SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
1. ลักษณะของข้อมูลที่ดี

         มีคากล่าวเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูลไว้อย่างน่าฟังว่า ถ้าข้อมูลเข้าเป็นขยะ สิ่งที่ออกมาก็จะเป็น
ขยะด้วย (Garbage In, Garbage Out) ซึ่งหมายความว่า ถ้าข้อมูลที่นาไปประมวลผลเป็นข้อมูลที่ด้อย
คุณภาพ ผลลัพธ์ที่จะออกมาก็ย่อมด้อยคุณภาพไปด้วย ดังนั้นเราจึงควรตระหนักถึงความสาคัญของการเก็บ
ข้อมูล รวมถึงการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้นด้วย โดยข้อมูลที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้
         1) ความถูกต้องของข้อมูล เป็นลักษณะสาคัญยิ่งของข้อมูล ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องแล้ว เราจะไม่
สามารถได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้เลย ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่องสาคัญที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับข้อมูลที่มี
ขนาดใหญ่ และไม่มีการตรวจสอบ เช่น ข้อมูลในโลกอินเทอร์เน็ต ซึ่งจาเป็นต้องได้รับการตรวจสอบก่อน
จะนามาใช้เสมอ
         นอกจากนี้ข้อมูลบางประเภท เช่น ข้อมูลเสียงที่เก็บจากไมโครโฟน ดังรูปที่ 2.8 อาจมีปัญหา
เกี่ยวกับสัญญาณเสียงรบกวนเกิดขึ้น ดังนั้นข้อมูลประเภทนี้ จึงต้องได้รับการปรับปรุงคุณภาพหรือ
เรียกว่า กระบวนการลดสัญญาณรบกวน จึงสามารถนาไปใช้งานได้




                                       ข้อมูลเสียงที่เก็บจากไมโครโฟน

           สาหรับข้อมูลที่ได้รับการบันทึกด้วยมนุษย์ โดยมากมักต้องผ่านการตรวจสอบก่อนเสมอ ซึ่งอาจ
ตรวจสอบโดยมนุษย์ หรือตรวจสอบโดยระบบ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลที่มีความสาคัญอาจต้องป้อนสอง
ครั้ง เพื่อป้องกันความผิดพลาด ซึ่งนักเรียนสามารถเห็นตัวอย่างของข้อมูลเหล่านี้ได้จากการป้อนรหัสผ่าน
เวลา ลงทะเบียนตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่นักเรียนมักต้องป้อนรหัสผ่านหรืออีเมล์สองครั้ง เพื่อป้องกัน
ข้อผิดพลาด ดังรูปที่ 2.9 นอกจากนี้ข้อมูลที่เป็นรหัสตัวเลขสาคัญ มักจะมีตัวเลขซึ่งเป็นหลักตรวจสอบ
แฝงไว้เสมอ เช่น ข้อมูลหมายเลขบัตรเครดิต 16 หลัก เมื่อนามาผ่านกระบวนการประมวลผล จะสามารถ
ตรวจสอบได้ว่า หมายเลขบัตรเครดิตนั้นถูกต้องหรือไม่ เป็นต้น


ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม                                                           1
แสดงหน้าจอของเว็บไซต์ที่ต้องการป้อนข้อมูลสองครั้ง เพื่อป้องกันความผิดพลาด

   เกร็ดน่ารู้
        ทราบหรือไม่ว่า การสื่อสารข้อมูลจาเป็นต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเสมอ โดย
   แฝงตัวเลขหลักตรวจสอบไว้ ซึ่งตัวเลขในหลักตรวจสอบเหล่านี้ สามารถทางานได้ทั้งตรวจสอบว่า
   ข้อมูลผิดพลาดหรือไม่ หรือ ในบางประเภท เช่น รหัสแฮมมิง (Hamming code) สามารถแก้ไข
   ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในข้อมูลได้ทันทีโดยไม่ต้องส่งข้อมูลใหม่

