SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 11
Baixar para ler offline
เสนอ
            อ.ปิยวรรณ    รัตนภานุศร
                    สมาชิก
  1.น.ส.ยุวภรณ์  สายบัวทอง ม.4/2 เลขที่ 21
2.น.ส.พิชญานิษฐ์ กิตติเชาวนันท์ ม.4/2 เลขที่ 33
   ไมโครเวฟ (microwave) เป็นคลื่นความถีวิทยุชนิดหนึงที่มีความถี่อยู่
                                        ่           ่
    ระหว่าง 0.3 GHz - 300GHz ส่วนในการใช้งานนั้นส่วนมากนิยมใช้
    ความถี่ระหว่าง 1GHz - 60GHz เพราะเป็นย่านความถี่ทสามารถผลิตขึ้น
                                                      ่ี
    ได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
   ในปี ค.ศ. 1932 โดยความบังเอิญของนักวิศวกรวิทยุ (Radio Engineer), คาร์ล แจงสกี
    (Carl Jansky) ในขณะที่เขาทดลองสายอากาศวิทยุที่ประดิษฐ์ขึ้น พบว่ามีสัญญาณ
    รบกวนที่เปลี่ยนแปลงไปพร้อม ๆ กับการขึ้นตกของดาว ทาให้เขาค้นพบว่าเป็นสัญญาณ
    ที่มาจากนอกโลก คือ สัญญาณวิทยุจากกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรานั่นเอง
   ในปี ค.ศ.1940 ของสองนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษ คือ จอห์น แรนดอลล์และ เอช เอ บู๊ตได้
    ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่เรียกกันว่า "แม็กนีตรอน" ใช้ผลิตพลังงานไมโครเวฟ ซึ่งเป็นการแผ่
    รังสีคลื่นสั้นรูปแบบหนึ่ง โดยจุดประสงค์ครั้งแรกคือ ใช้ในการปรับปรุงระบบเรดาร์ที่ใช้
    ในสงครามโลกครั้งที่ 2เปอร์ซี่ เลอ บารอน สเปนเซอร์ เป็นนักฟิสิกส์ที่ทางานให้กับ
    บริษัท เรทีออน ผู้ผลิตอุปกรณ์เรดาร์ เขาพบว่า เมื่อเขาใช้เครื่องแม็กนีตรอน รังสีทได้ให้
                                                                                    ี่
    ความร้อนออกมาด้วย เขาจึงหาวิธีที่จะนาเอาความร้อนนี้มาใช้ ในไม่ช้าเขาก็ใช้แม็กนีต
    รอนละลายช็อกโกเล็ตและทาข้าวโพดคั่วของเขา
   เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่ขั้วลบของแมกนีตรอน ก็จะปล่อยอนุภาคไฟฟ้าหรือ
    อิเล็กตรอนออกมา อิเล็กตรอนจะวิ่งเข้าหาทรงกระบอกกลวงซึ่งภายในเซาะเป็นร่อง
    ยาวไว้ ทรงกระบอกนี้ล้อมอยู่รอบขั้วลบ และทาหน้าที่เป็นขั้วบวก ขณะเดียวกัน
    สนามแม่เหล็กจากขั้วแม่เหล็ก ประกอบกับลักษณะช่องว่างเป็นร่องยาวจะส่งผลให้เกิด
    แรงผลักดันอิเล็กตรอนให้วิ่งเป็นวงกลมรอบขั้วลบ เกิดสภาพเหมือนกับมีกระแสไฟฟ้า
    ไหลกลับไปกลับมาอย่างรวดเร็ว ซึ่งผลที่ได้ก็คือจะเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (เส้นที่มี
    ลักษณะเป็นคลื่น) ที่มีอตราการเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมาเท่ากันจากนั้นก้านส่งคลื่น
                           ั
    ก็จะส่งคลื่นเข้าสูท่อนาคลื่นต่อไป (ทิศทางตามลูกศร)
                       ่
              เนื่องจากความถีไมโครเวฟสามารถนาไปใช้งานได้กว้างขวาง แต่ในบทความ
                             ่
    ต่อไปนีจะกล่าวถึงการนาไปใช้กบวิทยุสื่อสาร
            ้                        ั
   เช่นเดียวกับลักษณะทั่วไปของคลื่น คลื่นวิทยุไมโครเวฟจะมีลักษณะดังต่อไปนี้
    1.เดินทางเป็นเส้นตรง
    2.สามารถหักเหได้ (Refract)
    3.สามารถสะท้อนได้ (Reflect)
    4.สามารถแตกกระจายได้ (Diffract)
    5.สามารถถูกลดทอนเนื่องจากฝน (Attenuate)
    6.สามารถถูกลดทอนเนื่องจากชั้นบรรยากาศ
   เป็นการส่งคลื่นสัญญาณไมโครเวฟผ่านชั้นบรรยากาศในลักษณะเป็นเส้นตรง (Line
    of Sight Transmission) หรือส่งคลื่นสัญญาณวิทยุความเร็วสูงระหว่างภาคพื้นบน
    โลก ต้องไม่มสงกีดขวาง เช่น ตึก หรือภูเขา สามารถส่งสัญญาณได้ไกลระหว่าง
                 ี ิ่
    สถานีประมาณ 30 ไมล์ ส่วนใหญ่สถานีไมโครเวฟจะตังอยูบนภูเขาสูงหรืออาคารสูง
                                                      ้ ่
    การส่งคลื่นสัญญาณไมโครเวฟที่สามารถพบได้ในปัจจุบนได้แก่ ระบบกระจายเสียง
                                                       ั
