูกข้าวอาศัยประสบการณ์จากรุ่นสู่รุ่น
แม้มีหน่วยงานมาให้ความรู้การท�ำนาต้นเดียว
แต่ชาวบ้านไม่นิยมท�ำ จนได้มาร่วมโครงการกับ สท./
สวทช. ซึ่งมี ดร.กัญญณัช ศิริธัญญา นักวิจัยอิสระ
และดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา
เป็นผู้ให้ความรู้การผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี โดยการ
เพาะกล้าแบบวางรวงและปักด�ำแบบรวงต่อแถว ปักด�ำ
กล้าต้นเดียวร่วมกับการตรวจตัดพันธุ์ปนอย่างสม�่ำเสมอ
ทั้ง5ระยะ(ระยะกล้าระยะแตกกอระยะออกดอกระยะ
โน้มรวง และระยะสุกแก่) และปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์
(ท�ำความสะอาดและลดความชื้น) สามารถยกระดับ
คุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้ดีขึ้นได้
	 “วชช.สงขลา เข้ามาส่งเสริมให้ปลูกข้าวพันธุ์ช่อขิง
เพื่อให้เป็นข้าวสุขภาพและปลูกข้าวเป็นการค้า ซึ่งข้าว
ช่อขิงมีวิตามินอีสูงกว่าข้าวพื้นเมืองอื่นที่เรียกว่าช่อขิง
เพราะลักษณะรวงเป็นแง่ง คล้ายขิง” กะย๊ะ เล่าถึงที่มา
ของการปลูกข้าวพันธุ์ช่อขิงในพื้นที่บ้านกระอานซึ่งผลผลิต
ช่วงแรกส่งจ�ำหน่ายที่กรุงเทพฯปัจจุบันกลุ่มฯหาตลาดและ
จ�ำหน่ายเอง
	 ข้าวช่อขิง เป็นข้าวสีม่วงแดงคล้ายข้าวสังข์หยด มีกลิ่น
หอมเป็นลักษณะเฉพาะตัวมีความนุ่มเหนียวปลูกง่ายและ
ทนต่อสภาพแวดล้อม
เกษตรอินทรีย์
เพาะกล้าแบบวางรวง
แล้วด�ำต้นเดียว
ได้รวงข้าวสวย
เมล็ดเป่ง เป็นลูกคุณหนู
ท�ำแบบหว่าน
มันดูกระด้างๆ
34
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
Somporn Isvilanonda
 

Semelhante a วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (20)

รายงานประจำปี สวทช. พ.ศ.2561
รายงานประจำปี สวทช. พ.ศ.2561รายงานประจำปี สวทช. พ.ศ.2561
รายงานประจำปี สวทช. พ.ศ.2561
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
 
รายงานประจำปี 2560
รายงานประจำปี 2560รายงานประจำปี 2560
รายงานประจำปี 2560
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
 
S&T with NSTDA
S&T with NSTDAS&T with NSTDA
S&T with NSTDA
 
NSTDA Annual Report 2014
NSTDA Annual Report 2014NSTDA Annual Report 2014
NSTDA Annual Report 2014
 
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติรายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
รายงานประจำปี 2559 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
E news-january-2018-final
E news-january-2018-finalE news-january-2018-final
E news-january-2018-final
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
 
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
หนังสือแผนกลยุทธ์ฉบับที่ 6
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Annual Report 2015
NSTDA Annual Report 2015NSTDA Annual Report 2015
NSTDA Annual Report 2015
 
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรมWhat is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
What is innovation? How to capture this value? นวัตกรรม
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
พลวัตและการจัดการเกษตรไทยในยุคเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 26 01-58 (1)
 

วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีทำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

  • 1.
  • 2.
  • 3. วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีท�ำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ISBN 978-616-584-002-6 พิมพ์ครั้งที่ 1 (พฤษภาคม 2564) จ�ำนวน 1,000 เล่ม สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2560 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) 2558 ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ไม่อนุญาตให้คัดลอก ท�ำซ�้ำ และดัดแปลง ส่วนใดส่วนหนึ่งของหนังสือเล่มนี้ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของลิขสิทธิ์เท่านั้น จัดท�ำโดย สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ต�ำบลคลองหนึ่ง อ�ำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7004 www.nstda.or.th/agritec อีเมล agritec@nstda.or.th วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีท�ำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน/โดย สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกษตร ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. -- ปทุมธานี : ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2564. 89 หน้า : ภาพประกอบสี ISBN: 978-616-584-002-6 1. วิทยาศาสตร์ 2. วิทยาศาสตร์ -- แง่สังคม 3.วิทยาศาสตร์การเกษตร 4. เทคโนโลยีการเกษตร I. สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร II. ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ III. ชื่อเรื่อง Q175.5 303.483
  • 4. ทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” ได้ใช้กลไก BCG Model พัฒนา เศรษฐกิจ 3 มิติไปพร้อมกัน ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจ หมุนเวียน(CircularEconomy) เศรษฐกิจสีเขียว(GreenEconomy)โดยมีนวัตกรรม เป็นเครื่องมือสู่การยกระดับรายได้ชุมชน ลดความเหลื่อมล�้ำ ชุมชนเข้มแข็ง และ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อันน�ำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศ สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) ได้ด�ำเนินงานภายใต้ กลไก BCG Model โดยร่วมกับเครือข่ายพันธมิตรทั้งภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย และชุมชน ท�ำงานแบบจตุภาคี ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่เกษตรกรและชุมชน เกิดการน�ำไปประยุกต์ปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของพื้นที่ สร้างมูลค่าเพิ่มจากทรัพยากรท้องถิ่น น�ำไปสู่ความมั่นคงทางด้านอาหาร รายได้ คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม หนังสือ วิทย์พลิกชุมชน: ปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีท�ำ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน รวมเรื่องราวของเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรส่วนหนึ่งที่สท.และพันธมิตรได้ร่วมท�ำงาน พัฒนาก�ำลังคนที่เป็นฐานรากส�ำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยน�ำองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านสมาร์ทเทคโนโลยีเกษตรอินทรีย์เทคโนโลยีสิ่งทอ เทคโนโลยีการผลิตอาหารโคคุณภาพ ตลอดจนการด�ำเนินโครงการอื่นๆ เพื่อ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากที่จะเป็นแรงกระเพื่อมสู่การพัฒนาและการเติบโต ทางเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของประเทศต่อไป สารจากผู้อำ�นวยการ นางสาววิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์ ผู้อ�ำนวยการ สถาบันการจัดการเทคโนโลยี และนวัตกรรมเกษตร (สท.)
  • 5. ติดอาวุธเกษตรกรไทย ด้วย ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ • ปลูก ‘มะยงชิดคุณภาพ’ ให้ ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ เป็นตัวช่วย • รู้ใช้ ‘ข้อมูลสภาวะแวดล้อม’ ท�ำสวนทุเรียนได้ ‘ประหยัด ปลอดภัย’ • ‘เทคโนโลยี IoT’ เสริมศักยภาพ ‘การพึ่งพาตนเองด้านอาหาร’ • เรียนรู้ ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ ที่แปลงล�ำไย • หอมขจรฟาร์ม: แปลงสาธิตเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ ปลูก “ปลอดภัย-อินทรีย์” สร้างสมดุล รักษ์ทรัพยากรชุมชน • เสริมแกร่งชาวนาใต้ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี รักษ์ ‘ข้าวพันธุ์พื้นเมือง’ • จากถิ่น คืนถิ่น ...เมื่อเมล็ดพันธุ์งอกงามในชุมชน • “ไข่เน่า” ฟักทองพื้นเมือง หัวเรือเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก • (ต้น) กล้า สร้างสุข • ฝนแปดแดดสี่ ปลูกผักให้ได้ราคาด้วย ‘ความรู้และเทคโนโลยี’ 6 10 14 18 22 25 28 32 40 44 48 52 สารบัญ
  • 6. 56 60 64 68 72 76 80 82 84 86 ‘เทคโนโลยีและนวัตกรรม’ ยกระดับ ‘สิ่งทอพื้นเมือง’ • ‘จกโหล่งลี้’ ลายผ้าโบราณ เพิ่มคุณค่าด้วยนวัตกรรม • ‘ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ’ ผลิตภัณฑ์ Zero waste จากสวนมะพร้าว ยกระดับอาชีพ ‘การเลี้ยงโค’ ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม • โคขุน ขุนโค ด้วยอาหาร TMR คุณภาพ • โคขุน ขุนโค สร้างอาชีพที่ชายแดนใต้ โครงการอื่นๆ • เพิ่มประสิทธิภาพผลิตมันส�ำปะหลัง ด้วยกลไก ‘ตลาดน�ำการผลิต’ (Inclusive Innovation) • แหล่งท่องเที่ยวไม้ดอกแห่งใหม่ ชู “ปทุมมาห้วยส�ำราญ” สายพันธุ์ใหม่จากงานวิจัย • โครงการสนับสนุนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อชุมชน (Community based Technology and Innovation Assistance Project: CTAP)
  • 7.