         2) ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนาไปใช้งาน ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วน จัดเป็นข้อมูลที่
ด้อยคุณภาพได้เช่นกัน เช่น ข้อมูลประวัติคนไข้ หากไม่มีหมู่เลือดของคนไข้ จะไม่สามารถใช้ได้ในกรณีที่
ผู้ร้องขอข้อมูลต้องการข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้ หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า ที่กรอกผ่านแบบฟอร์ม ถ้ามีแต่
ชื่อและนามสกุลโดยไม่มีข้อมูล บ้านเลขที่ ถนน แขวง/ตาบล เขต/อาเภอ หรือจังหวัด ข้อมูลเหล่านั้นก็ไม่
สามารถนามาใช้ได้เช่นกัน
         3) ความถูกต้องตามเวลา ในบางกรณีข้อมูลผูกอยู่กับเงื่อนไขของเวลา ซึ่งถ้าผิดจากเงื่อนไขของ
เวลาไปแล้ว ข้อมูลนั้นอาจลดคุณภาพลงไป หรือแม้กระทั่งอาจไม่สามารถใช้ได้ เช่นข้อมูลการให้ยาของ
คนไข้ในโรงพยาบาล ดังรูปที่ 2.11 ในทางการแพทย์แล้ว ข้อมูลจะต้องถูกใส่เข้าไปในฐานข้อมูลที่คนไข้
ได้รับยา เพื่อให้แพทย์คนอื่นๆ ได้ทราบว่า คนไข้ได้รับยาชนิดนี้เข้าไปแล้ว แต่ข้อมูลเรื่องการให้ยาของ
คนไข้นี้ อาจไม่จาเป็นต้องได้รับการปรับทันทีสาหรับแผนกการเงิน เพราะทางแผนกการเงินจะคิดเงินก็
ต่อเมื่อญาติคนไข้มาตรวจสอบ หรือคนไข้กาลังจะออกจากโรงพยาบาล

ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม                                                        2
ตัวอย่างข้อมูลการให้ยาคนไข้ในพยาบาล

        ข้อมูลการติดตามตาแหน่งของรถยนต์ด้วยระบบจีพีเอส สาหรับบริษัทที่ต้องทางานการติดตาม
รถยนต์ ข้อมูลตาแหน่งรถยนต์ จะต้องได้รับการปรับให้เป็นจริงตลอดเวลา หากข้อมูลนั้นปรับทุกๆ หนึ่ง
ชั่วโมงจะไม่มีประโยชน์ในการติดตามตาแหน่งของรถยนต์ ดังนั้นในเรื่องของความถูกต้องตามเวลาของ
ข้อมูล จึงเป็นเรื่องสาคัญประการหนึ่งที่ต้องนามาพิจารณาเมื่อต้องมีการจัดเก็บ ข้อมูลหรือประมวลผล
ข้อมูล




                                              ระบบติดตามรถยนต์ด้วยจีพีเอส

         4) ความสอดคล้องกันของข้อมูล ในกรณีที่ข้อมูลมาจากหลายแหล่ง จะเกิดปัญหาขึ้นในเรื่องของ
ความสอดคล้องกันของข้อมูล เช่น ในบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลที่อยู่ลูกค้า หากต้องการนาข้อมูลไป
ควบรวมกับบริษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งมีข้อมูลของลูกค้าอยู่ เช่นกัน แต่ข้อมูลในการจัดส่งเอกสารของบริษัทแห่ง
แรก เป็นที่อยู่ของที่พักอาศัยของลูกค้า ในขณะที่ข้อมูลในบริษัทที่สองเป็นที่อยู่ของสถานที่ทางานของ
ลูกค้า ข้อมูลจากทั้งสองบริษัทเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง สอดคล้องตามเวลาทั้งคู่ แต่ถ้าต้องการเก็บข้อมูลที่อยู่
ลูกค้าเพียงที่อยู่เดียว ก็จะเกิดปัญหาขึ้นได้ ตัวอย่างของการไม่สอดคล้องกันของข้อมูล

ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม                                                           3
ตัวอย่างของการไม่สอดคล้องกับของข้อมูล

