SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 43
การเปรียบเทียบปริมาณแคลเซียมที่พบในเปลือกหอยสายพันธุ์  Meretrix lusoria   และ  Arca granulosa   โดยเทคนิค  Spectrophotometry  และเทคนิคการไตเตรทด้วย  EDTA Arca granulosa   ( หอยแครง ) Meretrix lusoria   ( หอยตลับ )
ผู้จัดทำโครงงาน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ความสำคัญและที่มาของโครงงาน ,[object Object],[object Object]
จุดประสงค์ ,[object Object],[object Object]
คำอธิบายสัญลักษณ์ ,[object Object],[object Object]
วิธีดำเนินงาน ,[object Object],ล้างเปลือกหอยแครงและเปลือกหอยตลับด้วยน้ำให้สะอาด และผึ่งให้เปลือกหอยแห้ง คัดเลือกและแยกเปลือกหอยโดยใช้เวอร์เนีย คาลิปเปอร์ ตามขนาดดังนี้
วิธีดำเนินงาน เปลือกหอยแครงแยกเป็น  3  ขนาด คือ ขนาดเล็ก  มีขนาด  2.70-3.00 cm ขนาดกลาง  มีขนาด  3.00-3.30 cm ขนาดใหญ่  มีขนาด  3.30-3.60 cm เปลือกหอยตลับแยกเป็น  3  ขนาด คือ ขนาดเล็ก  มีขนาด  4.90-5.20 cm ขนาดกลาง มีขนาด  5.20-5.60 cm ขนาดใหญ่ มีขนาด  5.60-6.00 cm
วิธีดำเนินงาน จัดกลุ่มเปลือกหอยในแต่ละกลุ่มขนาด ออกเป็นชุด ชุดละ  4  ฝา  นำแต่ละชุดไปชั่งน้ำหนักและบันทึกผล นำเปลือกหอยแต่ละชุดใส่ท่อ ปิดฝาเกลียว แล้วเผาจนกว่าจะเผาไหม้สมบูรณ์ คือ มีน้ำหนักคงที่ ซึ่งเป็นน้ำหนักของสารอนินทรีย์
ผลการทดลอง หอยแครง 21.04 L3 28.38 L2 26.65 30.53 L1 13.19 M3 7.75 M2 13.28 18.89 M1 43.83 S3 55.27 S2 49.74 50.12 S1 %  ที่สูญเสียเฉลี่ย %  ที่สูญเสียไป ชุด หอยตลับ 4.87 L3 6.42 L2 6.65 8.65 L1 9.17 M3 43.17 M2 24.22 20.32 M1 45.96 S3 55.19 S2 49.72 48.02 S1 %  ที่สูญเสียเฉลี่ย %  ที่สูญเสียไป ชุด
วิธีดำเนินงาน ,[object Object],เตรียมสารละลาย  AMP Buffer pH 10.7 (2-amino-2-methyl-1-propanol) ผสม  AMP 37.8 mL  กับน้ำกลั่น  150 mL  ปรับ  pH  จนมีค่าประมาณ  10.7  ด้วย  pH meter  โดยใช้  6M HCl  เติมน้ำกลั่นจนปริมาตรรวมเป็น  250 mL  ขั้นตอนที่  1  การเตรียมสารละลาย
วิธีดำเนินงาน ผสม  conc.HCl 15 mL  กับน้ำ กลั่น  25 mL  ในขวดวัดปริมาตรขนาด  250 mL  ชั่งน้ำหนัก  o- Cresolphthalein complexone   25 mg  เติมลงในขวดวัดปริมาตรข้างต้น  คนให้สารละลายเข้ากัน  จากนั้นชั่งน้ำหนัก  8-Hydroxy-quinoline 250 mg  เติมลงในขวดวัดปริมาตร แล้วเติมน้ำกลั่นจนมีปริมาตรรวมเป็น  250 mL  เตรียมสารละลาย  Color Reagent
วิธีดำเนินงาน ,[object Object],เตรียมสารละลาย  Calcium Standard ,[object Object],[object Object],[object Object]
