SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 62
การพัฒนาทุ่งกุลาร ้องไห ้ด ้วยแนวคิด
“Smart Farm-Smart Family”
งานเทศกาลข ้าวหอมมะลิโลก จ.ร ้อยเอ็ด
พิสุทธิ์ ไพบูลย์รัตน์
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
Changing World
โลกที่ไม่เหมือนเดิม
ประชากรโลกจะเพิ่มเป็นประมาณ 9,191 ล ้านคน in 2025 (UN)
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศต่อภาคเกษตร
ศัตรูพืชชนิดใหม่
น้าที่หายากและมีค่ามากขึ้น และนามาซึ่งความขัดแย ้ง
ความต ้องการอาหารของประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น
พฤติกรรมผู้บริโภคเน้นในด ้านคุณภาพและความปลอดภัยของอาหาร
พื้นที่เพื่อการเกษตรลดลง
ความสมดุลของความต ้องการพืชเพื่ออาหารและพลังงาน
ปัญหาสังคมผู้สูงอายุกับภาคเกษตร
อันดับการแข่งขันของประเทศในสังคมโลก
The World Competitiveness Ranking
Source: World Economic Forum 2014
31from 150
ดัชนีความสามารถในการแข่งขัน เป็ นอันดับ 3 ใน AEC
อันดับ
สิงค์โปร์ 2
มาเลเซีย 20
ไทย 31
อินโดนีเซีย 34
ฟิลิปปินส์ 52
เวียดนาม 68
ลาว 93
กาพูชา 95
เมียนม่า 134
คุณภาพชีวิตของเกษตรกรและผู้บริโภค
42 จาก 120
ดัชนีคุณภาพชีวิตของคนไทยเทียบกับชาติอื่น
Source: The Economist, 2005
เหลียวหน้า-แลหลัง
สถานภาพการเกษตรไทย
• การก ้าวเข ้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศ โดยเฉพาะประชากรใน
กลุ่มนี้ที่ประกอบอาขีพการเกษตร
• ลูกหลานเกษตรกร(ส่วนใหญ่) ไม่สืบต่ออาชีพเกษตร
• ขาดแคลนแรงงานที่มีประสบการณ์ในอาขีพเกษตรเฉพาะทาง
• แรงงานในภาคการผลิตหายาก และมีค่าใช ้จ่ายที่สูงขึ้น
• ปัจจัยการผลิตที่ราคาสูงขึ้น
• ขาดโอกาสในการเข ้าถึงเทคโนโลยีที่เหมาะสม เฉพาะทาง-
เฉพาะพื้นที่
เหลียวหน้า-แลหลัง
สถานภาพการเกษตรไทย
• ขาดการลงทุนโครงสร ้างพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับภาคการผลิต
• ขาดแรงกระตุ้นในการรวมกลุ่มเพื่อบริหารจัดการข ้อมูลและ
ทรัพยากรร่วมกัน
• ช่องว่างของความคิดและความต ้องการระหว่างรัฐและเกษตรกร
• พฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป
• ตลาดไร ้พรมแดนที่เป็นทั้งวิกฤติและโอกาส
• กฏ กติกาสากลในเวทีการค ้าโลกที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออก
เหลียวหน้า-แลหลัง
สถานภาพการเกษตรไทย
• การเข ้ามาของบริษัทข ้ามชาติด ้าน Smart Farm หาผู้ร่วมธุรกิจในประเทศ
และ AEC
• การถ่ายโอนความรู้และประสบการณ์ (บุคลากร) จากในประเทศไปสู่รูปแบบ
ธุรกิจที่ปรึกษาและบริการภาคเกษตร (Agricultural Services Consultant)
• การเข ้ามาของผู้ประกอบการทางการเกษตร ในลักษณะของผู้ลงทุน
(agricultral investers)
• ต ้องการความชัดเจนและต่อเนื่องของนโยบายภาครัฐ (National Agenda)
และการวางทิศทางการพัฒนาทั้งระบบ supply and value chain ภาคเกษตร
• เกษตรกรขาดโอกาสในการร่วมวางแผนพัฒนาการเกษตรเชิงพื้นที่และการ
ผลิต
การเปลี่ยนผ่านของภาคการเกษตรไทย
• การรวมตัวของกลุ่มผู้ผลิตรุ่นใหม่บนเครือข่ายสารสนเทศ(social
network) เช่น กลุ่ม Smile Farm Group, กลุ่มมะพร ้าวน้าหอมไทย,
กลุ่มชาวสวนทุเรียนจันทร์, สถาบันทุเรียนไทย, กลุ่มมะละกอเพื่อ
การค ้ายุคใหม่, กลุ่มผู้ปลูกพืชไม่ใช ้ดิน, กลุ่มจัดการ ดิน น้า ปุ๋ ย, กลุ่ม