  • 8. หนึ่งในเครื่องมือที่ภาคเกษตรจะก้าวสู่วิถีการท�ำ “เกษตรสมัยใหม่” คือการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม เกิดการท�ำเกษตรที่แม่นย�ำ น�ำไปสู่การ เพิ่มขีดความสามารถและประสิทธิภาพการผลิตจนได้ผลผลิตคุณภาพจาก “ท�ำน้อย แต่ได้มาก” สวทช.โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร(สท.)น�ำ องค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้าน ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ หรือ ‘เกษตร อัจฉริยะ’ ถ่ายทอดสู่เกษตรกรมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็น เทคโนโลยี โรงเรือนอัจฉริยะเทคโนโลยีระบบควบคุมการให้น�้ำอัจฉริยะส�ำหรับพืช แปลงเปิด ระบบตรวจวัดด้วยเซนเซอร์แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อการ จัดการและควบคุมอัตโนมัติ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี IoT ร่วม กับโรงเรือนพลาสติกเพื่อการผลิตพืชผักคุณภาพ โดยผ่านการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจ เพื่อให้เกษตรกรเข้าถึงเทคโนโลยีและน�ำไปสู่การปรับ ประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับตนเองและบริบทของพื้นที่อีกทั้งสท.ได้ร่วมมือกับ ภาคีพันธมิตรทั้งหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา ผู้ประกอบการเอกชน กลุ่มเครือข่ายเกษตรกร พัฒนา ‘สถานีเรียนรู้ด้านสมาร์ทเทคโนโลยี’ ในหลายพื้นที่ทั่วประเทศสร้างโอกาสการเข้าถึงความรู้และการน�ำเทคโนโลยี ไปใช้ประโยชน์ นอกจากนี้ ในปี 2563 สท. ได้ก�ำหนดเป้าหมายกระจายการเข้าถึง สมาร์ทเทคโนโลยี 30 จุดในสวนทุเรียนจังหวัดระยอง เพื่อให้เกิดการเข้าถึง และเรียนรู้การใช้สมาร์ทเทคโนโลยีเก็บข้อมูล คาดการณ์และจัดการ สภาวะแวดล้อม เนื่องจากสภาพอากาศแต่ละปีไม่เหมือนกันการมีชุดข้อมูล และน�ำมาประยุกต์ใช้จัดการสวนผลไม้จะลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้ และ ยังรวบรวมข้อมูลเป็นBigDataของพื้นที่ที่สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อได้ ติดอาวุธเกษตรกรไทย ด้วย ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ 7
  • 9. 8
  • 10. 9
  • 11. Smart IoT ปลูก ‘มะยงชิดคุณภาพ’ ให้ ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ เป็นตัวช่วย “เทคโนโลยีช่วยทุ่นเวลาและให้ความรู้” ค�ำตอบสั้นๆ จาก ฉัตรชนก ทองเรือง หรือ ลุงแดง วัย 59 ปี เจ้าของสวนมะยงชิด “ทองเรือง” เมื่อพูดถึงเทคโนโลยี การให้น�้ำอัจฉริยะส�ำหรับพืชแปลงเปิดที่เขาได้คลุกคลีมาเกือบ 2 ปี
  • 12. “มะยงชิด” เป็นผลไม้ขึ้นชื่อของจังหวัดนครนายก และเป็นสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของจังหวัด ซึ่ง สวนทองเรืองแห่งนี้เป็นแหล่งผลิตมะยงชิดพันธุ์ทูลเกล้า ที่คว้ารางวัลการประกวดมานับไม่ถ้วนผลผลิตของสวน เฉลี่ยปีละ 2 ตัน ถูกจับจองล่วงหน้าและจ�ำหน่ายที่ หน้าสวนเท่านั้น ในราคากิโลกรัมละ 350-400 บาท ด้วยความชอบรสชาติที่หวานและหอมกรอบของ มะยงชิด ท�ำให้ ลุงแดง หันมาปลูกมะยงชิดอย่างจริงจัง “ที่นี่ปลูกแบบยกโคก มะยงชิดชอบน�้ำผ่าน แล้วให้แห้ง ไม่ชอบแฉะ เราต้องรู้สรีระของ ต้นมะยงชิด ท�ำให้ต้นสมบูรณ์ และยังสัมพันธ์ กับความชื้นในดิน อากาศ ต้นถึงจะออกดอก” บนพื้นที่ของสวนขนาด2ไร่ที่มีต้นมะยงชิดกว่า 100 ต้น ถูกปกคลุมด้วยมอส สะท้อนถึงปริมาณ ความชื้นและการให้น�้ำของสวนแห่งนี้ ซึ่ง ลุงแดง มองว่า ผลผลิตที่สมบูรณ์ของสวนส่วนหนึ่งมาจาก การให้ความชื้นที่มาก และกลายเป็นโจทย์ร่วม ของ ลุงแดง และเจ้าหน้าที่ สวทช. เมื่อครั้งมา ประเมินพื้นที่เพื่อติดตั้งระบบการให้น�้ำอัจฉริยะว่า ความต้องการน�้ำและความชื้น สัมพันธ์ต่อการ ติดดอกออกผลของต้นมะยงชิดอย่างไร “แต่ก่อนรดน�้ำสายยางก็ดูจากหน้าดิน ถ้าน�้ำ หน้าดินไม่ค่อยซึมแสดงว่าน�้ำในดินเยอะแล้ว ก็รู้ว่ารดแค่นี้ล่ะ ความชื้นได้แล้ว หรือความชื้น ในอากาศของสวนผม ไม่มีใครเชื่อว่าเท่ากัน ทุกต�ำแหน่ง เขาบอกว่าเอาความรู้สึกมาวัด หรือช่วงติดดอก ไม่รู้เลยว่าดินต้องชื้นเท่าไหร่ ต้องมีความชื้นในอากาศเท่าไหร่ถึงออกดอก รู้แต่ว่าถ้าอุณหภูมิสัก17-18องศา ติดกันสามวัน แล้วอากาศอุ่นขึ้น มะยงชิดจะออกดอก” เมื่อ “ความรู้สึก” ไม่ใช่สิ่งที่มองเห็นได้และ ไม่สามารถเป็นตัวแทนของข้อมูล การเข้ามาของ เทคโนโลยีการให้น�้ำอัจฉริยะส�ำหรับพืชแปลงเปิด จึงช่วยคลายความคาใจให้ลุงแดง ตั้งแต่ปี 2535 เรียนรู้ สังเกต จดบันทึกการปลูก และพัฒนาการปลูกมะยงชิดของตนเอง จนได้ ผลผลิตที่ “รสชาติหวาน หอมกรอบ สีเหลืองส้ม” เป็นที่หมายปองของผู้นิยมบริโภคมะยงชิด 11
  • 13. การใช้ระบบให้น�้ำอัจฉริยะ ท�ำให้รู้ว่ามะยงชิดจะออกดอก ต้องใช้ค่าต่างๆ เท่าไหร่ ซึ่งใช้เป็นข้อมูลปีต่อไปได้ “ผมไม่เป็นเลยกับเทคโนโลยีแบบนี้ ยังไม่รู้ว่า ต้องท�ำอย่างไรบ้าง เจ้าหน้าที่ก็สอนแล้ว แต่เราเอง ยังไม่คล่อง ต้องท�ำความเข้าใจ เข้าไปดูค่าต่างๆ ในระบบอยู่เรื่อยๆ เดี๋ยวนี้ไม่ยากแล้ว” เทคโนโลยีการให้น�้ำอัจฉริยะส�ำหรับพืชแปลงเปิด เป็นเทคโนโลยีตรวจวัดและควบคุมแบบไร้สายที่ ติดตามสภาวะแวดล้อมของพืช พร้อมทั้งควบคุมการ ให้น�้ำตามความต้องการพืชด้วยระบบอัตโนมัติตั้งเวลา และควบคุมตรง ประกอบด้วยเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์ เซนเซอร์วัดความเข้มแสง และ เซนเซอร์วัดความชื้นดิน “จากเดิมที่เคยใช้สายยางรดน�้ำ 1 ชั่วโมง ก็ เปลี่ยนมาเป็นระบบน�้ำแบบสปริงเกอร์ ส่วนการสั่ง งานตอนแรกตั้งเป็นแบบอัตโนมัติ ทดลองตั้งการ ให้น�้ำที่ความชื้นในดิน 60% เมื่อค่าความชื้นลด ลง ระบบท�ำงานอัตโนมัติให้น�้ำเพื่อเพิ่มความชื้น กลับมาที่ 60% ซึ่งแบบนี้จะท�ำให้รากเน่าได้ เพราะ มะยงชิดไม่ชอบน�้ำขัง ชอบน�้ำผ่าน ผมก็เปลี่ยนมา สั่งแบบก�ำหนดเอง โดยดูที่การดูดซึมของน�้ำที่หน้า ดินคู่กันไป” หลังจากเรียนรู้การใช้งานระบบควบคู่กับการ เปรียบเทียบข้อมูลแปลงที่จดบันทึกไว้ ท�ำให้ ลุงแดง รู้ค่าตัวเลขที่แทนความรู้สึกได้ว่า ค่าความชื้นในดิน ของต้นมะยงชิดตั้งแต่ฝนทิ้งช่วง-ก่อนเก็บเกี่ยว ต้องมี ความชื้นดินอย่างน้อย 80% Smart IoT 12