วิธีดำเนินงาน เตรียมสารละลายจากเปลือกหอย ชั่งน้ำหนักเปลือกหอยแต่ละชุด  0.1 g  เติมกรด  6M HCl  จนกระทั่งเปลือกหอย ละลายหมด แล้วปรับปริมาตรเป็น  100 mL
วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่  2  การหาสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของแคลเซียม การหาสภาวะที่เหมาะสมในการทำปฏิกิริยาระหว่าง  AMP Buffer  กับ  Color Reagent แบ่งช่วงเวลาในการผสมสารทั้งสองเบื้องต้นเป็น  5   นาที ,  10  นาที ,  15   นาที ,  และ  20   นาที ตามลำดับ และนำค่า  ABS  ที่ได้มาสร้างกราฟเพื่อดูแนวโน้มช่วงเวลาที่ดีที่สุด เปลี่ยน ช่วงเวลาในการผสมสารเป็น  5   นาที ,  6  นาที ,  7   นาที ,  และ  8   นาที , 9   นาที , 10   นาที  ตามลำดับ และนำค่า  ABS  ที่ได้มาสร้างกราฟเพื่อดูแนวโน้มช่วงเวลาที่ดีที่สุด *** ให้ชุด  Blank  ของการทดลอง คือการผสม  AMP Buffer  และ  Color Reagent 1  นาที ***
วิธีดำเนินงาน แบ่งช่วงเวลาในการผสมสารเป็น  40   วินาที ,  50  วินาที ,  60   วินาที ,  70  วินาทีและ  80   วินาที ตามลำดับ และนำค่า  ABS  ที่ได้มาสร้างกราฟเพื่อดูแนวโน้มช่วงเวลาที่ดีที่สุด   *** กำหนดให้ชุด   Blank  ของการทดลอง เป็นการผสม  AMP Buffer ,  Color Reagent  และสารละลายแคลเซียม  30  วินาที *** ,[object Object],[object Object]
ผลการทดลอง สภาวะที่เหมาะสมที่ได้คือ ต้องผสมสารระหว่าง  AMP Buffer  กับ  Color Reagent  ให้สารทั้งสองนี้ทำปฏิกิริยากันให้อยู่ในช่วงเวลา  5-10  นาที  จากนั้นจึงใส่สารละลายแคลเซียมลงไปทิ้งไว้  50  วินาที แล้วรีบนำไปตรวจวัดด้วยเครื่อง  Spectrophotometer
วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่  3  การทำ  Standard Curve ,[object Object],[object Object],[object Object],4.1 4.1 4.1 4.1 4.1 Total - 0.1 2.0 2.0 - 0.1 2.0 2.0 - 0.1 2.0 2.0 - 0.1 2.0 2.0 0.1 - 2.0 2.0 Distilled water (mL) Calcium standard (mL) Buffer (mL) Color reagent (mL) 0.03125 M 0.0625 M 0.125 M 0.25 M Blank Solutions:
วิธีดำเนินงาน ,[object Object],[object Object],[object Object]
ผลการทดลอง กราฟมาตรฐาน
วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่  4  การวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียมที่พบ ในเปลือกหอยแครงและเปลือกหอยตลับ 4.1 Total - 0.1 2.0 2.0 Distilled water  Test sample  Buffer  Color reagent  Volume (mL) Solutions:
วิธีดำเนินงาน ,[object Object],[object Object],[object Object]
ผลการทดลอง ,[object Object]