ผู้ปลูกข ้าวอินทรีย์ทุ่งกุลา...เป็นต ้น
• การรวมตัวของเกษตรกรผู้ผลิตในรูปแบบ กลุ่ม วิสาหกิจ สหกรณ์ เพื่อ
บริหารจัดการต ้นทุน การผลิต การขนส่ง และการตลาดร่วมกัน
• สร ้างเครือข่ายของกลุ่มเกษตรกรในสินค ้าประเภทเดียวกันเพื่อ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ รวมกันและผลิตสร ้างตลาดที่ใหญ่ขึ้น
การเปลี่ยนผ่านของภาคการเกษตรไทย
• ทาแผนงานร่วมกันระหว่างกลุ่มผู้ผลิตและหน่วยงานสนับสนุนด ้าน
เทคโนโลยีและบริการภาคเกษตร
• เปิดช่องทางพิเศษสาหรับการให ้งบประมาณสนับสนุนภายใต ้
แผนการทางานร่วมกัน
• แนวคิดในการพัฒนาสถาบันวิชาชีพเพื่อภาคเกษตร ในการผลิต
แรงงานคุณภาพ เพื่อตอบโจทย์การขาดแรงงานคุณภาพ และ
ความต ้องการแรงงานระดับที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ
การผลิตได ้
ตัวอย่างกลุ่มที่รวมตัวกันในสังคมออนไลน์
ภาพการเปลี่ยนผ่านสู่การเกษตรแบบ smarter
• พริกหวาน ที่เชียงใหม่
• กลุ่มผู้ปลูกทุเรียน Smile Farm Group
• กลุ่มผู้ปลูกมะม่วงเพื่อการค ้า
• ชมรมผู้ปลูกพืชไม่ใช ้ดินแห่งประเทศไทย
• กลุ่มผู้ปลูกมะละกอเพื่อการค ้า
• กลุ่มผู้ปลูกข ้าวอินทรีย์ ข ้าวสี ที่มีตลาดเฉพาะ
ใครคือเกษตรกร
การบริการเทคโนโลยีและความรู้ให้เกษตรกร
Smart Officers
เจ้าหน้าที่ของรัฐที่ทาหน้าที่เป็ นพี่เลี้ยงด้านการใช้ข้อมูล
เทคโนโลยี และการจัดการ เชิงพื้นที่
Smart Farmers
เกษตรกรที่ติดอาวุธทางความคิด เปิดรับการใช้
เทคโนโลยี ข้อมูลและการจัดการการผลิต อย่าง
เป็ นระบบ
Smart Farm
การจัดการการเกษตรรูปแบบใหม่ที่อาศัยเทคโนโลยี
ข้อมูล และการจัดการเชิงพื้นที่
เทคโนโลยีที่
เหมาะสมสาหรับ
3 สมาร์ทเกษตรกร
โดยอาชีพ
เกษตรกรรุ่นใหม่
เกษตรกรที่มา
จากอาชีพอื่น
ผู้ลงทุนภาคเกษตร
Smart Farm-Smart Family
วิถีใหม่ของการเรียนรู้ เปลี่ยนแปลง เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
องค์ประกอบของการเกษตรแบบฟาร์มอัฉริยะ
นักวิทยาศาสตร์การเกษตร+นักวิชาการด ้านคอมพิวเตอร์ สารสนเทศ+เกษตรกร
Human sensing
Reduce cost of
production and raising quality of life
by appropriated
information & communication
technology for farm management
Farm data management,
Information Technology for
GAP Assessment,
Ubiquitous Sensors Networks
การบูรณาการ
เทคโนโลยีเพื่อการ
ผลิตทางการเกษตร
Government: Department of Seri-culture, Rice Department, Department of Agriculture
Agriculture Research Development Agency, Department of Fisheries
Universities: Mae Jo University, Kasetsart University, , Prince of Songkla University
Rajmongkol Technology University, Asian Institute of Technology,
Private Sectors: Koerner Agro, Orchid Exporter Association, Fruit & Vegetable Export Association,
Farmers Association: Rice Seed Production Group(Saraburi, Supanburi, Pitsanulok),
Growers Association, GAP/Organic Rice Grower Association
International Collaboration: FAO, NARO, JAXA, Consortium(APAN, AFITA, SRII)
Field server
Sensors network
Mobile application
Voice recognition
Ontology
Knowledge Engineering
Big Data management
UAV
Photonic
Image Processing,
DSS
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และอิเล็กทรอนิกส์