  • 14. “ผมจดบันทึกข้อมูลท�ำสวนมะยงชิดทุกปี ใส่ปุ๋ยเมื่อไหร่ รดน�้ำวันไหน พอใช้ระบบให้น�้ำ ของ สวทช. ผมก็จดตัวเลขที่ได้จากระบบ ก่อนออกดอก วันที่ออกดอก อุณหภูมิ ค่าแสง เป็นอย่างไร ค่าความชื้นในอากาศ ความชื้น ในดินเป็นเท่าไหร่ การใช้ระบบฯ ท�ำให้รู้ว่า มะยงชิดจะออกดอกต้องใช้ค่าต่างๆ เท่าไหร่ ซึ่งใช้เป็นข้อมูลปีต่อไปได้” ประสบการณ์เกือบ 30 ปีกับการปลูกมะยงชิด ค�ำแนะน�ำที่ให้กับสวนต่างๆ ว่าความชื้นในสวนต้อง เท่านี้ตามความรู้สึก มาวันนี้ไม่เพียง ลุงแดง มีค่า ตัวเลขที่สามารถบอกแทนค่าความรู้สึกได้แล้ว เขา ยังเห็นความส�ำคัญของการใช้เทคโนโลยีกับการท�ำ สวนมะยงชิด “การรู้ค่าตัวเลขท�ำให้เรามีความรู้กับการท�ำสวน เพิ่มขึ้น เป็นข้อมูลให้ที่อื่นได้ แล้วยังช่วยทุ่นเวลา ก็คือ เราสั่งรดน�้ำได้ ไม่ต้องลากสายยางรด ลดปริมาณการใช้น�้ำเพราะมีตัวเลขที่เรารู้ความชื้น ที่เหมาะ และประหยัดค่าไฟฟ้า แทนที่รดด้วย สายยาง 1 ชั่วโมง เปลี่ยนมารดด้วยสปริงเกอร์ ใช้เวลา 10นาทีใช้ปั๊มวันละ1ชม.กับวันละ10นาที แตกต่างกันเยอะเลยนะ” (ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2564) การรู้ค่าตัวเลข ท�ำให้เรามีความรู้ กับการท�ำสวนเพิ่มขึ้น เป็นข้อมูลให้ที่อื่นได้ แล้วยังช่วยทุ่นเวลา ลดปริมาณการใช้น�้ำ ประหยัดค่าไฟฟ้า สวนทองเรือง ต.ดอนยอ อ.เมือง จ.นครนายก มีพื้นที่ปลูกมะยงชิด 2 ไร่ มีแรงงาน 2 คน ได้ผลผลิต 2 ตัน/ปี รายได้ไม่ต�่ำกว่า 300,000 บาท/ตัน จ�ำหน่ายกิ่งพันธุ์มะยงชิดพันธุ์ทูลเกล้า และให้ค�ำแนะน�ำการปลูกมะยงชิดกับ สวนต่างๆ โทรศัพท์ 064 9146559 facebook: ฉัตรชนกสวนทองเรือง ฉัตรชนก ทองเรือง 13
  • 15. รู้ใช้ ‘ข้อมูลสภาวะแวดล้อม’ “ท�ำให้รู้สภาพอากาศสวนของเราเป็นอย่างไร แล้วก็ ประหยัดและปลอดภัย” ค�ำบอกเล่าจาก นัทธี สุวรรณจินดา เกษตรกรรุ่นใหม่ เมื่อพูดถึง ระบบ ตรวจวัดด้วยเซนเซอร์แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อการ จัดการและควบคุมอัตโนมัติ หรือ ไวมาก (WiMaRC) ทำ�สวนทุเรียนได้ “สมัยพ่อแม่ท�ำสวนอาศัยประสบการณ์ จัดการแปลง อย่างช่วงพฤศจิกายนลมหนาวเริ่ม มา จะอดน�้ำทุเรียนเพื่อให้ทุเรียนออกดอก แต่ บางปีก็ไม่เป็นตามนั้น ถ้าอากาศไม่ได้ ก็ต้องอด น�้ำทุเรียน จนใบเหลือง ถ้าไม่หนาวก็ต้องรดน�้ำ” นัทธี เล่าถึง “การคาดเดาสภาพอากาศไม่ได้” ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่งที่คนท�ำสวนทุเรียนประสบ นัทธี เบนเข็มจากอาชีพครูมาช่วยพ่อแม่ท�ำสวน ทุเรียน “สุวรรณจินดา” ได้ราว 10 ปี ด้วยเป็น คนรุ่นใหม่ที่เข้าถึงเทคโนโลยีได้ง่ายเขาจึงหาข้อมูล สภาพอากาศจากแหล่งอื่นๆ นอกเหนือจากข้อมูล สภาพอากาศจากหน่วยงานรัฐที่ชาวสวนคุ้นเคย เพื่อมาช่วยตัดสินใจจัดการสวนทุเรียนพื้นที่ 30 ไร่ ของครอบครัว “ข้อมูลจากเว็บไซต์อากาศหรือจากเฟซบุ๊ก มีมากขึ้น ดูง่ายและดูผ่านมือถือได้ ท�ำให้เรา รู้ว่าต้องเตรียมสวนอย่างไร อย่างรู้ว่าอาทิตย์ หน้าอากาศจะเริ่มหนาว เราจะต้องตัดแต่งกิ่ง ในทรงพุ่ม ใส่ปุ๋ย รดน�้ำให้ต้นทุเรียนกินอาหาร เต็มที่ พออากาศหนาวมาก็อดน�้ำทุเรียนให้อยู่ ในสภาวะเครียดเพื่อออกดอก” แม้จะมีข้อมูลสภาพอากาศจากหลายแหล่ง แล้วก็ตาม แต่ นัทธี กลับสนใจเทคโนโลยีไวมากที่ เจ้าหน้าที่ สวทช. ลงพื้นที่แนะน�ำให้ “กลุ่มปรับปรุง คุณภาพทุเรียนวังจันทร์” ที่เขาเป็นสมาชิก และเขา ‘ประหยัด ปลอดภัย’ Smart IoT
  • 16. ปีแรกที่ใช้ข้อมูล จากไวมากมาจัดการ เห็นความแตกต่างได้ชัด ร้อยละ 70 ของต้นทุเรียนในสวน ออกดอกพร้อมกัน ได้ขออาสาเป็นจุดติดตั้งเทคโนโลยีไวมากของกลุ่มฯ “ตอนแรกยังไม่เข้าใจเทคโนโลยีมากนัก แต่สนใจ เพราะเห็นว่ามีเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และความชื้นดิน ที่จะท�ำให้รู้ข้อมูลสภาวะอากาศใน สวนเราเอง ไม่ต้องใช้ข้อมูลอ้างอิงจากที่อื่น” นอกจากเทคโนโลยีไวมาก ท�ำให้ นัทธี ได้รู้ข้อมูลสภาวะ อากาศในพื้นที่สวนของตัวเองแล้ว การรู้ค่าความชื้นดิน ที่ไม่เพียงท�ำให้รู้ว่ารดน�้ำแค่ไหนถึงเพียงพอ หากยังช่วย แก้ปัญหาการดูดซึมน�้ำของต้นทุเรียนในสวน “ปกติจะรดน�้ำต้นทุเรียนครึ่งชั่วโมงก็สังเกตและสงสัย ว่าท�ำไมหน้าดินแห้งเร็ว ต้นไม่งาม พอได้เซนเซอร์มาวัด ความชื้นดิน ท�ำให้รู้ว่าหัวสปริงเกอร์ที่ใช้อยู่ ให้เม็ดน�้ำ ใหญ่ น�้ำที่ลงดินเหมือนน�้ำหลากหน้าดิน ไหลผ่านเฉยๆ น�้ำไม่ซึมลงดิน พอรู้แบบนี้ก็เลยเปลี่ยนหัวสปริงเกอร์ ที่ให้เม็ดน�้ำเล็กลง ผลที่ได้ตัวเลขความชื้นในดินเพิ่มขึ้น” การใช้งานเทคโนโลยีไวมากในปีแรก นัทธี ใช้ข้อมูล จากเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์อากาศควบคู่กับ เซนเซอร์ความชื้นดิน เพื่อเตรียมความพร้อมให้ต้นทุเรียน พร้อมออกดอก “ข้อมูลอุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ ความชื้นดิน สัมพันธ์กัน ถ้าเราคุมความชื้นดิน ความชื้นสัมพัทธ์ได้ ตามที่คิดไว้ เมื่ออากาศหนาวมา ทุเรียนจะติดดอกได้ ง่ายและสม�่ำเสมอ จากเดิมที่ทยอยออกดอก ซึ่งปีแรกที่ ใช้ข้อมูลจากไวมากมาจัดการ เห็นความแตกต่างได้ชัด ร้อยละ 70 ของต้นทุเรียนในสวนออกดอกพร้อมกัน” 15