ผลการทดลอง หอยแครง หอยตลับ 31.22 0.3122 L3 32.73 0.3273 L3 28.55 0.2855 L2 37.31 0.3731 L2 27.95 0.2795 L1 34.96 0.3496 L1 69.40 0.6940 M3 30.60 0.3060 M3 65.16 0.6516 M2 31.15 0.3115 M2 55.08 0.5508 M1 32.00 0.3200 M1 43.76 0.4376 S3 56.56 0.5656 S3 51.92 0.5192 S2 58.28 0.5828 S2 41.84 0.4184 S1 60.20 0.6020 S1 % Ca  ที่พบ ในเปลือกหอย ในเปลือกหอย  1.000 g พบปริมาณ  Ca (g) ชุด % Ca  ที่พบ ในเปลือกหอย ในเปลือกหอย  1.000 g พบปริมาณ  Ca (g) ชุด
วิธีดำเนินงาน ,[object Object],ขั้นตอนที่  1  การเตรียมสารละลาย เตรียมสารละลาย  Buffer ชั่งน้ำหนัก  Ammonium chloride 7 g  วัดปริมาตร  conc. Ammonium hydroxide 56.8 mL  ปรับปริมาตรเป็น  100 mL   ด้วยน้ำกลั่น
วิธีดำเนินงาน เตรียมสารละลาย  Calcium Standard ชั่งน้ำหนัก  Calcium carbonate   0.1 g  เติม  6M HCl  จนกระทั่ง  Calcium carbonate  ละลายหมด จากนั้นปรับปริมาตรสารละลายจนเป็น  100 mL เตรียมสารละลาย  EDTA ชั่งน้ำหนัก  Disodium EDTA 3.723 g  ละลายในน้ำกลั่น ปรับปริมาตรเป็น  1,000 mL
วิธีดำเนินงาน เตรียมสารละลายจากเปลือกหอย ชั่งน้ำหนักเปลือกหอยแต่ละชุด  0.1 g  เติมกรด  6M HCl  จนกระทั่งเปลือกหอยละลายหมด แล้วปรับปริมาตรเป็น  100 mL
วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่  2  การหาความเข้มข้น  EDTA   ก่อนทำการทดลองโดยใช้  EDTA  จะต้องหาความเข้มข้นที่แน่นอนของ  EDTA  ก่อน โดยไตเตรทกับสารละลาย  Calcium Standard   ปิเปตสารละลาย  Calcium Standard   15 mL  ผสมน้ำกลั่นลงไป  30 mL  ลงในขวดรูปชมพู่ขนาด  250 mL เติมสารละลาย  Buffer 2 mL  จากนั้นควรรีบทำการไตเตรทภายใน  15  นาที  หลังจากเติมสารละลาย  Buffer  แล้ว
วิธีดำเนินงาน หยด  Eriochrome Black T indicator   ลงไป  4  หยด ไตเตรทด้วย  EDTA  โดยที่จุดยุติ สารละลายจะเปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีฟ้าอ่อน ทำการทดลองซ้ำอีก  2  ครั้ง
วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่  3  การวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียมที่พบ ในเปลือกหอยแครงและเปลือกหอยตลับ   ปิเปตสารละลายจากเปลือกหอย  15 mL  ผสมน้ำกลั่นลงไป  30 mL  ลงในขวดรูปชมพู่ขนาด  250 mL  เติมสารละลาย  Buffer 2 mL  จากนั้นควรรีบทำการไตเตรทภายใน  15  นาที หลังจากเติมสารละลาย  Buffer  แล้ว หยด  Eriochrome Black T indicator   ลงไป  4  หยด
วิธีดำเนินงาน ไตเตรทด้วย  EDTA  โดยที่จุดยุติ สารละลายจะเปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีฟ้าอ่อน   ทำการทดลองซ้ำอีก  2  ครั้ง
ผลการทดลอง ,[object Object]