เข้าไปสู่ระบบจัดการ
การผลิตภาคเกษตร
Smart Farm-Precision farming
การทาการเกษตรที่อาศัยข้อมูลและ
เทคโนโลยี
Brand & Trust for Thai Agricultural
Products, Information Integration
between G2G, and G2C, Boosting
GAP Certification Farms
Mobile GAP Assessment
System,
IT Package for Traceability
System,
การบูรณาการเทคโนโลยี
เพื่อการจัดการมาตรฐาน
การผลิตและมาตรฐาน
สินค้า
Mobile application,
Sensors for quality control,
E-Nose,
RFID,
QR code,
Moisture measurement sensors,
Image processing,
Photonic,
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และอิเล็กทรอนิกส์
เข้าไปสู่ระบบจัดการมาตรฐานการผลิต
และคุณภาพผลผลิต
Government: Department of Seri-culture, Rice Department, Department of Agriculture
Agriculture Research Development Agency, Department of Fisheries
Universities: Mae Jo University, Kasetsart University, , Prince of Songkla University
Rajmongkol Technology University, Asian Institute of Technology,
Private Sectors: Koerner Agro, Orchid Exporter Association, Fruit & Vegetable Export Association,
Farmers Association: Rice Seed Production Group(Saraburi, Supanburi, Pitsanulok),
Longan Growers Association, GAP/Organic Rice Grower Association
International Collaboration: FAO, NARO, JAXA, Consortium(APAN, AFITA, SRII)
Food Safety
ความปลอดภัยในการบริโภค
สินค้ามีคุณภาพ มาตรฐาน
Reduce production lost from
natural disaster and pests
Pest tracking & warning system,
Agriculture weather forecasting,
Mitigation procedure for
seasoning
Shift,
,
การบูรณาการเทคโนโลยี
เพื่อจัดการลดความเสี่ยง
ของภาคเกษตรจากภัย
ธรรมชาติและการระบาด
ของโรคแมลง
Telemetering system,
Simulation model,
DSS,
Sensors network,
GIS/RS,
Water management system
UAV
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
และอิเล็กทรอนิกส์
เข้าไปสู่ระบบจัดการ
ลดความเสี่ยงในการผลิต
Government: Department of Seri-culture, Rice Department, Department of Agriculture
Agriculture Research Development Agency, Department of Fisheries
Universities: Mae Jo University, Kasetsart University, , Prince of Songkla University
Rajmongkol Technology University, Asian Institute of Technology,
Private Sectors: Koerner Agro, Orchid Exporter Association, Fruit & Vegetable Export Association,
Farmers Association: Rice Seed Production Group(Saraburi, Supanburi, Pitsanulok),
Longan Growers Association, GAP/Organic Rice Grower Association
International Collaboration: FAO, NARO, JAXA, Consortium(APAN, AFITA, SRII)
Food Security
เทคโนโลยีที่ช่วยเตือนภัย ลดความสูญเสีย
และสร้างความมั่นคงทางอาหาร
New generation of farmers,
Increasing number of knowledge
Workers, and facilitators
Agriculture advisory,
Knowledge services,
Village that Learn,
การจัดการข้อมูลและ
ความรู้เพื่อพัฒนา
เกษตรกรและเจ้าหน้าที่
Telemetering system,
Simulation model,
DSS,
Sensors network,
GIS/RS,
Water management system,