  • 17. นัทธีศึกษาข้อมูลค่าความชื้นดินและความชื้นสัมพัทธ์ จากสวนอื่นๆและมาปรับใช้กับสวนตัวเองเขาพบว่าช่วงที่ จะท�ำให้ติดดอก ค่าความชื้นสัมพัทธ์ 50-60% ค่าความ ชื้นดินอยู่ที่ 70-75% โดยใช้เวลารดน�้ำครึ่งชั่วโมง วันเว้น วัน ถ้าให้น�้ำมากกว่านี้จะท�ำให้รากเน่าโคนเน่าได้ ถ้าให้ น้อยกว่านี้ท�ำได้แต่จะมีผลต่อค่าความชื้นสัมพัทธ์ในโคนต�่ำ ซึ่งจะท�ำให้ทุเรียนเครียดน้อยและไม่ออกดอก ประสบการณ์ที่ได้จากการใช้งานในปีแรก นัทธี ยังน�ำ มาใช้ส�ำหรับผลิตทุเรียนในปีถัดมา แม้ว่าเทคโนโลยีไวมาก ที่เขาได้รับติดตั้งจะยังไม่มีระบบสั่งการรดน�้ำอัตโนมัติ ซึ่ง สามารถเพิ่มฟังก์ชั่นนี้ได้ แต่เขาเห็นว่า ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของแต่ละสวน และอยู่ที่การเอาข้อมูลจาก เทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ให้หลากหลายแค่ไหน ส�ำหรับ การใช้เทคโนโลยีไวมากนัทธีมองว่าไวมากสั่งให้เราไปท�ำ ท�ำให้ประหยัดและปลอดภัย “ข้อมูลจากเทคโนโลยีไวมาก ท�ำให้เราคาดการณ์ ได้ว่าจะเกิดอะไรขึ้น แล้วเราจะจัดการหรือป้องกัน อย่างไร เช่น ช่วงที่อากาศร้อนต่อเนื่อง มีลมพัด เป็น จังหวะที่อาจจะมีไรแดงลงใบทุเรียน ข้อมูลจากไวมาก เป็นสัญญาณเตือนเราว่าแนวโน้มอากาศร้อนมีลม เรา จ�ำเป็นต้องตรวจแปลงว่ามีไรแดงหรือยัง ถ้าเราพบ ไรแดงน้อย เราก็ฉีดยาปริมาณไม่มาก จัดการตั้งแต่ ต้นทาง ท�ำให้เราประหยัดและปลอดภัย จากที่ต้องใช้ สารเคมี 6 ขวด ก็เหลือ 2-3 ขวด หรือการรู้ค่าความชื้น ในดินก็มีส่วนช่วยลดค่าใช้จ่ายยาก�ำจัดเชื้อราจากโรค รากเน่าโคนเน่าได้” ข้อมูลจากเทคโนโลยี ไวมาก ท�ำให้เราคาดการณ์ได้ว่า จะเกิดอะไรขึ้น แล้วเราจะจัดการ หรือป้องกันอย่างไร ท�ำให้เรา ประหยัดและปลอดภัย Smart IoT นัทธี สุวรรณจินดา 16
  • 18. นัทธี น�ำข้อมูลที่ได้จากเทคโนโลยีไวมากไปแลกเปลี่ยน ให้สมาชิกลุ่มปรับปรุงคุณภาพทุเรียนวังจันทร์ในวงประชุม เสมอ ขณะเดียวกันข้อมูลสภาวะแวดล้อมอากาศนี้ยังกลาย เป็นแหล่งข้อมูลอ้างอิงให้หน่วยงานในพื้นที่เพื่อใช้บริหาร งบประมาณด้านภัยพิบัติให้กับชาวสวนอีกด้วย ส�ำหรับการใช้งานชุดข้อมูลสภาวะแวดล้อมต่างๆ จาก เทคโนโลยีไวมากที่บันทึกและดูย้อนหลังได้ นัทธี วางแผน ที่จะเก็บข้อมูลของสวน 3 ปี เพื่อให้ได้ฐานข้อมูลสภาวะ แวดล้อมของสวนทุเรียนตัวเองพร้อมๆกับข้อมูลการจัดการ สวน ซึ่งเขามองว่า ถ้าเราได้ข้อมูลและค่าที่ถูกต้องแล้ว ต่อไปถ้ามีระบบสั่งการอัตโนมัติ ก็จะท�ำได้แม่นย�ำขึ้น “เก็บข้อมูล 3 ปี ก็น่าจะเห็นข้อมูลของสวน ได้ โดยใช้ข้อมูลจากไวมากให้เต็มที่และเปรียบเทียบ กับแหล่งอื่น ถ้าข้อมูลใกล้เคียงกัน การจัดการใกล้ เคียงกัน ต่อไปข้อมูลจากสวนเราก็จะเป็นที่อ้างอิงให้ สวนอื่นได้” สวนสุวรรณจินดา ต.วังจันทร์ อ.วังจันทร์ จ.ระยอง ผลิตทุเรียนพันธุ์หมอนทองและชะนี ผลผลิตทุเรียนเฉลี่ย 50 ตัน/ปี โดยร้อยละ 80 ของผลผลิต ส่งจ�ำหน่ายต่างประเทศ โทรศัพท์ 063 2398990 facebook: สวนสุวรรณจินดา (ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2564) Smart IoT 17
  • 19. Smart IoT ‘เทคโนโลยี IoT’ เสริมศักยภาพ ‘การพึ่งพาตนเองด้านอาหาร‘ สร้างชุมชนตัวอย่างของการพึ่งพาตนเอง เป็นแหล่งผลิต อาหารอินทรีย์ของคนเมือง สอดคล้องกับวิถีธรรมชาติ คือ หนึ่งในเป้าหมายที่ คมสัน หุตะแพทย์ ผู้อ�ำนวยการชุมชนนิเวศน์ สันติวนา ก�ำลังขับเคลื่อนให้เกิดขึ้นบนพื้นที่กว่า 30 ไร่ ย่านดอนเมือง กรุงเทพฯ โดยมีแปลงผักอินทรีย์เป็นจุดเริ่มต้น ของการพึ่งพาตนเองในด้านอาหาร
  • 20. เป็นความยากของ เกษตรกรที่จะรู้ว่า สภาพแวดล้อมแต่ละช่วง เป็นอย่างไร ยิ่งในสภาวะ อากาศที่แปรปรวนสูง ในปัจจุบัน ซึ่งไวมาก ตอบโจทย์ตรงนี้ ค่อนข้างเยอะ” คมสัน เป็นผู้บุกเบิก “สวนผักบ้านคุณตา” ศูนย์อบรมเกษตรและแหล่งเรียนรู้การพึ่งพาตนเองที่ ขึ้นชื่อของเมืองกรุง และได้ขยายภารกิจสร้างความรู้ การพึ่งพาตนเองในพื้นที่แห่งใหม่นี้ “เดิมเราปลูกผัก อินทรีย์ในพื้นที่ขนาดเล็ก แต่พื้นที่ขนาด 2 ไร่ เรา เพิ่งท�ำได้ 2 ปี ปลูกผักทั้งในโรงเรือนของ สวทช. โรงเรือนหลังคาโค้งทั่วไป และแปลงปลูกนอก โรงเรือน” พืชผักที่คมสัน ปลูกในพื้นที่2ไร่เช่นสลัดเรดโอ๊ค กรีนโอ๊ค เคล กวางตุ้ง มะเขือเทศ คะน้า โดยปลูกใน โรงเรือนพลาสติกของ สวทช. ได้ 8 รอบ ใช้ระยะเวลา ปลูก30-40วัน/รอบขณะที่ปลูกนอกโรงเรือนได้4-6รอบ ใช้ระยะเวลาปลูก 30-45 วัน/รอบ ซึ่งผลผลิตผักที่ได้ น�ำไปแบ่งปันผ่านกิจกรรมต่างๆ ของชุมชนฯ จ�ำหน่าย รอบพื้นที่และจ�ำหน่ายแก่ผู้บริโภคโดยให้เข้ามาตัดผัก ในแปลงด้วยตนเอง ชุมชนนิเวศน์สันติวนาได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี โรงเรือนพลาสติกเพื่อการผลิตพืชผักคุณภาพ ของ สวทช. ร่วมกับระบบตรวจวัดด้วยเซนเซอร์ แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อการจัดการและควบคุม อัตโนมัติ หรือ ไวมาก (WiMaRC) เพื่อเป็นอีกหนึ่งจุด เรียนรู้การใช้เทคโนโลยีของ สวทช. ซึ่งการปลูกผักใน โรงเรือนไม่เพียงช่วยเพิ่มรอบการผลิตพืชผักได้ผลผลิต ที่มีคุณภาพกว่าปลูกนอกโรงเรือนการติดตั้งเทคโนโลยี ไวมากยังท�ำให้คมสัน ได้เรียนรู้ข้อมูลสภาวะแวดล้อม ที่ส�ำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืชผักอีกด้วย “การปลูกผักต้องรู้จักผัก การเจริญเติบโต ดิน ความต้องการน�้ำ ความต้องการแสงแดด ซึ่งเป็น กุญแจส�ำคัญที่จะท�ำให้ผักเติบโตสอดคล้องกับ ช่วงอายุ แต่เป็นความยากของเกษตรกรที่จะรู้ว่า สภาพแวดล้อมแต่ละช่วงเป็นอย่างไร ยิ่งในสภาวะ อากาศที่แปรปรวนสูงในปัจจุบัน คนที่เชี่ยวชาญ ปลูกผักก็ยังประสบปัญหา ซึ่งไวมากตอบโจทย์ ตรงนี้ค่อนข้างเยอะ” คมสัน หุตะแพทย์ 19