ผลการทดลอง หอยแครง หอยตลับ 46.0 0.460 L3 42.4 0.424 L3 49.6 0.496 L2 52.4 0.524 L2 50.0 0.500 L1 50.0 0.500 L1 66.8 0.668 M3 42.8 0.428 M3 65.6 0.656 M2 45.2 0.452 M2 52.0 0.520 M1 48.4 0.484 M1 62.0 0.620 S3 62.0 0.620 S3 62.0 0.620 S2 66.8 0.668 S2 50.4 0.504 S1 68.0 0.680 S1 % Ca  ที่พบ ในเปลือกหอย ในเปลือกหอย  1.000 g พบปริมาณ  Ca (g) ชุด % Ca  ที่พบ ในเปลือกหอย ในเปลือกหอย  1.000 g พบปริมาณ  Ca (g) ชุด
วิธีดำเนินงาน ,[object Object],ขั้นตอนที่  1  การเตรียมสารละลาย เตรียมสารละลาย   Calcium carbonate ชั่งน้ำหนัก  Calcium carbonate 0.05 g  เติม  6M HCl  จนกระทั่ง  Calcium carbonate  ละลายหมด จากนั้นปรับปริมาตรสารละลายจนเป็น  100 mL
วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่  2  การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียม  โดยเทคนิค  Spectrophotometry  และการไตเตรทด้วย  EDTA   นำสารละลายแคลเซียมที่เตรียมไว้ในขั้นตอนที่แล้วมาทดสอบ ด้วยวิธี  Spectrophotometry  ตามขั้นตอนข้อ  3.3.2   การทดลองที่  1 นำสารละลายแคลเซียมที่เตรียมไว้ในขั้นตอนที่แล้วมาทดสอบด้วยวิธี ไตเตรทด้วย  EDTA  ตามขั้นตอนข้อ  3.3.3   การทดลองที่  2
ผลการทดลอง ,[object Object],69.6 0.0348 0.0500 Spectrophotometry 46.6 0.0233 0.0500 ไตเตรทด้วย  EDTA  %  ที่วัดได้ ปริมาณแคลเซียมที่วัดได้   (g) ปริมาณแคลเซียมที่ใช้   (g) เทคนิค
สรุปผลการทดลอง ,[object Object],เทคนิค  Spectrophotometry  สามารถวัดปริมาณแคลเซียมได้มากกว่า การไตเตรทด้วย  EDTA  เทคนิค Spectrophotometry  มีร้อยละผลที่ได้ คือ  69.74   ซึ่งมากกว่า การไตเตรทด้วย  EDTA  ที่มีร้อยละผลที่ได้ คือ  46.62
ผลการทดลอง 46.0 31.22 L3 42.4 32.73 L3 49.6 28.55 L2 52.4 37.31 L2 50.0 27.95 L1 50.0 34.96 L1 66.8 69.40 M3 42.8 30.60 M3 65.6 65.61 M2 45.2 31.15 M2 52.0 55.08 M1 48.4 32.00 M1 62.0 43.76 S3 62.0 56.56 S3 62.0 51.92 S2 66.8 58.28 S2 50.4 41.84 S1 68.0 60.20 S1 Titration Spectrophotometry Titration Spectrophotometry %   Ca  ที่พบในเปลือกหอย ชุด %   Ca  ที่พบในเปลือกหอย ชุด หอยแครง หอยตลับ
ผลการทดลอง
สรุปผลการทดลอง ,[object Object],[object Object],ทั้งสองวิธีให้ผลที่สอดคล้องกัน คือ พบปริมาณแคลเซียมในเปลือกขนาดเล็กมากกว่า เปลือกขนาดใหญ่
สรุปผลการทดลอง ,[object Object],ทั้งสองวิธีให้ผลที่สอดคล้องกัน คือ พบปริมาณแคลเซียมในเปลือกขนาดกลาง มากกว่าเปลือกขนาดใหญ่และขนาดเล็ก
ประโยชน์ของแคลเซียม ,[object Object],[object Object]