Knowledge engineering,
Ontology,
Speech recognition,
เทคโนโลยีด้าน
การจัดการความรู้
Government: Department of Seri-culture, Rice Department, Department of Agriculture
Agriculture Research Development Agency, Department of Fisheries
Universities: Mae Jo University, Kasetsart University, , Prince of Songkla University
Rajmongkol Technology University, Asian Institute of Technology,
Private Sectors: Koerner Agro, Orchid Exporter Association, Fruit & Vegetable Export Association,
Farmers Association: Rice Seed Production Group(Saraburi, Supanburi, Pitsanulok),
Longan Growers Association, GAP/Organic Rice Grower Association
International Collaboration: FAO, NARO, JAXA, Consortium(APAN, AFITA, SRII)
Smart Farmers/Officers
การพัฒนาเกษตรกรในการทาการเกษตร
ด้วยข้อมูล
รู้เรา...
เก็บข ้อมูลอย่างเป็นระบบ
วางแผนและจัดการจากข ้อมูล
เชื่อมโยงและแบ่งปัน
UAV/drone
การใช้เครื่องบินไร้คนขับขนาดเล็ก ในการถ่ายภาพพื้นที่ เพื่อนามาใช้ในการบริหาร
จัดการข้อมูลเชิงพื้นที่
ตัวอย่างภาพถ่ายแบบ RGB และ NIR
ตัวอย่างภาพจากพื้นที่ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ ้านห ้วยขมิ้น
อ.หนองแค จ.สระบุรี
จากภาพถ่ายนามาลงข ้อมูลในพื้นที่ เช่น ข ้อมูลเจ ้าของนา ข ้อมูลดิน ข ้อมูลการจัดการ
นาของสมาชิกแต่ละราย
Low HighSpatial Resolution
การวัดค่าความหนาแน่นของใบพืช
ด้วยเครื่องมือวัด (LAI Measurement )
การวัดค่าความหนาแน่นของต้นพืช
ด้วยการตรวจนับ โดยเกษตกร(Rice density measurement by farmers)
แสดงข้อมูลแปลงส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิตข้าว (Agriculture information in field)
การมีส่วนร่วมของเกษตรกรและนักวิจัย
(Participation & Collaboration)
การเก็บข ้อมูลภาคสนามจากอุปกรณ์ สถานีอัตโนมัติ และ
การช่วยให ้ข ้อมูลของสมาชิก
การสร้างเครือข่ายบันทึกและสังเคราะห์ข้อมูลระดับพื้นที่
Agricultural Information Services
UAV, multi-spectrum camera, GPS, automatic fertilizer
releasing
การให ้บริการวิเคราะห์ดินและใส่ปุ๋ ยแบบแม่นยา
และการให ้บริการพ่นสารเคมีด ้วยเครื่องบินไร ้คนขับ
SST SoftwareZUKOSHA
รู้สภาพอากาศ(เฉพาะถิ่น)...รู้การเปลี่ยนแปลง
ด ้วยระบบการตรวจวัดข ้อมูลขนาดเล็ก
นาไปสู่ความเข ้าใจ การเฝ้าระวัง และการปรับการผลิตให ้เข ้ากับสภาพแวดล ้อมที่เปลี่ยนแปลง
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเฉพาะถิ่นอย่างเฉียบพลัน
ข ้อมูลจากสถานีตรวจอากาศขนาดเล็ก เพื่อให ้ทราบการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ที่เป็น
วิทยาศาสตร์ เพื่อนาไปสู่การเตรียมรับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้นด ้วยการจัดการ
<ชื่อวาระ>
เว็บแสดงผล http://agritronics.nstda.or.th
ภาพอนาคต ที่จาเป็ นต้องมีอุปกรณ์ เก็บข้อมูลภาคสนามมากขึ้น และ
การประมวลผลข้อมูลที่กลับมาเป็ นการบริการผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่
การตรวจสอบมาตรฐานการผลิต
คุณภาพและความเชื่อมั่น
ความปลอดภัยของผู้บริโภคและผู้ผลิต
รายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของเกษตรกร
Brand
เครื่องหมายการค ้า