    วิทยุคลื่นไมโครเวฟมีความถี่ต้งแต่ 30 MHz ถึง 30 GHz ส่วนความนิยมในการใช้
                                 ั
    งานด้านการสื่อสารคอมพิวเตอร์ยังมีอยู่ในระดับกลาง โดยเฉพาะระบบการเชื่อมต่อ
    ในเมืองหลวงหรือเมืองใหญ่ (Metropolitan Area Network : MAN)
   ในการใช้งานคลื่นไมโครเวฟนั้นก็จะแบ่งการใช้งานได้ดังนี้
            1.ระบบเชื่อมต่อสัญญาณในระดับสายตา ใช้ในงานสื่อสารโทรคมนาคมระหว่าง
    จุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง อย่างเช่น การโทรศัพท์ทางไกล ใช้การส่งผ่านสัญญาณโทรศัพท์
    จากจุดหนึ่ง ไปยังสถานีทวนสัญญาณจากจุดหนึ่งและส่งผ่านสัญญาณไปเรื่อยๆ จนถึง
    ปลายทาง
            2.ระบบเหนือขอบฟ้า ซึ่งเป็นระบบสื่อสารไมโครเวฟที่ใช้ชั้นบรรยากาศห่อหุ้ม
    โลก ชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยในการสะท้อนและหักเหคลื่นความถีไมโครเวฟ ให้ไปถึง
                                                               ่
    ปลายทาง ให้ได้ระยะทางมากขึ้น การใช้ในรูปแบบนี้ไม่ค่อยนิยมเท่าไรหรอกจะใช้
    เฉพาะในกรณีทจาเป็นเท่านั้น
                    ี่
   3.ระบบดาวเทียม เป็นการใช้สถานีทวนสัญญาณลอยอยู่เหนือพื้นโลกกว่า 30,000
    กิโลเมตร โดยการใช้ดาวเทียมทาหน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณการใช้ระบบนี้สามารถ
    ทาการสื่อสารได้ไกลมากๆ ได้ ซึ่งเป็นระบบที่นยมใช้ระบบหนึ่งในปัจจุบัน นิยมใช้มาก
                                                 ิ
             4.ระบบเรดาร์ ระบบนีจะเป็นการใช้ไมโครเวฟ ในการตรวจจับวัตถุต่างโดย
                                  ้
    การส่งคลื่นไมโครเวฟออกไป ในมุมแคบ แล้วไปกระทบวัตถุที่อยูไกลออกไป และ
                                                                ่
    จากนั้นคลื่นก็จะสะท้อนกลับมาแล้วนาสัญญาณที่ได้รับเทียบกับสัญญาณเดิม แล้วเรา
    ค่อยนาไปแปรค่าเป็นข้อมูลต่างๆ อีกที
             5.ระบบเตาไมโครเวฟ ระบบนี้เป็นการส่งคลื่นไมโครเวฟ ที่มีกาลังสูงส่งใน
    พื้นที่แคบๆ ที่ทาด้วยโลหะ คลื่นไมโครเวฟนี้ก็จะสะท้อนโลหะนั้นทาให้มีคลื่นไมโครเวฟ
    กระจัดกระจายอยู่พื้นที่นั้นสามารถ นาไปใช้ในการทาอาหารได้
   สถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟที่ Wrights Hill
    เมือง Wellington ประเทศนิวซีแลนด์การ
    สื่อสารไมโครเวฟ วิธีที่นิยมใช้กันมากก็คือการ
    สื่อสารในระดับสายตา ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
    ข่าวสารในปริมาณมากๆ เส้นทางในการสื่อสาร
    นี้จะประมาณ 50-80 กิโลเมตร และไม่มสิ่งกีด
                                          ี
    ขวาง แต่ถ้าต้องการสื่อสารในระยะไกลกว่านี้
    จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณเพื่อ ให้รับสัญญาณ
    และทาการขยายแล้วส่งสัญญาณต่อไป จนถึง
    ปลายทางได้
   1.คุณสมบัติการกระจายคลื่นไมโครเวฟคงที่
    2.ทิศทางของสายอากาศเป็นแนวพุ่งตรงไปในทิศทางที่ต้องการ
    3.อัตราขยายสัญญาณของสายอากาศสูง
    4.สามารถทาให้อตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น คือมีสัญญาณรบกวน
                      ั
    เกิดขึ้นน้อย
    5.สามารถส่งคลื่นได้ในย่านกว้างเพราะคลื่นมีความถีสูงมาก
                                                        ่
    6.เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือสูงในการใช้งาน
    7.ปลอดภัยจากการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น น้าท่วม แผ่นดินไหว
    8.การรบกวนที่เกิดจากมนุษย์ทาขึ้นมีน้อย เช่น อุบัติเหตุ การก่อสร้าง ไฟไหม้
    8.การก่อสร้างทาได้ง่าย และเร็ว
    9.สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างน้อย ใช้ค่าใช้จ่ายน้อยแต่คุณภาพสูง
   1.จงบอกข้อดีของการใช้คลื่นวิทยุมา 3 ข้อ
   2.วิธีที่นิยมใช้มากในการสื่อสาร คือ?
   3.เราสามารถส่งสัญญาณได้ไกลระหว่างสถานีประมาณกี่ไมล์?
   4.คลื่นไมโครเวฟเป็นคลื่นความถีวิทยุที่มีความถีอยู่ระหว่างเท่าไหร่?
                                    ่             ่

