SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 225
Baixar para ler offline
t 29
            h
           3E 0
              0dn
               ti
                o
           PeT
           i a
            s n
             stil
               ma
                a
IT
NR
F RO U T
O DC
   C M IN
    OMO T
       U I OC
        NC
          A IO P
       C.6
       A0
        2
           TO M U
             NA T R
               RS
                T
                  E
คํานํา
        เอกสารประกอบการสอนเลมนี้เปนการเขียนขึ้นมาใหมทั้งเลม โดยไดความรูพื้นฐานมาจากเอกสาร
ตํารา ขอมูลบน Internet ซึ่งมีมากมาย บวกกับความรูของผูเขียนในการใชงานคอมพิวเตอรกวา 17 ป แต
นั้นไมไดแปลวาการที่คนมีความรูคอมพิวเตอรกวา 17       ปจะรูเรื่องคอมพิวเตอรทุกเรื่อง ยิ่งเทคโนโลยี
คอมพิวเตอรมีความเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ไมวาผูที่มีประสบการณเทาใด ก็ควรจะเรียนรูติดตามเรื่องใหม ๆ
อยูเสมอ เรื่องราวในเอกสารปูพื้นฐานตั้งแตการใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตนไปจนถึงการผลิตสื่ออยางงาย ๆ
เพื่อเปนพื้นฐานแกผูเรียนในการเรียนวิชาตาง ๆ ของทางคณะ ทั้งประโยชนทางตรงในการเรียนวิชาที่
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร เชน วิชาการตัดตอ วิชาการผลิตสื่อ วิชาวารสารออนไลน วิชาเอนิเมชั่น ฯลฯ และ
ทางออมในการใช PowerPoint ทําสื่อนําเสนอหนาชั้นเรียน การใช Word พิมพเอกสารรายงาน การสืบคน
ความรูจาก internet เพื่อนําเนื้อหามาทํารายงาน

        เอกสารประกอบการสอน CA.206 ไดมีการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่อง ไดมีการแกไขเนื้อหาที่จะ
นํามาสอนใหใหมอยูเสมอ ผูเรียนเองนอกจากจะอานความรูในหนังสือแลว ยังควรจะตองหาขอมูลประกอบ
เพิ่มเติม ซึ่งในทายบทไดมีการบอก Link ที่เปนประโยชนเกี่ยวกับบทนั้น ๆ

        ผูเขียนหวังวาเอกสารประกอบการสอนเลมนี้จะมีประโยชนกับผูเรียน ใชประกอบการศึกษาใน
รายวิชา และถาเอกสารการสอนมีขอบกพรองเชนพิมพผิด ขอมูลผิด ใหติดตอกับผูสอน เพื่อทําการแกไขใน
เอกสารการสอนรุนตอไป จะเปนประโยชนอยางยิ่ง