และเครื่องหมายรับประกันคุณภาพ
ระบบตรวจสอบมาตรฐานการผลิตข้าว
Mobile GAP Assessment System
การตรวจสอบพื้นที่และขอบเขตแปลง
ความร่วมมือกับกรมการข้าว
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มทร.ล้านนา
และชุมชนบ้านสามขา จ.ลาปาง
เทคโนโลยีด้านเมล็ดพันธุ์และการผลิต
<ชื่อวาระ>
เครื่องตรวจขนาดเมล็ดข้าว
 วัดความความ ความยาว และ ความหนา ได้พร้อมกัน
 วิเคราะห์ระดับสีของข้าวสาร
 วิเคราห์ระดับท้องไข่ของข้าวสาร
<ชื่อวาระ>
เครื่องตรวจเมล็ดข้าวแดงและข้าวเหนียว
ที่ปนมากับข้าวเจ้า
อุปกรณ์ตรวจสอบเมล็ดข ้าวปน
(ข ้าวแดง ข ้าวท ้องไข่)
เครื่องฆ่ามอดด ้วยไมโครเวฟ
อุปกรณ์ที่ใช ้ตรวจสอบความชื้นของข ้าวเปลือก
Phenomics Study
Effect of micro-climate to longan flowering and fruit setting
การศึกษาการตอบสนองของพืชต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเฉพาะถิ่น
ระบบติดตามการเจริญของต้นข้าวในระนาบสามมิติ
• ลักษณะทางกายภาพของทรงพุ่มของต้นข้าวในสามมิติที่ให้ความละเอียดในการวัด 110
ไมโครเมตร และ ความถูกต้อง 50 ไมโครเมตร (วัดที่ระยะ 1-1.5 เมตร จากต้น)
• ข้อมูลพื้นที่ใบ, ขนาดของกิ่งก้าน, ความสูง, ความยาวของลาปล้อง และ ระดับสีใบ
• ระบบบันทึกและอ่านข้อมูลแบบอัตโนมัติด้วย RFID
ระบบการเฝ้ าระวังและเตือนภัยศัรูพืช
<ชื่อวาระ>
ระบบฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนการวิเคราะห์การแพร่
ระบาด ของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล
Insect Shot :
โปรแกรมช่วยถ่ายภาพแมลงที่
มีขนาดเล็ก
Insect Server:
โปรแกรมช่วยส่งภาพถ่ายไปยัง
เครื่องแม่ข่าย
ปีที่1 พัฒนา Web Application และอบรมการ
ใช้
ปีที่ 2 เก็บข้อมูลภาพจากเว็บที่แต่ละศูนย์ข้าวส่ง
1. ข้อมูลภาพและจานวน
เพลี้ยจากเว็บนามาเป็นข้อมูล
สอนให้ระบบคอมพิวเตอร์
2. พัฒนาโมเดลการรู้จา
เพลี้ย ให้ได้โปรแกรมการตรวจ
นับเพลี้ยที่มีประสิทธิภาพมาก
ขึ้น
ปีที่ 2 สร้างศาลาเก็บข้อมูลเพลี้ยจากเครื่องกับดัก
และพัฒนา Mobil Application
45/25
<ชื่อวาระ>
การสร้างแบบจาลองการเคลื่อนย้ายประชากรเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลจากข้อมูลการ
ระบาด
1. สร้างแบบจาลองการเคลื่อนย้ายประชากร
เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลจากข้อมูลรายงาน
การระบาดย้อนหลังรายสัปดาห์ด้วยการ
สร้าง decision rules บนเส้นทาง
การอพยพแบบ Delaunay Edge
ภายใต้เงื่อนไขที่กาหนดจะได้ความ
ถูกต้องประมาณ 85%
2. ในอนาคต การเพิ่มประสิทธิภาพความ
ถูกต้องของแบบจาลอง อาจเพิ่มเติมพันธุ์
ข้าว อายุและจานวนเพลี้ยฯ ข้อมูลศัตรู
ธรรมชาติ เป็นต้น
3. ต้องมีระบบเชื่อมโยงข้อมูลการระบาดราย
สัปดาห์เข้ากับระบบพยากรณ์การอพยพนี้
เพื่อสามารถทานายการอพยพได้อัตโนมัติ
46/25
การนับเพลี้ยด้วย
Mobile Phone
ระบบฐานข้อมูล
สนับสนุนการ
วิเคราะห์การระบาด
แบบจาลองการ
อพยพเพลี้ยฯ
(Refined)
ระบบรายงาน
สถานการณ์
การระบาด
ระบบพยากรณ์
การอพยพ
ระบบสารสนเทศ
การเตือนภัยการระบาด
ศัตรูข้าว
Soil testing – Tailor made fertilizer
Image processing, mobile application for fertilizer calculation
การตรวจสอบคุณสมบัติดินและธาตุอาหารเพื่อเตรียมความพร ้อมสาหรับการผลิต
ปุ๋ ยสั่งตัด ปุ๋ ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