  • 21. เทคโนโลยีไวมากประกอบด้วย สถานีตรวจวัด สภาวะแวดล้อม2ชุดแต่ละชุดประกอบด้วยเซนเซอร์ วัดค่าความชื้นดิน ความชื้นอากาศ ปริมาณแสง และ อุณหภูมิโดยสถานีแม่ข่ายจะเพิ่มอุปกรณ์วัดความเร็ว ลมและปริมาณน�้ำฝน ติดตั้งอยู่นอกโรงเรือนเพื่อเก็บ ข้อมูลสภาวะอากาศภายนอกโรงเรือนเปรียบเทียบ กับข้อมูลจากสถานีลูกข่ายที่อยู่ในโรงเรือน นอกจากนี้ ยังได้เพิ่มเซนเซอร์วัดค่าการใช้ไฟฟ้าและการใช้น�้ำ เพื่อเก็บข้อมูลเป็นต้นทุนการผลิตของสวน และยังมี กล้องบันทึกภาพการเจริญเติบโตของพืชผักที่ช่วยให้ เห็นการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชได้ “การใช้งานไวมากไม่ยุ่งยาก ตัวหลักที่ใช้คือ ควบคุมการเปิดปิดการให้น�้ำอัตโนมัติ ไม่ว่าอยู่ ที่ไหนก็สั่งเปิดปิดปั๊มเพื่อให้น�้ำได้ ที่นี่จะตั้งการ ให้น�้ำไว้ 2 ครั้ง คือเช้าและเย็น วันที่อากาศ ร้อนมาก ก็เปิดให้น�้ำตอนกลางวันเพิ่ม ส่วน ระยะเวลาให้น�้ำขึ้นอยู่กับปริมาณความต้องการ ของผักในแต่ละช่วงการเติบโต การใช้เทคโนโลยี ไวมาก 1. ประหยัดเวลา ในพื้นที่ขนาดใหญ่ สามารถสั่งการผ่านมือถือได้ 2. ให้น�้ำในช่วงเวลา ที่แน่นอนและในปริมาณที่เราก�ำหนดได้แน่นอน และ 3. ประหยัดทรัพยากร เช่น ปริมาณน�้ำ บางช่วงที่แล้ง การให้น�้ำที่สอดคล้องกับทั้งพืช และปริมาณน�้ำที่มีอยู่ มีความจ�ำเป็น จะช่วย ประหยัดไฟที่เปิดปั๊ม ส่งผลต่อต้นทุนการผลิต และก�ำไรขาดทุนของการปลูกผัก” นอกจากการรู้สภาวะแวดล้อมในโรงเรือนที่จะ ช่วยให้จัดการพืชผักได้อย่างเหมาะสมแล้ว ข้อมูล และภาพที่เก็บไว้ในระบบ ยังเป็นตัวช่วยจดบันทึก สภาวะแวดล้อมให้เกษตรกรซึ่งเมื่อน�ำมาใช้ร่วมกับ ข้อมูลกิจกรรมการปลูกและดูแลแปลงแล้วจะท�ำให้ ได้ปฏิทินการจัดการแปลงปลูกของตนได้ การใช้เทคโนโลยีไวมาก ประหยัดเวลา ให้น�้ำในช่วง เวลาที่แน่นอนและในปริมาณ ที่ก�ำหนดได้แน่นอน และ ประหยัดทรัพยากร Smart IoT 20
  • 22. “ในพืชชนิดเดียวกัน ถ้าเป็นฤดูกาลใกล้เคียงกัน การ จัดการปัญหาก็ใกล้เคียงกัน ข้อมูลจากไวมากที่บันทึก เก็บไว้บนเน็ตพาย (NETPIE) เป็นประโยชน์มากส�ำหรับ วางแผนการปลูกรอบต่อไป ซึ่งข้อมูลเก็บได้เป็นปี เป็นข้อดีของระบบที่มาปิดข้ออ่อนของเกษตรกร ซึ่ง ไม่ค่อยจดบันทึกข้อมูล แม้แต่ผมที่ท�ำงานข้อมูล ก็ยัง ไม่ค่อยได้จด การไปสั่งงานคนในสวนให้จดเป็นเรื่อง ยากมากข้อมูลในระบบช่วยให้เราวางแผนและประเมิน สาเหตุได้ จากเดิมที่ไม่มีข้อมูลทางวิทยาศาสตร์มาตอบ ว่าปัญหาที่เจอเกิดจากอะไร เช่น บางช่วงผักเป็นโรคที่ เกิดจากเชื้อรา ก็สัมพันธ์กับการให้น�้ำเยอะแสงแดดน้อย” การเป็นตัวอย่างชุมชนที่พึ่งพาตนเองด้านอาหาร เป็น หนึ่งในแนวทางการด�ำเนินงานเกษตรของชุมชนนิเวศน์ สันติวนาภายใต้แนวคิด Permaculture หรือ Permanent Agriculture ที่ค�ำนึงถึงความสัมพันธ์และการรักษาสมดุล ชุมชนนิเวศน์สันติวนา เป็นโครงการความร่วมมือระหว่างมูลนิธิอุร์สุลินเพื่อการศึกษาและ มูลนิธิศูนย์สื่อเพื่อการพัฒนา ร่วมกันรักษาและพัฒนาให้เป็นพื้นที่ แห่งความยั่งยืน ชุมชนเรียนรู้แห่งนี้เป็นพื้นที่ตัวอย่างของการรักษา สมดุลทางระบบนิเวศในเมือง พื้นที่ของการพึ่งพาตนเองด้านอาหาร และพลังงาน และเป็นพื้นที่ส�ำหรับฝึกฝนด้านจิตวิญญาณในการ ใช้ชีวิต ซึ่ง สวทช. โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตร (สท.) ได้ร่วมสนับสนุนองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการพัฒนาเป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้และ พึ่งพาตนเอง โทรศัพท์ 095 0672728 facebook: Santi Wana Eco Community ชุมชนนิเวศสันติวนา (ข้อมูลสัมภาษณ์เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564) ของระบบนิเวศในพื้นที่ เมื่อเกิดการน�ำเทคโนโลยี IoT ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกพืชใน โรงเรือนมาใช้ในพื้นที่ คมสัน จึงมองไปถึงการ สร้างระบบนิเวศวิทยา(ecology)ในโรงเรือนที่ไม่ใช่ แค่พืชผักชนิดใดชนิดเดียวหรือสองสามชนิด แต่ ต้องหลากหลายเพื่อสร้างความแข็งแรงให้พืชผัก ด้วยตัวมันเอง โดยมีเทคโนโลยี IoT เป็นเครื่องมือ “เราเชื่อมั่นในศักยภาพของมนุษย์ที่จะพึ่ง ตนเองและอยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างยั่งยืนได้ การมีเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพเป็นเครื่องมือ ช่วยเพิ่มศักยภาพของเรา อย่างไรก็ตาม เราต้องตระหนักว่า ความรู้ของเราและความ สามารถของเทคโนโลยีก็เป็นเพียงการส่งเสริม กระบวนการธรรมชาติให้ท�ำงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากขึ้น” 21
  • 23. Smart IoT เรียนรู้ ‘สมาร์ทเทคโนโลยี’ ที่แปลงล�ำไย จากประสบการณ์การท�ำงานวิจัยและคลุกคลี กับเกษตรกรชาวสวนล�ำไยภาคเหนือมากว่า 25 ปี ผศ.ดร.วินัย วิริยะอลงกรณ์ ประธาน อาจารย์ประจ�ำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชสวน (ไม้ผล) คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ.เชียงใหม่ กล่าวว่า องค์ประกอบที่ท�ำให้ล�ำไย มีคุณภาพ คือ น�้ำ การตัดแต่งกิ่ง การตัดแต่งช่อผล การให้ปุ๋ย และการจัดการโรคและแมลงศัตรู อย่างถูกต้องและเหมาะสม แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ ยังปฏิบัติไม่ครบหรือไม่ถูกต้อง และยังมีความเชื่อ ในวิถีการจัดการและดูแลแปลงล�ำไยแบบเดิมๆ ที่ปฏิบัติกันมาช้านาน ซึ่งกลุ่มนี้เปลี่ยนความคิด ค่อนข้างยากอย่างไรก็ตามยังมีอีกกลุ่มหนึ่งที่พร้อม จะรับเทคโนโลยี แต่ความรู้ต่างๆ ยังเข้าไปไม่ถึง ตัวเกษตรกรอย่างแท้จริง ปัจจุบันกลุ่มที่ยอมรับและ น�ำเทคโนโลยีไปใช้ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรวัยหนุ่มสาว มีความรู้พอสมควร ไม่ได้จบด้านเกษตรหรือไม่มี พื้นฐานด้านเกษตร แต่มีใจรักอาชีพเกษตร กลุ่มนี้ เปิดใจยอมรับความรู้และเทคโนโลยี สามารถท�ำได้ ดีจนเป็นเกษตรกรผู้น�ำเกษตรกรกลุ่มเดิมๆ และ สามารถพัฒนาระบบเทคโนโลยีให้ก้าวล�้ำหน้าไปไกล รวมทั้งผลผลิตมีคุณภาพตามที่ตลาดต้องการ แต่เกษตรกรกลุ่มนี้ยังมีอยู่น้อยมากในปัจจุบัน 22