2. การจัดเก็บข้อมูล
        เมื่อเห็นความสาคัญของข้อมูลแล้ว ทาอย่างไรจึงจะเก็บรักษาข้อมูลเหล่านั้นให้คงอยู่ รวมถึงทาให้
สามารถประมวลผลข้อมูลนั้นได้อย่างรวดเร็ว โดยมากแล้วจะรวมไว้ในระบบฐานข้อมูล ซึ่งนามาใช้ใน
การจัดเก็บ การเข้าถึง และการประมวลผล ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กรหรือหน่วยงาน เช่น
               การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป็นกระดาษได้ รวมถึง
                 การทาซ้าเพื่อสารองข้อมูล สามารถทาได้สะดวกและรวดเร็ว
               การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวัติการบารุงรักษาของ
                 รถยนต์ และข้อมูลประวัติคนไข้ ผู้ใช้ที่ต้องนาข้อมูลเหล่านี้ไปใช้งาน สามารถเข้าถึง
                 ระบบฐานข้อมูลและนาข้อมูลที่ต้องการไปใช้ได้
               การจากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร เช่น ผู้บริหาร
                 สามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทั่วไปในแผนกการเงิน ไม่สามารถเข้าถึง
                 ข้อมูลประวัติของฝ่ายบุคคลได้ เป็นต้น




ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม                                                       4
ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กร
        4.1 ลาดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูล ก่อนจะกล่าวถึงลาดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูลสิ่งแรกที่
ต้องกล่าวถึงก่อน คือ ลาดับชั้นล่างสุดของการแทนข้อมูล นั่นคือ การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐานสอง ซึ่ง
ประกอบด้วยตัวเลขสองตัว คือ ‘0’ และ ‘1’ ในทางคอมพิวเตอร์ จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้
ว่า 1 บิต (bit) ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยเล็กที่สุดของข้อมูล และหากนาบิตมาต่อกันจานวน 8 บิต จะเรียกว่า 1
ไบต์ (byte)




                                   ตัวอย่างการแทนข้อมูลทางคอมพิวเตอร์




ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม                                                      5
1) เขตข้อมูล (field) เมื่อนาข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ต้องการเก็บใน
ฐานข้อมูลเราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความ หมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มีความหมาย
ในฐานข้อมูลนี้เรียกว่า เขตข้อมูล โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้
             จานวนเต็ม (integer) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด 32 บิต ซึ่งขนาดของ
                 ตัวเลขนี้อาจเปลี่ย นแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสอง
                 ขนาด 32 บิ ต สามารถแทนตั ว เลขจ านวนเต็ ม ได้ ตั้ ง แต่ -2,147,483,648 ถึ ง
                 2,147,483,647 ( -231 ถึง 231 -1) แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไว้ว่า เป็นตัวเลขจานวนเต็มไม่
                 ระบุ เ ครื่ อ งหมาย (unsigned integer) เท่ า นั้ น จะสามารถแทนตั ว เลขจ านวนเต็ ม ได้
                 ตั้งแต่ 0 ถึง 4,294,967,295 (232 -1)
             จานวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์จะเก็บตัวเลขทศนิยม โดยใช้ระบบ
                 โฟลททิงพอยต์ (floating point) ซึ่งการเก็บในลักษณะนี้ ไม่มีการกาหนดตาแหน่งตายตัว
                 สาหรับตาแหน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 บิต และ
                 64 บิต
             ข้อความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัว
                 อักขระแต่ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่ง
                 ต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด (Unicode) ที่สามารถแทนภาษาได้หลายภาษามากกว่า
                 รหัสแอสกี ความยาวของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจานวนตัวอักขระในข้อความ
             วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวันเวลา เช่น วันที่เริ่มใช้งาน วันลงทะเบียน และซื้อ
                 สินค้า มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวัน
                 เวลา เพื่อเขตข้อมูลที่ต้องการเก็บข้อมูลเป็นเวลา
             ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่น ๆ ซึ่งเขตข้อมูล
                 ประเภท เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภท
                 อื่นๆ โดยเขตข้อมูลจะเก็บข้อมูลในลักษณะเป็นบิตเรียงต่อกัน