ใส่ปุ๋ ยตามความต ้องการของพืชและองค์ประกอบของดิน
better quality of rice and life
<ชื่อวาระ>
1. การคานวณสัดส่วนแม่ปุ๋ ย (Calculation):- คานวณสัดส่วนโดยน้าหนักของแม่ปุ๋ ยในการผสมปุ๋ ยเคมีขนาด
หน่วย (กระสอบ) ละ 50 กิโลกรัม ตามสูตรปุ๋ ยที่ผู้ใช้ระบุ โดยแสดงผลลัพธ์เป็นน้าหนักของแม่ปุ๋ ยจานวน 3 ตัว (Urea,
DAP และ MOP) และสารตัวเติม (Filler) (ในกรณีที่ต้องการใช้)
2. การตรวจสอบสูตรจากสัดส่วนแม่ปุ๋ ย (Verification):- คานวณสัดส่วนน้าหนักของแม่ปุ๋ ยว่าประกอบกันแล้ว
เป็นปุ๋ ยผสมสูตรอะไร และเทียบกับมาตรฐานอุตสาหกรรมปุ๋ ยว่าผ่านตามมาตรฐานที่กาหนดของปุ๋ ยสูตรที่ระบุหรือไม่
3. ข้อแนะนาการให้ปุ๋ ยจากฐานข้อมูล (Database):- ข้อมูลค่าธาตุอาหารที่เหมาะสมของพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ โดย
ข้อมูลจะดึงมาจากฐานข้อมูลบนเครื่องแม่ข่ายซึ่งจะได้รวบรวมข้อมูลมาจากข้อแนะนาของหน่วยงานภาครัฐ
Mobile Application (Android) เพื่อช่วยคานวณการผสมปุ๋ ยเคมีจากแม่ปุ๋ ย
<ชื่อวาระ>
แอพ “ใบข้าว” สำหรับประเมินควำมต้องกำรธำตุอำหำรไนโตรเจนของพืช
ระยะแตกกอ
Color level < 3: Urea fertilizer 12 kg./rai
Color level = 3: Urea fertilizer 8.5 kg./rai
Color level > 3: Urea fertilizer 5 kg./rai
ระยะสร้างรวงอ่อน
Color level < 3: Urea fertilizer 16 kg./rai
Color level = 3: Urea fertilizer 12.5 kg./rai
Color level > 3: Urea fertilizer 9 kg./rai
• บอกระดับสีใบได้ 5 ระดับ
• ประเมินการขาดธาตุโปแตสเซียมได้
• ทางานบนระบบ Android 2.2
ขึ้นไป
คุณสมบัติเบื้องต้น
เครื่องผสมปุ๋ ยอัตโนมัติ
51
Measurement
Tank
Container
Mixing Tank
Release Valve
SMS (GSM)
for each
Primary Fertilizer
Urea
46-0-0
Weight
Sensor
Screw Conveyor
Valve
Stop
Release
Printer
Embedded
System Controller
Fertilizer Mixing Machine
Serial I/F
4
4
Release Valve
Key2
Connector Connector
D5
D6
D7
D8
D9
D10
Connector
Key1
Control Board
D
1
D
2
D
3
D
4
DAP
18-46-0
MOP
0-0-60
Filler
เครื่องดานา
Agricultural Services – Platform as a Services
การจัดการใช ้น้าอย่างมีประสิทธิภาพ
เตรียมพร ้อมกับ
Water foot print
Water harvest
Methane emission
เทคโนโลยีการปลูกแบบเปียกสลับแห ้ง
การนาไปสู่การควบคุมปริมาณน้าที่เหมาะสม
• เซนต์เซอร์วัดความชื้นดิน
• เซนต์เซอร์วัดอุณหภูมิ
• ระบบสื่อสาร
• โมเดลการขาดน้าของข ้าว
• โปรแกรมแสดงผลบนมือถือ
• solar water pump เครื่องสูบน้าพลังแสงอาทิตย์
ชุมชนแห่งการเรียนรื้
สร ้างเครือข่ายเกษตรกรยุคใหม่ Human sensing – Crown Sourcing
เรียนรู้จากการลงมือทา Learning by Doing
เกิดบริการในพื้นที่ Location Based Services
จากโจทย์ปัญหา หาปม และวิธีแก ้ร่วมกัน
New mindset & new mind map
ได ้ผังความคิดและผังงาน
New mindset & new mind map
Olean Business Institute, Boston
สร ้างสภาพแวดล ้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้เทคโนโลยี
New learning environment
ลาปา
ห ้องเรียนเปิดสาหรับผู้ให ้และผู้รับ
มิติใหม่ของการมีและใช ้ข ้อมูล
คอมพิวเตอร์และฐานความรู้
ชุมชน
เรียนรู้ด ้วยการร่วมกันทา
Learning by Doing
เรียนรู้ร่วมกัน....เพื่อสร ้างสังคมที่มี
คุณภาพชีวิต(และจิตใจ)ที่ดี
เกษตรกร นักวิจัย
ภาคเอกชน