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
Guntima NaLove
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริงโครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
Wichai Likitponrak
 

Mais procurados (20)

แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
4. to use sequence and series
4. to use sequence and series4. to use sequence and series
4. to use sequence and series
 
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริงโครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
โครงงานประดิษฐ์ระดับนำ้จริง
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 

Destaque

คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
Peerapas Trungtreechut
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
Supanut Maiyos
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
Somporn Laothongsarn
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
Mullika Pummuen
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
Pram Pu-ngoen
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
Krittapas Rodsom
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
Apinya Singsopa
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลต
Dashodragon KaoKaen
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
Somporn Laothongsarn
 
Dhcf strategic planfy12-14
Dhcf strategic planfy12-14Dhcf strategic planfy12-14
Dhcf strategic planfy12-14
bidemi83
 
Guidelines for better photographic composition
Guidelines for better photographic compositionGuidelines for better photographic composition
Guidelines for better photographic composition
masotrg
 
DIFICULTADES DE ADAPTACION EN LA SOCIEDAD
DIFICULTADES DE ADAPTACION EN LA SOCIEDADDIFICULTADES DE ADAPTACION EN LA SOCIEDAD
DIFICULTADES DE ADAPTACION EN LA SOCIEDAD
Leo Acosta Vergel
 
lbc_2012_uni
lbc_2012_unilbc_2012_uni
lbc_2012_uni
laidin
 
La connexió inal·làmbrica
La connexió inal·làmbricaLa connexió inal·làmbrica
La connexió inal·làmbrica
egx1997
 

Destaque (20)

คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003คลื่น ไมโครเวฟ 2003
คลื่น ไมโครเวฟ 2003
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
คลื่นไมโครเวฟ (สุพิชชา มัลลิกา) 407
 
ไมโครเวฟ
ไมโครเวฟไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ
 
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
อินฟาเรด(กฤตภาส วรกฤต)-406
 
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
คลื่นวิทยุ(อภิญญา+จินต์จุฑา)401
 
รังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีอัลตราไวโอเลต
รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
Dhcf strategic planfy12-14
Dhcf strategic planfy12-14Dhcf strategic planfy12-14
Dhcf strategic planfy12-14
 