                               ตัวอย่างการกาหนดชื่อและขนาดของเขตข้อมูล

        2) ระเบียน (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจจะ
เป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน
ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม                                                            6
เกร็ดน่ารู้ การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขจานวนจริงเครื่องคอมพิวเตอร์จะเก็บตามมาตรา IEEE 754 ซึ่ง
   ตัวอย่างของการเก็บข้อมูลจะเป็นดังนี้
            20.65625 เมื่อเปลี่ยนแปลงเป็นฐานสองจะได้ 10100.10101 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0100.10101 x
   24 จะถูกเก็บเป็นระเบียน




                                      ตัวอย่างระเบียน
       3) ตาราง (table) คื อ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูล ในแต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มี
ความสัมพันธ์กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆ ระเบียน แต่ละระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันใน
ตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูลหลายระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย




                                    ตัวอย่างตารางข้อมูลนักเรียน
         4) ฐานข้อมูล (database) เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกัน ตามตารางจะมี
ความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือนกันเป็น ตัวเชื่อมโยงระหว่างบางตารางอาจเป็น
ตารางที่เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดย ไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่นบางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับเขต
ข้อมูลของตารางอื่นๆ
         ตัวอย่างรูปของฐานข้อมูล ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเก็บข้อมูลของนักเรียน มีตารางหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูล
นักเรียน โดยมีเขตข้อมูลเป็น รหัสนักเรียน ชื่อ นามสกุล และที่อยู่ ตารางหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลสุขภาพของ
นักเรียน โดยมีเขตข้อมูลเป็น รหัสนักเรียน ส่วนสูง และวันที่เก็บข้อมูล (วันที่วัด)




ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม                                                        7
แสดงตัวอย่างฐานข้อมูลซึ่งส่วนหนึ่งใช้เก็บข้อมูลนักเรียน




ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม                                        8

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
sukanya5729
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
thkitiya
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
พัน พัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Akkradet Keawyoo
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
TinnakritWarisson
 

Mais procurados (20)

หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลกเรื่องปัญหาขยะภายในโลก
เรื่องปัญหาขยะภายในโลก
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
เล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมีเล่ม 2 สมการเคมี
เล่ม 2 สมการเคมี
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 

Destaque

การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
sa
 
ประกาศรับสมัคเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ โรงเรียนเวียงสระ1 56
ประกาศรับสมัคเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์  โรงเรียนเวียงสระ1 56ประกาศรับสมัคเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์  โรงเรียนเวียงสระ1 56
ประกาศรับสมัคเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ โรงเรียนเวียงสระ1 56
กระทรวงศึกษาธิการ
 
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูลเทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
Mrpopovic Popovic
 
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูลตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
Kriangx Ch
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
เลดี้ มาม่า
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
Montree Jareeyanuwat
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
พิพัฒน์ ตะภา
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
niwat50
 

Destaque (17)

การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่  10ใบงานที่  10
ใบงานที่ 10
 
การแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
การแทรกรูปภาพในเว็บเพจการแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
การแทรกรูปภาพในเว็บเพจ
 
ประกาศรับสมัคเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ โรงเรียนเวียงสระ1 56
ประกาศรับสมัคเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์  โรงเรียนเวียงสระ1 56ประกาศรับสมัคเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์  โรงเรียนเวียงสระ1 56
ประกาศรับสมัคเจ้าหน้าที่บรรณารักษ์ โรงเรียนเวียงสระ1 56
 
41 เตรียมสอบเข้าป.1 เครือสาธิต ผศ.บุณยาพร อูนากูล
41 เตรียมสอบเข้าป.1 เครือสาธิต ผศ.บุณยาพร อูนากูล41 เตรียมสอบเข้าป.1 เครือสาธิต ผศ.บุณยาพร อูนากูล
41 เตรียมสอบเข้าป.1 เครือสาธิต ผศ.บุณยาพร อูนากูล
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูลเทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
เทอม 1 คาบ 5การจัดเก็บข้อมูล
 
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูลตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
ตอนที่ 2 การเก็บรักษาข้อมูล
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
ข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูล
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
แบบฝึกเขียน Abc
แบบฝึกเขียน Abcแบบฝึกเขียน Abc
แบบฝึกเขียน Abc
 