บรรณานุกรม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Quantitative comparison of calcium levels in  Meretrix lusoria  and  Arca granulosa  using spectrophotometric method and the method of titration with EDTA   Arca granulosa   ( หอยแครง ) Meretrix lusoria   ( หอยตลับ )

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Project (7)

Lab 9 protein estimation biuret method
Lab 9 protein estimation   biuret methodLab 9 protein estimation   biuret method
Lab 9 protein estimation biuret method
 
Project Presentation
Project  PresentationProject  Presentation
Project Presentation
 
Project Presentation
Project PresentationProject Presentation
Project Presentation
 
Project Presentation
Project  PresentationProject  Presentation
Project Presentation
 
กรด เบส 7
กรด เบส 7กรด เบส 7
กรด เบส 7
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 

Project

  • 1. การเปรียบเทียบปริมาณแคลเซียมที่พบในเปลือกหอยสายพันธุ์ Meretrix lusoria และ Arca granulosa โดยเทคนิค Spectrophotometry และเทคนิคการไตเตรทด้วย EDTA Arca granulosa ( หอยแครง ) Meretrix lusoria ( หอยตลับ )
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. วิธีดำเนินงาน เปลือกหอยแครงแยกเป็น 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก มีขนาด 2.70-3.00 cm ขนาดกลาง มีขนาด 3.00-3.30 cm ขนาดใหญ่ มีขนาด 3.30-3.60 cm เปลือกหอยตลับแยกเป็น 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก มีขนาด 4.90-5.20 cm ขนาดกลาง มีขนาด 5.20-5.60 cm ขนาดใหญ่ มีขนาด 5.60-6.00 cm
  • 8. วิธีดำเนินงาน จัดกลุ่มเปลือกหอยในแต่ละกลุ่มขนาด ออกเป็นชุด ชุดละ 4 ฝา นำแต่ละชุดไปชั่งน้ำหนักและบันทึกผล นำเปลือกหอยแต่ละชุดใส่ท่อ ปิดฝาเกลียว แล้วเผาจนกว่าจะเผาไหม้สมบูรณ์ คือ มีน้ำหนักคงที่ ซึ่งเป็นน้ำหนักของสารอนินทรีย์
  • 9. ผลการทดลอง หอยแครง 21.04 L3 28.38 L2 26.65 30.53 L1 13.19 M3 7.75 M2 13.28 18.89 M1 43.83 S3 55.27 S2 49.74 50.12 S1 % ที่สูญเสียเฉลี่ย % ที่สูญเสียไป ชุด หอยตลับ 4.87 L3 6.42 L2 6.65 8.65 L1 9.17 M3 43.17 M2 24.22 20.32 M1 45.96 S3 55.19 S2 49.72 48.02 S1 % ที่สูญเสียเฉลี่ย % ที่สูญเสียไป ชุด
  • 10.
  • 11. วิธีดำเนินงาน ผสม conc.HCl 15 mL กับน้ำ กลั่น 25 mL ในขวดวัดปริมาตรขนาด 250 mL ชั่งน้ำหนัก o- Cresolphthalein complexone 25 mg เติมลงในขวดวัดปริมาตรข้างต้น คนให้สารละลายเข้ากัน จากนั้นชั่งน้ำหนัก 8-Hydroxy-quinoline 250 mg เติมลงในขวดวัดปริมาตร แล้วเติมน้ำกลั่นจนมีปริมาตรรวมเป็น 250 mL เตรียมสารละลาย Color Reagent
  • 12.