Portfolio two
Portfolio twoPortfolio two
Portfolio two
 
Portfolio one
Portfolio onePortfolio one
Portfolio one
 
Guidelines for better photographic composition
Guidelines for better photographic compositionGuidelines for better photographic composition
Guidelines for better photographic composition
 
DIFICULTADES DE ADAPTACION EN LA SOCIEDAD
DIFICULTADES DE ADAPTACION EN LA SOCIEDADDIFICULTADES DE ADAPTACION EN LA SOCIEDAD
DIFICULTADES DE ADAPTACION EN LA SOCIEDAD
 
lbc_2012_uni
lbc_2012_unilbc_2012_uni
lbc_2012_uni
 
Sasizientziak
SasizientziakSasizientziak
Sasizientziak
 
La connexió inal·làmbrica
La connexió inal·làmbricaLa connexió inal·làmbrica
La connexió inal·làmbrica
 

Semelhante a คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402

ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
Sawita Jiravorasuk
 
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
Niewkaryu Mungtavesinsuk
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
Jutapak Mahapaskorn
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
juneniezstk
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
untika
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Meaw Sukee
 
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
Nachi Montianarrt
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
Salin Satheinmars
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
Mrpopovic Popovic
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
Petch Tongthummachat
 
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
Phratsuda Somsuk
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
wattumplavittayacom
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
Pakawan Sonna
 

Semelhante a คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402 (20)

ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
ไมโครเวฟ(พิทักษ์พงษ์+สุทธวีร์)401
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
 
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.3 เทคโนโลยีการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
Rs
RsRs
Rs
 
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
คลื่นวิทยุ(สาริศา+สลิล)
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
คลื่นวิทยุ(วีรภัทร พาทิศ)402
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
ไมโครเวฟ(ภัทรสุดา+จิดาภา)406
 
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
นลิณีแซ่ฟุ้ง[ดาวเทียมสื่อสาร14.12.54]
 
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอมบทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 18 ฟิสิกส์อะตอม
 
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BMElectro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
Electro magnetic Waves Group 2 6/1 BM
 

คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402

  • 1. เสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร สมาชิก 1.น.ส.ยุวภรณ์ สายบัวทอง ม.4/2 เลขที่ 21 2.น.ส.พิชญานิษฐ์ กิตติเชาวนันท์ ม.4/2 เลขที่ 33
  • 2. ไมโครเวฟ (microwave) เป็นคลื่นความถีวิทยุชนิดหนึงที่มีความถี่อยู่ ่ ่ ระหว่าง 0.3 GHz - 300GHz ส่วนในการใช้งานนั้นส่วนมากนิยมใช้ ความถี่ระหว่าง 1GHz - 60GHz เพราะเป็นย่านความถี่ทสามารถผลิตขึ้น ่ี ได้ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
  • 3. ในปี ค.ศ. 1932 โดยความบังเอิญของนักวิศวกรวิทยุ (Radio Engineer), คาร์ล แจงสกี (Carl Jansky) ในขณะที่เขาทดลองสายอากาศวิทยุที่ประดิษฐ์ขึ้น พบว่ามีสัญญาณ รบกวนที่เปลี่ยนแปลงไปพร้อม ๆ กับการขึ้นตกของดาว ทาให้เขาค้นพบว่าเป็นสัญญาณ ที่มาจากนอกโลก คือ สัญญาณวิทยุจากกาแล็กซีทางช้างเผือกของเรานั่นเอง  ในปี ค.ศ.1940 ของสองนักประดิษฐ์ชาวอังกฤษ คือ จอห์น แรนดอลล์และ เอช เอ บู๊ตได้ ประดิษฐ์อุปกรณ์ที่เรียกกันว่า "แม็กนีตรอน" ใช้ผลิตพลังงานไมโครเวฟ ซึ่งเป็นการแผ่ รังสีคลื่นสั้นรูปแบบหนึ่ง โดยจุดประสงค์ครั้งแรกคือ ใช้ในการปรับปรุงระบบเรดาร์ที่ใช้ ในสงครามโลกครั้งที่ 2เปอร์ซี่ เลอ บารอน สเปนเซอร์ เป็นนักฟิสิกส์ที่ทางานให้กับ บริษัท เรทีออน ผู้ผลิตอุปกรณ์เรดาร์ เขาพบว่า เมื่อเขาใช้เครื่องแม็กนีตรอน รังสีทได้ให้ ี่ ความร้อนออกมาด้วย เขาจึงหาวิธีที่จะนาเอาความร้อนนี้มาใช้ ในไม่ช้าเขาก็ใช้แม็กนีต รอนละลายช็อกโกเล็ตและทาข้าวโพดคั่วของเขา
  • 4. เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลเข้าสู่ขั้วลบของแมกนีตรอน ก็จะปล่อยอนุภาคไฟฟ้าหรือ อิเล็กตรอนออกมา อิเล็กตรอนจะวิ่งเข้าหาทรงกระบอกกลวงซึ่งภายในเซาะเป็นร่อง ยาวไว้ ทรงกระบอกนี้ล้อมอยู่รอบขั้วลบ และทาหน้าที่เป็นขั้วบวก ขณะเดียวกัน สนามแม่เหล็กจากขั้วแม่เหล็ก ประกอบกับลักษณะช่องว่างเป็นร่องยาวจะส่งผลให้เกิด แรงผลักดันอิเล็กตรอนให้วิ่งเป็นวงกลมรอบขั้วลบ เกิดสภาพเหมือนกับมีกระแสไฟฟ้า ไหลกลับไปกลับมาอย่างรวดเร็ว ซึ่งผลที่ได้ก็คือจะเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (เส้นที่มี ลักษณะเป็นคลื่น) ที่มีอตราการเปลี่ยนแปลงกลับไปกลับมาเท่ากันจากนั้นก้านส่งคลื่น ั ก็จะส่งคลื่นเข้าสูท่อนาคลื่นต่อไป (ทิศทางตามลูกศร) ่ เนื่องจากความถีไมโครเวฟสามารถนาไปใช้งานได้กว้างขวาง แต่ในบทความ ่ ต่อไปนีจะกล่าวถึงการนาไปใช้กบวิทยุสื่อสาร ้ ั
  • 5. เช่นเดียวกับลักษณะทั่วไปของคลื่น คลื่นวิทยุไมโครเวฟจะมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1.เดินทางเป็นเส้นตรง 2.สามารถหักเหได้ (Refract) 3.สามารถสะท้อนได้ (Reflect) 4.สามารถแตกกระจายได้ (Diffract) 5.สามารถถูกลดทอนเนื่องจากฝน (Attenuate) 6.สามารถถูกลดทอนเนื่องจากชั้นบรรยากาศ
  • 6. เป็นการส่งคลื่นสัญญาณไมโครเวฟผ่านชั้นบรรยากาศในลักษณะเป็นเส้นตรง (Line of Sight Transmission) หรือส่งคลื่นสัญญาณวิทยุความเร็วสูงระหว่างภาคพื้นบน โลก ต้องไม่มสงกีดขวาง เช่น ตึก หรือภูเขา สามารถส่งสัญญาณได้ไกลระหว่าง ี ิ่ สถานีประมาณ 30 ไมล์ ส่วนใหญ่สถานีไมโครเวฟจะตังอยูบนภูเขาสูงหรืออาคารสูง ้ ่ การส่งคลื่นสัญญาณไมโครเวฟที่สามารถพบได้ในปัจจุบนได้แก่ ระบบกระจายเสียง ั วิทยุคลื่นไมโครเวฟมีความถี่ต้งแต่ 30 MHz ถึง 30 GHz ส่วนความนิยมในการใช้ ั งานด้านการสื่อสารคอมพิวเตอร์ยังมีอยู่ในระดับกลาง โดยเฉพาะระบบการเชื่อมต่อ ในเมืองหลวงหรือเมืองใหญ่ (Metropolitan Area Network : MAN)