  • 24. แปลงเรียนรู้ล�ำไย มหาวิทยาลัยแม่โจ้: ศาสตร์แห่งล�ำไยเป็นสถาบันการเกษตรที่ร่วมบุกเบิก ล�ำไยพร้อมๆ กับเกษตรกรมาช้านาน มีองค์ความรู้ ด้านล�ำไยครบวงจร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ส่งเสริมให้ เกษตรกรชาวสวนล�ำไยได้ปรับเปลี่ยนแนวคิดการ ผลิตล�ำไยเพื่อให้ได้ผลผลิตคุณภาพและลดต้นทุน การผลิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะสภาพอากาศ แปรปรวนที่ยากต่อการควบคุมแต่สามารถจัดการได้ โดยอาศัยความรู้และเทคโนโลยี สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตร (สท.) ภายใต้ สวทช. ได้น�ำเทคโนโลยี IoT (Internet of Things) ประยุกต์ใช้ร่วมกับข้อมูลจาก งานวิจัยเรื่องล�ำไยของ ผศ.ดร.วินัย เพื่อบริหาร จัดการแปลงล�ำไยให้ได้คุณภาพ โดยเฉพาะการ จัดการให้น�้ำในแปลงล�ำไยอย่างอัจฉริยะและ เหมาะสม “การให้น�้ำเป็นองค์ประกอบที่ช่วยให้ผลผลิต ล�ำไยไม่เสียหาย ซึ่งผลผลิตล�ำไยที่เสียหายใน ปัจจุบันเกิดจากฝนหลงฤดู เกษตรกรไม่มีน�้ำให้ หรือให้ไม่สม�่ำเสมอ เมื่อฝนหลงฤดูมาในช่วงที่ ล�ำไยสร้างเนื้อ ผลล�ำไยจึงแตก” การให้น�้ำของเกษตรกรสวนล�ำไยนิยมให้น�้ำเต็ม พื้นที่ทรงพุ่มหรือร่องที่ท�ำไว้ใต้ต้นล�ำไย โดยเชื่อว่า ล�ำไยจะได้รับน�้ำจนอิ่ม ซึ่งท�ำให้เกษตรกรต้องใช้ น�้ำในปริมาณมาก ขณะที่แปลงเรียนรู้แห่งนี้วาง ระบบน�้ำและให้น�้ำผ่านสปริงเกอร์ ผศ.ดร.วินัย วิริยะอลงกรณ์
  • 25. “ถ้ามีล�ำไย 100 ต้น เกษตรกรชาวเหนือให้น�้ำอยู่ 3 วัน แต่จากงานวิจัย 1 ต้นล�ำไย ใช้หัวสปริงเกอร์ 1-2 หัว ขนาดของปั๊มไม่เกิน 2 แรงม้า ให้น�้ำไม่ถึง ชั่วโมง ความรู้เรื่องระบบน�้ำเป็นปัญหาของชาวสวน ล�ำไยทางภาคเหนือเกษตรกรยังวางระบบน�้ำไม่เหมาะสม หรือใช้ปั๊มผิดประเภทเช่นใช้ปั๊ม 2-3 แรงให้น�้ำล�ำไย ได้ประมาณครั้งละ 6-10 ต้น ขณะที่แปลงจุดเรียนรู้ ที่เดินระบบน�้ำร่วมกับเทคโนโลยี IoT รดน�้ำได้ 109 ต้น/ครั้ง และน�้ำออกสม�่ำเสมอ” แปลงเรียนรู้ล�ำไยแห่งนี้ไม่เพียงเป็นจุดเรียนรู้ การจัดการแปลงและการวางระบบน�้ำที่เหมาะสมแล้ว ยังได้ติดตั้ง เทคโนโลยีระบบควบคุมการให้น�้ำ อัจฉริยะส�ำหรับพืชแปลงเปิด ครอบคลุมพื้นที่ 1 ไร่ เพื่อก�ำหนดการให้น�้ำอัตโนมัติ โดยใช้ข้อมูลความต้องการ น�้ำของล�ำไยจากงานวิจัยของ ผศ.ดร.วินัย เป็นตัวก�ำหนด การสั่งการให้น�้ำตามระยะการเจริญเติบโตของล�ำไย “จากงานวิจัยท�ำให้มีข้อมูลความต้องการน�้ำ ในแต่ละช่วงการเจริญเติบโตของล�ำไย ข้อมูลที่มีน�ำ ไปตั้งค่าในระบบให้น�้ำอัจฉริยะฯเพื่อสั่งการให้น�้ำเช่น ช่วงออกดอกติดผล ต้องเพิ่มปริมาณน�้ำและความชื้น ในดิน ช่วงหน้าร้อน น�้ำระเหยมาก ความชื้นในดิน ไม่ควรต�่ำกว่า 40% ถ้าความชื้นดินต�่ำ ระบบให้น�้ำ อัจฉริยะฯจะท�ำงานเพื่อเพิ่มปริมาณความชื้นให้ถึง50%” จากการทดลองใช้เทคโนโลยีฯพบว่าการเจริญเติบโต การออกดอก ติดผล และผลผลิตของล�ำไยที่ได้สมบูรณ์ กว่าแปลงที่ให้น�้ำแบบทั่วไป (ให้น�้ำเมื่อเห็นว่าดินแห้ง) ท�ำให้ได้ผลผลิตล�ำไยต่อต้นประมาณ 70-80 กก./ต้น (ขนาดทรงพุ่มกว้าง 3-4 เมตร) การวางระบบน�้ำที่ถูกต้อง การเลือกใช้ระบบให้น�้ำ แบบสปริงเกอร์ การตัดแต่งกิ่งล�ำไย เป็นเรื่องที่เกษตรกร ที่มาดูงานที่แปลงล�ำไยแห่งนี้ได้มีโอกาสศึกษาเรียน รู้ ขณะเดียวกันยังได้ท�ำความรู้จักเทคโนโลยี IoT หรือ สมาร์ทเทคโนโลยีที่เข้ามาเป็นเครื่องมือช่วยเกษตรกร นอกจากเทคโนโลยีระบบควบคุมการให้น�้ำอัจฉริยะ ส�ำหรับพืชแปลงเปิดแล้ว แปลงเรียนรู้แห่งนี้ยังได้ ติดตั้ง เทคโนโลยีระบบตรวจวัดด้วยเซนเซอร์แบบ เครือข่ายไร้สายเพื่อการจัดการและควบคุม อัตโนมัติ หรือ ไวมาก (WiMaRC) เป็นเสมือนสถานี วัดอากาศที่เก็บข้อมูลสภาวะอากาศโดยมีเซนเซอร์วัด อุณหภูมิเซนเซอร์วัดความชื้นอากาศเซนเซอร์วัดความ เข้มแสง เซนเซอร์วัดความชื้นดิน อุปกรณ์วัดความเร็ว ลม และอุปกรณ์วัดปริมาณน�้ำฝน ซึ่งเป็นอีกเทคโนโลยี ที่ช่วยบริหารจัดการแปลงปลูก “เกษตรกรให้ความสนใจการให้น�้ำด้วย เทคโนโลยี IoT สอบถามการใช้งาน การลงทุนติด ตั้ง แต่เกษตรกรชาวสวนล�ำไยต้องเข้าใจเรื่องระบบ น�้ำและการให้น�้ำแบบสปริงเกอร์ ซึ่งเป็นเรื่องพื้น ฐานที่ส�ำคัญก่อนขยับไปใช้เทคโนโลยี IoT” Smart IoT สวทช. และมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ลงนามความร่วมมือ “การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี เกษตรและเกษตรอัจฉริยะ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน” โดยมีแผนทดสอบและขยายผล เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะในฟาร์มเปิดและการผลิตในระบบโรงเรือน 24