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 

Semelhante a ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
MyunDao
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
Hitsuji12
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Yongyut Nintakan
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
miwmilk
 
Database
DatabaseDatabase
Database
paween
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
chushi1991
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Isareeya Keatwuttikan
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
nattarikaii
 

Semelhante a ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล (20)

แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสารงานคอมนางสาว มลทิรา  เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
งานคอมนางสาว มลทิรา เอกกุล เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผลใบความรู้ที่  5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง ข้อมูล สารสนเทศ และการประมวลผล
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Mais de ปิยะดนัย วิเคียน

Mais de ปิยะดนัย วิเคียน (20)

การจัดรูปแบบข้อความ
การจัดรูปแบบข้อความการจัดรูปแบบข้อความ
การจัดรูปแบบข้อความ
 
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจการจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
การจัดรูปแบบหน้าเว็บเพจ
 
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
อุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสารอุปกรณ์การสื่อสาร
อุปกรณ์การสื่อสาร
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยีกลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
กลุ่ม 1 วิวัฒนาการของการสื่อสารและเทคโนโลยี
 
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างเอกสารการจัดทำวีดิทัศน์และภาพยนตร์
 
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
ตัวอย่างบทวีดีทัศน์และภาพยนตร์
 
เฉลยแบบทดสอบ html
เฉลยแบบทดสอบ htmlเฉลยแบบทดสอบ html
เฉลยแบบทดสอบ html
 
เฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบเฉลยแบบทดสอบ
เฉลยแบบทดสอบ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
รูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่ายรูปร่างเครือข่าย
รูปร่างเครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56โครงการสอน 1.56
โครงการสอน 1.56
 
ผลงานการออกแบบ Logo
ผลงานการออกแบบ Logoผลงานการออกแบบ Logo
ผลงานการออกแบบ Logo
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์โปรแกรมไม่พึงประสงค์
โปรแกรมไม่พึงประสงค์
 

ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล

  • 1. ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ 1. ลักษณะของข้อมูลที่ดี มีคากล่าวเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูลไว้อย่างน่าฟังว่า ถ้าข้อมูลเข้าเป็นขยะ สิ่งที่ออกมาก็จะเป็น ขยะด้วย (Garbage In, Garbage Out) ซึ่งหมายความว่า ถ้าข้อมูลที่นาไปประมวลผลเป็นข้อมูลที่ด้อย คุณภาพ ผลลัพธ์ที่จะออกมาก็ย่อมด้อยคุณภาพไปด้วย ดังนั้นเราจึงควรตระหนักถึงความสาคัญของการเก็บ ข้อมูล รวมถึงการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้นด้วย โดยข้อมูลที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ 1) ความถูกต้องของข้อมูล เป็นลักษณะสาคัญยิ่งของข้อมูล ถ้าข้อมูลไม่ถูกต้องแล้ว เราจะไม่ สามารถได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้เลย ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่องสาคัญที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับข้อมูลที่มี ขนาดใหญ่ และไม่มีการตรวจสอบ เช่น ข้อมูลในโลกอินเทอร์เน็ต ซึ่งจาเป็นต้องได้รับการตรวจสอบก่อน จะนามาใช้เสมอ นอกจากนี้ข้อมูลบางประเภท เช่น ข้อมูลเสียงที่เก็บจากไมโครโฟน ดังรูปที่ 2.8 อาจมีปัญหา เกี่ยวกับสัญญาณเสียงรบกวนเกิดขึ้น ดังนั้นข้อมูลประเภทนี้ จึงต้องได้รับการปรับปรุงคุณภาพหรือ เรียกว่า กระบวนการลดสัญญาณรบกวน จึงสามารถนาไปใช้งานได้ ข้อมูลเสียงที่เก็บจากไมโครโฟน สาหรับข้อมูลที่ได้รับการบันทึกด้วยมนุษย์ โดยมากมักต้องผ่านการตรวจสอบก่อนเสมอ ซึ่งอาจ ตรวจสอบโดยมนุษย์ หรือตรวจสอบโดยระบบ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลที่มีความสาคัญอาจต้องป้อนสอง ครั้ง เพื่อป้องกันความผิดพลาด ซึ่งนักเรียนสามารถเห็นตัวอย่างของข้อมูลเหล่านี้ได้จากการป้อนรหัสผ่าน เวลา ลงทะเบียนตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่นักเรียนมักต้องป้อนรหัสผ่านหรืออีเมล์สองครั้ง เพื่อป้องกัน ข้อผิดพลาด ดังรูปที่ 2.9 นอกจากนี้ข้อมูลที่เป็นรหัสตัวเลขสาคัญ มักจะมีตัวเลขซึ่งเป็นหลักตรวจสอบ แฝงไว้เสมอ เช่น ข้อมูลหมายเลขบัตรเครดิต 16 หลัก เมื่อนามาผ่านกระบวนการประมวลผล จะสามารถ ตรวจสอบได้ว่า หมายเลขบัตรเครดิตนั้นถูกต้องหรือไม่ เป็นต้น ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 1
  • 2. แสดงหน้าจอของเว็บไซต์ที่ต้องการป้อนข้อมูลสองครั้ง เพื่อป้องกันความผิดพลาด เกร็ดน่ารู้ ทราบหรือไม่ว่า การสื่อสารข้อมูลจาเป็นต้องมีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลเสมอ โดย แฝงตัวเลขหลักตรวจสอบไว้ ซึ่งตัวเลขในหลักตรวจสอบเหล่านี้ สามารถทางานได้ทั้งตรวจสอบว่า ข้อมูลผิดพลาดหรือไม่ หรือ ในบางประเภท เช่น รหัสแฮมมิง (Hamming code) สามารถแก้ไข ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในข้อมูลได้ทันทีโดยไม่ต้องส่งข้อมูลใหม่ 2) ความสมบูรณ์ครบถ้วนในการนาไปใช้งาน ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วน จัดเป็นข้อมูลที่ ด้อยคุณภาพได้เช่นกัน เช่น ข้อมูลประวัติคนไข้ หากไม่มีหมู่เลือดของคนไข้ จะไม่สามารถใช้ได้ในกรณีที่ ผู้ร้องขอข้อมูลต้องการข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้ หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า ที่กรอกผ่านแบบฟอร์ม ถ้ามีแต่ ชื่อและนามสกุลโดยไม่มีข้อมูล บ้านเลขที่ ถนน แขวง/ตาบล เขต/อาเภอ หรือจังหวัด ข้อมูลเหล่านั้นก็ไม่ สามารถนามาใช้ได้เช่นกัน 3) ความถูกต้องตามเวลา ในบางกรณีข้อมูลผูกอยู่กับเงื่อนไขของเวลา ซึ่งถ้าผิดจากเงื่อนไขของ เวลาไปแล้ว ข้อมูลนั้นอาจลดคุณภาพลงไป หรือแม้กระทั่งอาจไม่สามารถใช้ได้ เช่นข้อมูลการให้ยาของ คนไข้ในโรงพยาบาล ดังรูปที่ 2.11 ในทางการแพทย์แล้ว ข้อมูลจะต้องถูกใส่เข้าไปในฐานข้อมูลที่คนไข้ ได้รับยา เพื่อให้แพทย์คนอื่นๆ ได้ทราบว่า คนไข้ได้รับยาชนิดนี้เข้าไปแล้ว แต่ข้อมูลเรื่องการให้ยาของ คนไข้นี้ อาจไม่จาเป็นต้องได้รับการปรับทันทีสาหรับแผนกการเงิน เพราะทางแผนกการเงินจะคิดเงินก็ ต่อเมื่อญาติคนไข้มาตรวจสอบ หรือคนไข้กาลังจะออกจากโรงพยาบาล ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2