  • 13. วิธีดำเนินงาน เตรียมสารละลายจากเปลือกหอย ชั่งน้ำหนักเปลือกหอยแต่ละชุด 0.1 g เติมกรด 6M HCl จนกระทั่งเปลือกหอย ละลายหมด แล้วปรับปริมาตรเป็น 100 mL
  • 14. วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 2 การหาสภาวะที่เหมาะสมในการเกิดสารประกอบเชิงซ้อนของแคลเซียม การหาสภาวะที่เหมาะสมในการทำปฏิกิริยาระหว่าง AMP Buffer กับ Color Reagent แบ่งช่วงเวลาในการผสมสารทั้งสองเบื้องต้นเป็น 5 นาที , 10 นาที , 15 นาที , และ 20 นาที ตามลำดับ และนำค่า ABS ที่ได้มาสร้างกราฟเพื่อดูแนวโน้มช่วงเวลาที่ดีที่สุด เปลี่ยน ช่วงเวลาในการผสมสารเป็น 5 นาที , 6 นาที , 7 นาที , และ 8 นาที , 9 นาที , 10 นาที ตามลำดับ และนำค่า ABS ที่ได้มาสร้างกราฟเพื่อดูแนวโน้มช่วงเวลาที่ดีที่สุด *** ให้ชุด Blank ของการทดลอง คือการผสม AMP Buffer และ Color Reagent 1 นาที ***
  • 15.
  • 16. ผลการทดลอง สภาวะที่เหมาะสมที่ได้คือ ต้องผสมสารระหว่าง AMP Buffer กับ Color Reagent ให้สารทั้งสองนี้ทำปฏิกิริยากันให้อยู่ในช่วงเวลา 5-10 นาที จากนั้นจึงใส่สารละลายแคลเซียมลงไปทิ้งไว้ 50 วินาที แล้วรีบนำไปตรวจวัดด้วยเครื่อง Spectrophotometer
  • 17.
  • 18.
  • 20. วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียมที่พบ ในเปลือกหอยแครงและเปลือกหอยตลับ 4.1 Total - 0.1 2.0 2.0 Distilled water Test sample Buffer Color reagent Volume (mL) Solutions:
  • 21.
  • 22.
  • 23. ผลการทดลอง หอยแครง หอยตลับ 31.22 0.3122 L3 32.73 0.3273 L3 28.55 0.2855 L2 37.31 0.3731 L2 27.95 0.2795 L1 34.96 0.3496 L1 69.40 0.6940 M3 30.60 0.3060 M3 65.16 0.6516 M2 31.15 0.3115 M2 55.08 0.5508 M1 32.00 0.3200 M1 43.76 0.4376 S3 56.56 0.5656 S3 51.92 0.5192 S2 58.28 0.5828 S2 41.84 0.4184 S1 60.20 0.6020 S1 % Ca ที่พบ ในเปลือกหอย ในเปลือกหอย 1.000 g พบปริมาณ Ca (g) ชุด % Ca ที่พบ ในเปลือกหอย ในเปลือกหอย 1.000 g พบปริมาณ Ca (g) ชุด
  • 24.
  • 25. วิธีดำเนินงาน เตรียมสารละลาย Calcium Standard ชั่งน้ำหนัก Calcium carbonate 0.1 g เติม 6M HCl จนกระทั่ง Calcium carbonate ละลายหมด จากนั้นปรับปริมาตรสารละลายจนเป็น 100 mL เตรียมสารละลาย EDTA ชั่งน้ำหนัก Disodium EDTA 3.723 g ละลายในน้ำกลั่น ปรับปริมาตรเป็น 1,000 mL
  • 26. วิธีดำเนินงาน เตรียมสารละลายจากเปลือกหอย ชั่งน้ำหนักเปลือกหอยแต่ละชุด 0.1 g เติมกรด 6M HCl จนกระทั่งเปลือกหอยละลายหมด แล้วปรับปริมาตรเป็น 100 mL
  • 27. วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 2 การหาความเข้มข้น EDTA ก่อนทำการทดลองโดยใช้ EDTA จะต้องหาความเข้มข้นที่แน่นอนของ EDTA ก่อน โดยไตเตรทกับสารละลาย Calcium Standard ปิเปตสารละลาย Calcium Standard 15 mL ผสมน้ำกลั่นลงไป 30 mL ลงในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 mL เติมสารละลาย Buffer 2 mL จากนั้นควรรีบทำการไตเตรทภายใน 15 นาที หลังจากเติมสารละลาย Buffer แล้ว