  • 26. หอมขจรฟาร์ม: แปลงสาธิตเกษตร ปลอดภัยอัจฉริยะ “การท�ำอาหารให้ได้คุณภาพ วัตถุดิบเป็นสิ่งส�ำคัญ ซึ่งต้นทางวัตถุดิบมาจากการท�ำเกษตร ที่ดี” มหาวิทยาลัยสวนดุสิตเป็นมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงในอัตลักษณ์อันโดดเด่นด้านอาหาร มาเนิ่นนาน นับตั้งแต่ก่อตั้งเป็นโรงเรียนการเรือนจวบจนกระทั่งปัจจุบัน มหาวิทยาลัยได้ท�ำหน้าที่ สร้างสรรค์นวัตกรรมด้านอาหารออกสู่สังคมโดยค�ำนึงความอร่อย คุณค่าและความปลอดภัย ของผู้บริโภคเป็นส�ำคัญ จากแนวคิดดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการขับเคลื่อน โครงการ แปลงสาธิตเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ หรือ หอมขจรฟาร์ม บนพื้นที่กว่า 30 ไร่ ที่วิทยาเขต สุพรรณบุรี เพื่อด�ำเนินงานส่งเสริมคุณค่าห่วงโซ่การผลิตอาหารปลอดภัยจากต้นน�้ำไปถึง ปลายน�้ำ และยกระดับคุณภาพชีวิตให้แก่เกษตรกร ผู้ประกอบการและชุมชน “เราไม่ได้ต้องการท�ำเกษตรดั้งเดิม แต่จะน�ำ เทคโนโลยีมาบูรณาการกับการเกษตรที่ดีและ ความเชี่ยวชาญด้านการแปรรูปที่เป็นมาตรฐาน ของมหาวิทยาลัย” รศ.ดร.ชนะศึก นิชานนท์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัย สวนดุสิต กล่าวถึงความตั้งใจของมหาวิทยาลัยต่อการ ขับเคลื่อนโครงการแปลงสาธิตเกษตรปลอดภัย อัจฉริยะ ที่ไม่ใช่แค่การด�ำเนินงานเพื่อยกระดับห่วงโซ่ คุณค่าด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยเท่านั้น หากยังบูรณาการการด�ำเนินงานของแปลงสาธิตเกษตร ปลอดภัยอัจฉริยะเป็นฐานการสร้างประสบการณ์ เรียนรู้ให้บุคคลทุกช่วงวัย ทั้งนักเรียน นักศึกษา คณาจารย์ เกษตรกร และผู้ประกอบการในจังหวัด สุพรรณบุรี รศ.ดร.ชนะศึก นิชานนท์ 25
  • 27. เฉลิมชัย แสงอรุณ ผู้จัดการแปลงสาธิตเกษตร ปลอดภัยอัจฉริยะและผู้เชี่ยวชาญด้านพืชสวน เล่าว่า ที่ผ่านมาหอมขจรฟาร์มได้ทดลองปลูกเมล่อนมาแล้ว จ�ำนวน 3 สายพันธุ์ ได้แก่ พันธุ์ทิเบต พันธุ์กาเรีย และ พันธุ์ออเร้นจ์แมน โดยปลูกในโรงเรือน 3 รูปแบบได้แก่ โรงเรือนอัจฉริยะ เป็นโรงเรือนที่มีระบบเซนเซอร์ส�ำหรับ วัดความชื้นดิน อุณหภูมิ ความชื้นอากาศ และความเข้มแสง มีระบบสเปรย์หมอก สามารถควบคุมการให้น�้ำหรือลด อุณหภูมิภายในโรงเรือนได้ผ่านทางมือถือได้ โรงเรือนกึ่ง อัตโนมัติเป็นโรงเรือนที่ควบคุมการให้น�้ำและปุ๋ยได้ผ่านมือถือ แต่ไม่มีระบบสเปรย์หมอก และโรงเรือนที่ติดตั้งเฉพาะ เซนเซอร์ เพื่อดูค่าสภาวะแวดล้อมแต่ไม่สามารถควบคุม หรือสั่งงานได้ “ระบบในโรงเรือนอัจฉริยะบริหารจัดการปัญหาได้ ดีพอสมควร ในหน้าหนาวไม่ค่อยเจอปัญหา แต่หน้า ร้อนที่มีเพลี้ยไฟ ไรแดงระบาด สามารถใช้สเปรย์หมอก ช่วยได้ รวมทั้งกรณีที่สังเกตเห็นเซนเซอร์อุณหภูมิเตือน ว่าอากาศอบอ้าว ก็สามารถสั่งให้สเปรย์หมอกท�ำงาน หรือสั่งให้พัดลมระบายอากาศท�ำงาน เพื่อสร้างสภาวะ แวดล้อมให้เหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืช แต่ อย่างไรก็ตามการท�ำเกษตร นอกจากจะมีอุปกรณ์หรือ เทคโนโลยีช่วยแล้ว เกษตรกรต้องมีความรู้ในการดูแล พืช แม้จะสามารถสั่งงานผ่านแอพได้ แต่ก็ควรต้องไป คลุกคลีสังเกตในโรงเรือนอย่างใกล้ชิดด้วยเช่นกัน” โรงเรือนเพาะปลูกพืชขนาด 6x20x5.6 เมตร จ�ำนวน 3 โรงเรือนตั้งเรียงตระหง่าน บนพื้นที่หอมขจรฟาร์ม เป็นหนึ่งในเทคโนโลยี ด้านการเกษตรที่เกิดจากความร่วมมือระหว่าง สวทช. กับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยมี เป้าหมายเพื่อ “พัฒนางานวิจัยและถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม เพื่อพัฒนาอาชีพและยกระดับ คุณภาพชีวิตในชุมชน” ซึ่งทั้งสามโรงเรือน ดังกล่าวมีความต่างเรื่องโครงสร้าง อุปกรณ์ ฟังก์ชั่น การใช้งานและราคา ที่สามารถใช้ในการด�ำเนิน การวิจัยและสาธิตการผลิตพืชมูลค่าสูงและเป็น ตัวอย่างของโรงเรือนปลูกพืชให้แก่เกษตรกร ในการเรียนรู้และประยุกต์ให้เหมาะกับตนเอง แปลงสาธิตเกษตรปลอดภัย อัจฉริยะ ไม่เพียงยกระดับ ห่วงโซ่คุณค่าด้านการผลิต สินค้าเกษตรปลอดภัย แต่ยัง เป็นฐานสร้างประสบการณ์ เรียนรู้ให้บุคคลทุกช่วงวัย เฉลิมชัย แสงอรุณ Smart IoT 26
  • 28. รศ.ดร.ชนะศึก และ เฉลิมชัย ได้วางแผนการปลูก เมล่อนทั้ง 3 สายพันธุ์ ให้ครบทุกฤดูกาลในวงรอบ 1 ปี เพื่อเรียนรู้ถึงสภาวะแวดล้อมและการจัดการเมล่อนใน แต่ละช่วงฤดูได้อย่างเหมาะสม และรวบรวมองค์ความรู้ จากการผลิตเมล่อนในระบบโรงเรือนส่งต่อให้เกษตรกร ได้น�ำไปปรับใช้ได้จริงในชุมชน นอกจากเมล่อนแล้วยังได้ วางแผนปลูกพืชมูลค่าสูงอื่นๆ ที่ต้องการดูแลพิเศษใน โรงเรือน เช่น ไม้ดอก มะเขือเทศ “โครงการแปลงสาธิตเกษตรปลอดภัยอัจฉริยะ เป็นการท�ำงานในรูปแบบของเครือข่ายความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยสวนดุสิตกับหน่วยงานต่างๆ ที่เป็นพันธมิตรต่อกัน เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีตลอดห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตร สู่ชุมชนโดยไม่หวังผลก�ำไร ยกตัวอย่างเช่น โรงเรือนของ สวทช. ก็ไม่ได้สร้างขึ้นเพื่อเป็น ทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต หากแต่ทั้ง สวทช. และมหาวิทยาลัยสวนดุสิตมีเจตนารมณ์ ร่วมกันที่จะสร้างขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ส�ำหรับ เกษตรกรซึ่งจะพัฒนาหลักสูตรจัดอบรมร่วมกันต่อไป” รศ.ดร.ชนะศึก กล่าวทิ้งท้าย รศ.ดร.ชนะศึก เล่าถึงผลผลิตเมล่อนที่ได้จาก โรงเรือนปลูกพืชของสวทช.เมื่อบวกกับการวางแผน การตลาดและความเชี่ยวชาญด้านการแปรรูป ของมหาวิทยาลัย จะเป็นตัวอย่างให้เกษตรกรได้ มองเห็นถึงการผลิตที่เน้นท�ำในปริมาณน้อย แต่มีคุณภาพสามารถสร้างมูลค่าให้แก่ผลผลิตและ สร้างรายได้เพิ่มให้แก่เกษตรกรได้ “ผลผลิตเมล่อนจากทั้งสามโรงเรือนได้ รับรองมาตรฐาน GAP และจ�ำหน่ายภายใต้ แบรนด์หอมขจร ซึ่งเมล่อนเกรดพรีเมี่ยม (น�้ำหนักเกิน 3 กก. ร้อยละ 85 ของผลผลิต) จัดส่งขายที่ตลาด อตก. ราคาลูกละ 399 บาท เกรด B วางขายที่ปั๊มปตท. จังหวัดสุพรรณบุรี ราคาลูกละ 250 บาท (น�้ำหนัก 2-3 กก. ร้อยละ 10 ของผลผลิต) ส่วนเกรด C (น�้ำหนักต�่ำกว่า 2 กก. ร้อยละ5ของผลผลิต)น�ำไปแปรรูปเป็นไอศกรีม และเครื่องดื่มขายในโรงแรมสวนดุสิตเพลส และเรายังน�ำผลอ่อนหรือลูกที่คัดทิ้งไปท�ำ เมนูเมล่อนผัดไข่ ซึ่งกลายเป็น signature ของ โรงแรมที่ถูกพูดถึง” ผลผลิตเมล่อนที่ได้จาก โรงเรือน สวทช. บวกกับ การตลาด ความเชี่ยวชาญ การแปรรูปของมหาวิทยาลัย เป็นตัวอย่างให้เห็นถึงการ ผลิตที่เน้นท�ำปริมาณน้อย แต่มีคุณภาพ 27
  • 29.