  • 7. ในการใช้งานคลื่นไมโครเวฟนั้นก็จะแบ่งการใช้งานได้ดังนี้ 1.ระบบเชื่อมต่อสัญญาณในระดับสายตา ใช้ในงานสื่อสารโทรคมนาคมระหว่าง จุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง อย่างเช่น การโทรศัพท์ทางไกล ใช้การส่งผ่านสัญญาณโทรศัพท์ จากจุดหนึ่ง ไปยังสถานีทวนสัญญาณจากจุดหนึ่งและส่งผ่านสัญญาณไปเรื่อยๆ จนถึง ปลายทาง 2.ระบบเหนือขอบฟ้า ซึ่งเป็นระบบสื่อสารไมโครเวฟที่ใช้ชั้นบรรยากาศห่อหุ้ม โลก ชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยในการสะท้อนและหักเหคลื่นความถีไมโครเวฟ ให้ไปถึง ่ ปลายทาง ให้ได้ระยะทางมากขึ้น การใช้ในรูปแบบนี้ไม่ค่อยนิยมเท่าไรหรอกจะใช้ เฉพาะในกรณีทจาเป็นเท่านั้น ี่
  • 8. 3.ระบบดาวเทียม เป็นการใช้สถานีทวนสัญญาณลอยอยู่เหนือพื้นโลกกว่า 30,000 กิโลเมตร โดยการใช้ดาวเทียมทาหน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณการใช้ระบบนี้สามารถ ทาการสื่อสารได้ไกลมากๆ ได้ ซึ่งเป็นระบบที่นยมใช้ระบบหนึ่งในปัจจุบัน นิยมใช้มาก ิ 4.ระบบเรดาร์ ระบบนีจะเป็นการใช้ไมโครเวฟ ในการตรวจจับวัตถุต่างโดย ้ การส่งคลื่นไมโครเวฟออกไป ในมุมแคบ แล้วไปกระทบวัตถุที่อยูไกลออกไป และ ่ จากนั้นคลื่นก็จะสะท้อนกลับมาแล้วนาสัญญาณที่ได้รับเทียบกับสัญญาณเดิม แล้วเรา ค่อยนาไปแปรค่าเป็นข้อมูลต่างๆ อีกที 5.ระบบเตาไมโครเวฟ ระบบนี้เป็นการส่งคลื่นไมโครเวฟ ที่มีกาลังสูงส่งใน พื้นที่แคบๆ ที่ทาด้วยโลหะ คลื่นไมโครเวฟนี้ก็จะสะท้อนโลหะนั้นทาให้มีคลื่นไมโครเวฟ กระจัดกระจายอยู่พื้นที่นั้นสามารถ นาไปใช้ในการทาอาหารได้
  • 9. สถานีรับส่งสัญญาณไมโครเวฟที่ Wrights Hill เมือง Wellington ประเทศนิวซีแลนด์การ สื่อสารไมโครเวฟ วิธีที่นิยมใช้กันมากก็คือการ สื่อสารในระดับสายตา ใช้ในการสื่อสารข้อมูล ข่าวสารในปริมาณมากๆ เส้นทางในการสื่อสาร นี้จะประมาณ 50-80 กิโลเมตร และไม่มสิ่งกีด ี ขวาง แต่ถ้าต้องการสื่อสารในระยะไกลกว่านี้ จะต้องมีสถานีทวนสัญญาณเพื่อ ให้รับสัญญาณ และทาการขยายแล้วส่งสัญญาณต่อไป จนถึง ปลายทางได้
  • 10. 1.คุณสมบัติการกระจายคลื่นไมโครเวฟคงที่ 2.ทิศทางของสายอากาศเป็นแนวพุ่งตรงไปในทิศทางที่ต้องการ 3.อัตราขยายสัญญาณของสายอากาศสูง 4.สามารถทาให้อตราส่วนของสัญญาณต่อสัญญาณรบกวนดีขึ้น คือมีสัญญาณรบกวน ั เกิดขึ้นน้อย 5.สามารถส่งคลื่นได้ในย่านกว้างเพราะคลื่นมีความถีสูงมาก ่ 6.เครือข่ายมีความน่าเชื่อถือสูงในการใช้งาน 7.ปลอดภัยจากการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น น้าท่วม แผ่นดินไหว 8.การรบกวนที่เกิดจากมนุษย์ทาขึ้นมีน้อย เช่น อุบัติเหตุ การก่อสร้าง ไฟไหม้ 8.การก่อสร้างทาได้ง่าย และเร็ว 9.สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างน้อย ใช้ค่าใช้จ่ายน้อยแต่คุณภาพสูง
  • 11. 1.จงบอกข้อดีของการใช้คลื่นวิทยุมา 3 ข้อ  2.วิธีที่นิยมใช้มากในการสื่อสาร คือ?  3.เราสามารถส่งสัญญาณได้ไกลระหว่างสถานีประมาณกี่ไมล์?  4.คลื่นไมโครเวฟเป็นคลื่นความถีวิทยุที่มีความถีอยู่ระหว่างเท่าไหร่? ่ ่