  • 3. ตัวอย่างข้อมูลการให้ยาคนไข้ในพยาบาล ข้อมูลการติดตามตาแหน่งของรถยนต์ด้วยระบบจีพีเอส สาหรับบริษัทที่ต้องทางานการติดตาม รถยนต์ ข้อมูลตาแหน่งรถยนต์ จะต้องได้รับการปรับให้เป็นจริงตลอดเวลา หากข้อมูลนั้นปรับทุกๆ หนึ่ง ชั่วโมงจะไม่มีประโยชน์ในการติดตามตาแหน่งของรถยนต์ ดังนั้นในเรื่องของความถูกต้องตามเวลาของ ข้อมูล จึงเป็นเรื่องสาคัญประการหนึ่งที่ต้องนามาพิจารณาเมื่อต้องมีการจัดเก็บ ข้อมูลหรือประมวลผล ข้อมูล ระบบติดตามรถยนต์ด้วยจีพีเอส 4) ความสอดคล้องกันของข้อมูล ในกรณีที่ข้อมูลมาจากหลายแหล่ง จะเกิดปัญหาขึ้นในเรื่องของ ความสอดคล้องกันของข้อมูล เช่น ในบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลที่อยู่ลูกค้า หากต้องการนาข้อมูลไป ควบรวมกับบริษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งมีข้อมูลของลูกค้าอยู่ เช่นกัน แต่ข้อมูลในการจัดส่งเอกสารของบริษัทแห่ง แรก เป็นที่อยู่ของที่พักอาศัยของลูกค้า ในขณะที่ข้อมูลในบริษัทที่สองเป็นที่อยู่ของสถานที่ทางานของ ลูกค้า ข้อมูลจากทั้งสองบริษัทเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง สอดคล้องตามเวลาทั้งคู่ แต่ถ้าต้องการเก็บข้อมูลที่อยู่ ลูกค้าเพียงที่อยู่เดียว ก็จะเกิดปัญหาขึ้นได้ ตัวอย่างของการไม่สอดคล้องกันของข้อมูล ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 3
  • 4. ตัวอย่างของการไม่สอดคล้องกับของข้อมูล 2. การจัดเก็บข้อมูล เมื่อเห็นความสาคัญของข้อมูลแล้ว ทาอย่างไรจึงจะเก็บรักษาข้อมูลเหล่านั้นให้คงอยู่ รวมถึงทาให้ สามารถประมวลผลข้อมูลนั้นได้อย่างรวดเร็ว โดยมากแล้วจะรวมไว้ในระบบฐานข้อมูล ซึ่งนามาใช้ใน การจัดเก็บ การเข้าถึง และการประมวลผล ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กรหรือหน่วยงาน เช่น  การจัดเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป็นกระดาษได้ รวมถึง การทาซ้าเพื่อสารองข้อมูล สามารถทาได้สะดวกและรวดเร็ว  การตอบสนองต่อความต้องการได้อย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวัติการบารุงรักษาของ รถยนต์ และข้อมูลประวัติคนไข้ ผู้ใช้ที่ต้องนาข้อมูลเหล่านี้ไปใช้งาน สามารถเข้าถึง ระบบฐานข้อมูลและนาข้อมูลที่ต้องการไปใช้ได้  การจากัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลให้แก่ผู้ใช้ในแต่ละระดับขององค์กร เช่น ผู้บริหาร สามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใช้ทั่วไปในแผนกการเงิน ไม่สามารถเข้าถึง ข้อมูลประวัติของฝ่ายบุคคลได้ เป็นต้น ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 4
  • 5. ข้อดีในการนาฐานข้อมูลไปใช้ในองค์กร 4.1 ลาดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูล ก่อนจะกล่าวถึงลาดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูลสิ่งแรกที่ ต้องกล่าวถึงก่อน คือ ลาดับชั้นล่างสุดของการแทนข้อมูล นั่นคือ การแทนข้อมูลด้วยตัวเลขฐานสอง ซึ่ง ประกอบด้วยตัวเลขสองตัว คือ ‘0’ และ ‘1’ ในทางคอมพิวเตอร์ จะเรียกตัวเลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ ว่า 1 บิต (bit) ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยเล็กที่สุดของข้อมูล และหากนาบิตมาต่อกันจานวน 8 บิต จะเรียกว่า 1 ไบต์ (byte) ตัวอย่างการแทนข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 5