  • 30. ‘เกษตรปลอดภัยเกษตรอินทรีย์’เป็นระบบการท�ำเกษตรที่ไม่เพียงสร้าง ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี หากยังเป็นระบบการท�ำเกษตรที่เป็นมิตรต่อทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค ทรัพยากรท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อม การเพิ่มศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตข้าวแบบครบวงจรด้วยกระบวนการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพื้นที่จังหวัดสงขลา การพัฒนาทักษะ ผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่ การพัฒนาเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ ผู้ผลิต ผักสดและเมล็ดพันธุ์ในชุมชน ตลอดจนการถ่ายทอดเทคโนโลยี โรงเรือนพลาสติกส�ำหรับการปลูกพืชผักและการบริหารจัดการแบบ ครบวงจร เป็นโครงการส่วนหนึ่งที่สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกษตร(สท.)สวทช.ได้น�ำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรได้ตระหนัก ปรับเปลี่ยน และ ยืนหยัดในการท�ำเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ตามบริบทพื้นที่ ของตนเอง ซึ่งไม่เพียงได้ผลผลิตคุณภาพ สร้างสุขภาวะที่ดีให้เกษตรกร สร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้นให้ครอบครัว คืนความสมบูรณ์ให้สิ่งแวดล้อม หาก ยังน�ำไปสู่การอนุรักษ์พันธุ์พืชประจ�ำถิ่นที่จะเป็นคลังทรัพยากรชีวภาพ ให้กับประเทศ ปลูก “ปลอดภัย-อินทรีย์” สร้างสมดุล รักษ์ทรัพยากรชุมชน 29
  • 31. 30
  • 32. 31
  • 33. แม้การท�ำนาไม่ใช่อาชีพหลักของคนใต้ แต่ภาคใต้กลับอุดมด้วย สายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองกว่า 160 สายพันธุ์ ด้วยวิถีการท�ำนาที่ปลูก เพื่อบริโภค เนื้อสัมผัสหรือรสชาติของข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่คุ้นเคย จึงครองใจคนในพื้นที่ แต่ด้วยความเปลี่ยนแปลงของสภาพเศรษฐกิจ และสังคม ท�ำให้พื้นที่เพาะปลูกข้าวในภาคใต้ลดน้อยลง ความพยายาม ในการรักษาพันธุ์ข้าวพื้นเมืองและผลักดันให้ข้าวพื้นเมืองเป็นที่นิยม มากขึ้น กลายเป็นโจทย์ของชาวนาใต้ในหลายพื้นที่ เสริมแกร่งชาวนาใต้ ผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี รักษ์ ‘ข้าวพันธุ์พื้นเมือง’ เกษตรอินทรีย์ 32
  • 34. เป็นอีกหนึ่งชุมชนชาวไทย-มุสลิมที่ยังยึดอาชีพท�ำนาแม้ไม่ใช่ อาชีพหลักที่สร้างรายได้อย่างการท�ำสวนยางพาราแต่ที่นี่กลับให้ ความส�ำคัญกับการส่งต่อวิถีการท�ำนาสู่เด็กนักเรียนโดยมีสมาชิก วิสาหกิจชุมชนข้าวช่อขิงบ้านกระอาน หมุนเวียนไปให้ความรู้ และพาลงมือท�ำในพื้นที่นาของโรงเรียนบ้านกระอาน ถ้าเราผลิตเมล็ดพันธุ์ที่ดี มีคุณภาพ เท่ากับเราท�ำสิ่งที่ดีให้คนอื่น ให้เขาได้ผลผลิตที่ดีขึ้นด้วย “เรียกว่าไปแนะน�ำไม่ใช่สอนหรอก” นูรีย๊ะ สูโรโรจน์ หรือกะย๊ะประธานกลุ่มนาอินทรีย์วิถีวิทย์อ�ำเภอเทพา(บ้านกระอาน) เล่าถึงบทบาทหนึ่งของกลุ่มฯ ที่ร่วมงานกับโรงเรียนเพื่อให้เด็กๆ ได้รู้จักอาชีพของพ่อแม่ตัวเองที่แม้จะไม่ใช่อาชีพหลักอย่างท�ำสวน ยางพารา แต่เป็นอาชีพที่ผลิต ‘ข้าว’ อาหารหลักของเด็กๆ กะย๊ะ เล่าว่า เดิมการท�ำนาของเรายังไม่เป็นแบบปลอดภัย มีใช้ยาฆ่าหญ้าพันธุ์ข้าวที่ปลูกมีทั้งช่อรวงช่อกระดังงาหอมจันทร์ แต่หลังจากได้ไปดูงานปลูกข้าวอินทรีย์ในพื้นที่อื่น สมาชิกจึง หันมาปรับเปลี่ยนเป็นนาปลอดภัย วิสาหกิจชุมชนฯ บ้านกระอาน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2557 หลังจาก ที่วิทยาลัยชุมชนสงขลา(วชช.สงขลา)เข้ามาส่งเสริมการปลูกข้าว พันธุ์ช่อขิงและแปรรูปข้าวเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆและในเวลาต่อมา ได้เข้าร่วมเป็นหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ‘ข้าวช่อขิง บ้านกระอาน ต.ท่าม่วง อ.เทพา’ และ ‘ข้าวลูกปลา บ้านป่าชิง ต.ป่าชิง อ.จะนะ’ เป็นตัวอย่าง สองสายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองที่สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกษตร (สท.) สวทช. ได้ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร ในจังหวัดสงขลา ด�ำเนินงานโครงการ การเพิ่มศักยภาพกลุ่ม ผู้ผลิตข้าวแบบครบวงจรด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีในพื้นที่จังหวัดสงขลา เพื่อยกระดับการผลิตข้าว ให้มีคุณภาพพร้อมส่งต่อผู้บริโภคในวงกว้าง บ้านกระอาน ต.ท่าม่วง อ.เทพา นูรีย๊ะ สูโรโรจน์ 33
  • 35. “แต่ก่อนเก็บเมล็ดพันธุ์เป็นรวงแล้ววางเรียง ถึงหน้าหว่านก็นวดๆ แล้วไปหว่านเลย ไม่ได้ เลือกรวง พอมาร่วมโครงการกับ สท. ก็ได้ ความรู้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะการคัดเมล็ด ถ้าคัดรวงดี รวงโต ไม่มีโรค ผลผลิตที่ออกมา จะดีเป็นเรื่องใหม่ที่ไม่เคยรู้ชอบและเห็นจริง จากผลผลิตที่ออกมา” วิถีการปลูกข้าวอาศัยประสบการณ์จากรุ่นสู่รุ่น แม้มีหน่วยงานมาให้ความรู้การท�ำนาต้นเดียว แต่ชาวบ้านไม่นิยมท�ำ จนได้มาร่วมโครงการกับ สท./ สวทช. ซึ่งมี ดร.กัญญณัช ศิริธัญญา นักวิจัยอิสระ และดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา เป็นผู้ให้ความรู้การผลิตเมล็ดพันธุ์คุณภาพดี โดยการ เพาะกล้าแบบวางรวงและปักด�ำแบบรวงต่อแถว ปักด�ำ กล้าต้นเดียวร่วมกับการตรวจตัดพันธุ์ปนอย่างสม�่ำเสมอ ทั้ง5ระยะ(ระยะกล้าระยะแตกกอระยะออกดอกระยะ โน้มรวง และระยะสุกแก่) และปรับปรุงสภาพเมล็ดพันธุ์ (ท�ำความสะอาดและลดความชื้น) สามารถยกระดับ คุณภาพเมล็ดพันธุ์ให้ดีขึ้นได้ “วชช.สงขลา เข้ามาส่งเสริมให้ปลูกข้าวพันธุ์ช่อขิง เพื่อให้เป็นข้าวสุขภาพและปลูกข้าวเป็นการค้า ซึ่งข้าว ช่อขิงมีวิตามินอีสูงกว่าข้าวพื้นเมืองอื่นที่เรียกว่าช่อขิง เพราะลักษณะรวงเป็นแง่ง คล้ายขิง” กะย๊ะ เล่าถึงที่มา ของการปลูกข้าวพันธุ์ช่อขิงในพื้นที่บ้านกระอานซึ่งผลผลิต ช่วงแรกส่งจ�ำหน่ายที่กรุงเทพฯปัจจุบันกลุ่มฯหาตลาดและ จ�ำหน่ายเอง ข้าวช่อขิง เป็นข้าวสีม่วงแดงคล้ายข้าวสังข์หยด มีกลิ่น หอมเป็นลักษณะเฉพาะตัวมีความนุ่มเหนียวปลูกง่ายและ ทนต่อสภาพแวดล้อม เกษตรอินทรีย์ เพาะกล้าแบบวางรวง แล้วด�ำต้นเดียว ได้รวงข้าวสวย เมล็ดเป่ง เป็นลูกคุณหนู ท�ำแบบหว่าน มันดูกระด้างๆ 34