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Sf roiet

ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
Somporn Isvilanonda
 
20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecace20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecace
Pisuth paiboonrat
 
Poster e-Government day(update)
Poster e-Government day(update)Poster e-Government day(update)
Poster e-Government day(update)
Pisuth paiboonrat
 
Fertilizer services offering
Fertilizer services offeringFertilizer services offering
Fertilizer services offering
Pisuth paiboonrat
 

Semelhante a Sf roiet (20)

Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
20120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-220120728 sf-ku-2
20120728 sf-ku-2
 
Smart farm lecture-ku
Smart farm lecture-kuSmart farm lecture-ku
Smart farm lecture-ku
 
Smart farm initiative
Smart farm initiativeSmart farm initiative
Smart farm initiative
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 
20100513 ku-smart farm
20100513 ku-smart farm20100513 ku-smart farm
20100513 ku-smart farm
 
Thai Arguriculture
Thai Arguriculture Thai Arguriculture
Thai Arguriculture
 
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
TINT RD AgriFood Research (Mar 2023)
 
Smart Agriculture
Smart Agriculture Smart Agriculture
Smart Agriculture
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecace20120718 services offering nectecace
20120718 services offering nectecace
 
Ag smart pisuth
Ag smart pisuthAg smart pisuth
Ag smart pisuth
 
20120301 sf-cmm
20120301 sf-cmm20120301 sf-cmm
20120301 sf-cmm
 
Poster e gov day
Poster e gov dayPoster e gov day
Poster e gov day
 
Poster e-Government day(update)
Poster e-Government day(update)Poster e-Government day(update)
Poster e-Government day(update)
 
20120817 sf-sig-services
20120817 sf-sig-services20120817 sf-sig-services
20120817 sf-sig-services
 
Smart farm concept
Smart farm conceptSmart farm concept
Smart farm concept
 
Fertilizer services offering
Fertilizer services offeringFertilizer services offering
Fertilizer services offering
 
Poster e gov day
Poster e gov dayPoster e gov day
Poster e gov day
 

Mais de Pisuth paiboonrat

Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Pisuth paiboonrat
 

Mais de Pisuth paiboonrat (17)

E agriculture-thailand
E agriculture-thailandE agriculture-thailand
E agriculture-thailand
 
Icdt for community
Icdt for communityIcdt for community
Icdt for community
 
ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2ICDT for ag1 ver2
ICDT for ag1 ver2
 
Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2Disruptive technology for agriculture v2
Disruptive technology for agriculture v2
 
Ag smart2 pisuth
Ag smart2 pisuthAg smart2 pisuth
Ag smart2 pisuth
 
Digital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agricultureDigital solutions to drive innovations in agriculture
Digital solutions to drive innovations in agriculture
 
Smart farm concept ait
Smart farm concept aitSmart farm concept ait
Smart farm concept ait
 
RSPG social business model
RSPG social business modelRSPG social business model
RSPG social business model
 
Smart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburiSmart farm rice-kanchanaburi
Smart farm rice-kanchanaburi
 
Smart farm initiative2
Smart farm initiative2Smart farm initiative2
Smart farm initiative2
 
Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0Smart Agriculture under Thailand 4.0
Smart Agriculture under Thailand 4.0
 
Fao final2
Fao final2Fao final2
Fao final2
 
E-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiencesE-agriculture Solution: Thailand experiences
E-agriculture Solution: Thailand experiences
 
รู้รับปรับตัวเมื่อ
รู้รับปรับตัวเมื่อรู้รับปรับตัวเมื่อ
รู้รับปรับตัวเมื่อ
 
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
แนวทางการพัฒนาและปรับใช้
 
Ku 56
Ku 56Ku 56
Ku 56
 
Fertilizer Service
Fertilizer ServiceFertilizer Service
Fertilizer Service
 

Sf roiet