  • 6. 1) เขตข้อมูล (field) เมื่อนาข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ต้องการเก็บใน ฐานข้อมูลเราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความ หมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มีความหมาย ในฐานข้อมูลนี้เรียกว่า เขตข้อมูล โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้  จานวนเต็ม (integer) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด 32 บิต ซึ่งขนาดของ ตัวเลขนี้อาจเปลี่ย นแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลขฐานสอง ขนาด 32 บิ ต สามารถแทนตั ว เลขจ านวนเต็ ม ได้ ตั้ ง แต่ -2,147,483,648 ถึ ง 2,147,483,647 ( -231 ถึง 231 -1) แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไว้ว่า เป็นตัวเลขจานวนเต็มไม่ ระบุ เ ครื่ อ งหมาย (unsigned integer) เท่ า นั้ น จะสามารถแทนตั ว เลขจ านวนเต็ ม ได้ ตั้งแต่ 0 ถึง 4,294,967,295 (232 -1)  จานวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์จะเก็บตัวเลขทศนิยม โดยใช้ระบบ โฟลททิงพอยต์ (floating point) ซึ่งการเก็บในลักษณะนี้ ไม่มีการกาหนดตาแหน่งตายตัว สาหรับตาแหน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 บิต และ 64 บิต  ข้อความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็นรหัสซึ่งใช้แทนตัว อักขระแต่ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใช้เป็นรหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่ง ต่อมามีการใช้รหัสแบบยูนิโคด (Unicode) ที่สามารถแทนภาษาได้หลายภาษามากกว่า รหัสแอสกี ความยาวของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจานวนตัวอักขระในข้อความ  วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวันเวลา เช่น วันที่เริ่มใช้งาน วันลงทะเบียน และซื้อ สินค้า มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวัน เวลา เพื่อเขตข้อมูลที่ต้องการเก็บข้อมูลเป็นเวลา  ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใช้เก็บไฟล์รูปภาพหรือไฟล์อื่น ๆ ซึ่งเขตข้อมูล ประเภท เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภท อื่นๆ โดยเขตข้อมูลจะเก็บข้อมูลในลักษณะเป็นบิตเรียงต่อกัน ตัวอย่างการกาหนดชื่อและขนาดของเขตข้อมูล 2) ระเบียน (record) คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วนอาจจะ เป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วยโครงสร้างเขตข้อมูลที่เหมือนกัน ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 6
  • 7. เกร็ดน่ารู้ การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขจานวนจริงเครื่องคอมพิวเตอร์จะเก็บตามมาตรา IEEE 754 ซึ่ง ตัวอย่างของการเก็บข้อมูลจะเป็นดังนี้ 20.65625 เมื่อเปลี่ยนแปลงเป็นฐานสองจะได้ 10100.10101 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0100.10101 x 24 จะถูกเก็บเป็นระเบียน ตัวอย่างระเบียน 3) ตาราง (table) คื อ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูล ในแต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆ ระเบียน แต่ละระเบียนจะมีโครงสร้างเหมือนกันใน ตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูลหลายระเบียนแล้ว ยังสามารถอ้างถึงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย ตัวอย่างตารางข้อมูลนักเรียน 4) ฐานข้อมูล (database) เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตารางเข้าไว้ด้วยกัน ตามตารางจะมี ความสัมพันธ์กันโดยใช้เขตข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือนกันเป็น ตัวเชื่อมโยงระหว่างบางตารางอาจเป็น ตารางที่เก็บข้อมูลไว้เฉพาะของตนเองโดย ไม่เกี่ยวข้องกับตารางอื่นบางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับเขต ข้อมูลของตารางอื่นๆ ตัวอย่างรูปของฐานข้อมูล ซึ่งเป็นฐานข้อมูลเก็บข้อมูลของนักเรียน มีตารางหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูล นักเรียน โดยมีเขตข้อมูลเป็น รหัสนักเรียน ชื่อ นามสกุล และที่อยู่ ตารางหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลสุขภาพของ นักเรียน โดยมีเขตข้อมูลเป็น รหัสนักเรียน ส่วนสูง และวันที่เก็บข้อมูล (วันที่วัด) ครูปิยะดนัย วิเคียน โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 7