  • 28. วิธีดำเนินงาน หยด Eriochrome Black T indicator ลงไป 4 หยด ไตเตรทด้วย EDTA โดยที่จุดยุติ สารละลายจะเปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีฟ้าอ่อน ทำการทดลองซ้ำอีก 2 ครั้ง
  • 29. วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียมที่พบ ในเปลือกหอยแครงและเปลือกหอยตลับ ปิเปตสารละลายจากเปลือกหอย 15 mL ผสมน้ำกลั่นลงไป 30 mL ลงในขวดรูปชมพู่ขนาด 250 mL เติมสารละลาย Buffer 2 mL จากนั้นควรรีบทำการไตเตรทภายใน 15 นาที หลังจากเติมสารละลาย Buffer แล้ว หยด Eriochrome Black T indicator ลงไป 4 หยด
  • 30. วิธีดำเนินงาน ไตเตรทด้วย EDTA โดยที่จุดยุติ สารละลายจะเปลี่ยนสีจากสีแดงเป็นสีฟ้าอ่อน ทำการทดลองซ้ำอีก 2 ครั้ง
  • 31.
  • 32. ผลการทดลอง หอยแครง หอยตลับ 46.0 0.460 L3 42.4 0.424 L3 49.6 0.496 L2 52.4 0.524 L2 50.0 0.500 L1 50.0 0.500 L1 66.8 0.668 M3 42.8 0.428 M3 65.6 0.656 M2 45.2 0.452 M2 52.0 0.520 M1 48.4 0.484 M1 62.0 0.620 S3 62.0 0.620 S3 62.0 0.620 S2 66.8 0.668 S2 50.4 0.504 S1 68.0 0.680 S1 % Ca ที่พบ ในเปลือกหอย ในเปลือกหอย 1.000 g พบปริมาณ Ca (g) ชุด % Ca ที่พบ ในเปลือกหอย ในเปลือกหอย 1.000 g พบปริมาณ Ca (g) ชุด
  • 33.
  • 34. วิธีดำเนินงาน ขั้นตอนที่ 2 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการวิเคราะห์ปริมาณแคลเซียม โดยเทคนิค Spectrophotometry และการไตเตรทด้วย EDTA นำสารละลายแคลเซียมที่เตรียมไว้ในขั้นตอนที่แล้วมาทดสอบ ด้วยวิธี Spectrophotometry ตามขั้นตอนข้อ 3.3.2 การทดลองที่ 1 นำสารละลายแคลเซียมที่เตรียมไว้ในขั้นตอนที่แล้วมาทดสอบด้วยวิธี ไตเตรทด้วย EDTA ตามขั้นตอนข้อ 3.3.3 การทดลองที่ 2
  • 35.
  • 36.
  • 37. ผลการทดลอง 46.0 31.22 L3 42.4 32.73 L3 49.6 28.55 L2 52.4 37.31 L2 50.0 27.95 L1 50.0 34.96 L1 66.8 69.40 M3 42.8 30.60 M3 65.6 65.61 M2 45.2 31.15 M2 52.0 55.08 M1 48.4 32.00 M1 62.0 43.76 S3 62.0 56.56 S3 62.0 51.92 S2 66.8 58.28 S2 50.4 41.84 S1 68.0 60.20 S1 Titration Spectrophotometry Titration Spectrophotometry % Ca ที่พบในเปลือกหอย ชุด % Ca ที่พบในเปลือกหอย ชุด หอยแครง หอยตลับ
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43. Quantitative comparison of calcium levels in Meretrix lusoria and Arca granulosa using spectrophotometric method and the method of titration with EDTA Arca granulosa ( หอยแครง ) Meretrix lusoria ( หอยตลับ )