                                                                          พิศศ ตันติมาลา
เรื่อง                                         สารบัญ
บทที่ 1 รูจักกับคอมพิวเตอร                      1
1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร                        2
1.2 ชนิดของคอมพิวเตอร                            3
1.3 ความสามารถของคอมพิวเตอร                      7
1.4 การใชงาน Windowsเบื้องตน                    9
บทที่ 2 การทํางานของคอมพิวเตอร                   17
2.1 โครงสรางระบบการทํางานของคอมพิวเตอร          18
2.2 อุปกรณแยกตามประเภทหนวยการทํางาน             20
2.3 การติดตั้ง Windows                            25
2.4 การติดตั้ง Software                           31
บทที่ 3 เจาะลึก Hardware                          32
3.1 Input unit                                    33
3.2 Maim Memory                                   39
3.3 Processing Unit                               41
3.4 Storage unit                                  44
3.5 Output unit                                   49
บทที่ 4 สวนเชื่อมตอ และอุปกรณสนับสนุน          54
4.1 Computer Interface                            55
4.2 อุปกรณอื่น ๆ                                 58
4.3 Microsoft word                                59
บทที่ 5 ซอฟตแวร และ ซอฟตแวรกราฟก             74
5.1 ซอฟตแวรระบบ (System Software)               75
5.2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)      77
5.3 สิทธิ์เกี่ยวกับ ซอฟตแวร                     83
5.4 Photoshop ตอนที่ 1                            84
บทที่ 6 ประเภทของไฟล และระบบสี                   99
6.1 ไฟลภาพ                                       100
6.2 ไฟลเสียง                                     104
6.3 ไฟลวีดีโอ                                    105
6.4 ระบบสีของคอมพิวเตอร                          106
6.5 Photoshop ตอนที่ 2                            108
บทที่ 7 เทคโนโลยี internet                        115
7.1 ประวัติ Internet                              116
7.2 การเชื่อมตอ Internet                         117
7.3 ความหมายของ Website                           118
เรื่อง                                  สารบัญ
7.4 ยุคของเว็บไซต                       119
7.5 Web browser                          125
7.6 Email ( electronic mail )            126
7.7 Photoshop ตอนที่ 3                   128
บทที่ 8 การคนหาขอมูลบน internet                135
8.1 แนะนําเว็บ Search Engine            136
8.2 เทคนิคการคนหาขอมูล                139
8.3 เทคนิคการคนหาขอมูลทางภูมิศาสตร   140
8.4 การ Upload ภาพขึ้นบน Internet       144
บทที่ 9 New media                       148
9.1 New Media คืออะไร                   149
9.2 ชองทางของ New Media                149
9.3 การสราง QR-Code                    154
9.4 การ download Clip Youtube           155
9.5 การใชงาน Noknok Micro Blogging     155
บทที่ 10 Blog                           177
8.1 ความหมายของ Blog                    158
8.2 ประเภทของ Blog                      158
8.3 เหตุผลของการเขียน Blog              161
8.4 การเขียน Blog                       162
8.5 การสราง Blog ใน Blogspot           164
บทที่ 11 Online VDO                     169
8.1 ความสําคัญของ Online VDO            170
8.2 ตัวอยางความสําเร็จของ Online VDO   170
8.3 กระบวนการสราง Online Video         172
8.4ไฟล VDO                             172
8.5 การแปลงไฟล Video                   174
8.6 การตัดตอ VDO ดวย Movie Maker      175
8.7 การใชบริการ Youtube                177
8.8 แนะนํา VDO Site                     180
บทที่ 12 e-commerce                     181
8.1 ประวิติของ e-commerce               181
8.2 ความหมายของ e-commerce              181
8.3 ประเภทของ e-commerce                184
เรื่อง                                                                   สารบัญ
8.4 เหตุผลที่พาณิชอิเล็กทรอนิกสถึงไดรบความนิยม
                                       ั                                  185
8.5 อุปสรรคของการคาพาณิชอิเล็กทรอนิกส                                   185
8.6 กรณีศึกษา e-commerce กับงานนิเทศศาสตร                                186
8.7 การสมัครสมาชิกรานคาบน internet                                      186
บทที่ 13 นําเสนองานดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส                                 189
13.1 ซอฟตแวรการนําเสนองาน                                               190
13.2 ทฤษฏีการนําเสนอ                                                      191
13.3 ขอพิจารณาการสรางสื่อนําเสนอ                                        191
13.4 การใชงาน Powerpoint ครั่งที่ 1                                      192
บทที่ 14 ระบบรักษาความปลอดภัย และ กฏหมายคอมพิวเตอร                       201
14.1 ไวรัสคอมพิวเตอร                                                     202
14.2 อาการของเครื่องที่ติดมัลแวร                                         203
14.3 แนวทางการปองกันมัลแวร                                              204
14.4 ซอฟตแวรที่ชวยรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร                          204
14.5 นักเจาะระบบ                                                          204
14.6 พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550    205
14.7 การใชงาน PowerPoint 2                                               207
บทที่ 15 นิเทศศาสตรกับคอมพิวเตอร                                        213
15.1 อาชีพของนักนิเทศศาสตรกับคอมพิวเตอร                                 214
15.2 วุฒิบัตรในสายคอมพิวเตอร                                             217
1     คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts




                                          บทที่ 1
                                 รูจักกับคอมพิวเตอร




    จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
      1.   ผูเรียนสามารบอกถึงความหมายของคอมพิวเตอรได
      2.   ผูเรียนสามารถเลือกประเภทของคอมพิวเตอรใหเหมาะสมกับงานได
      3.   ผูเรียนสามารถจําแนกประเภทของคอมพิวเตอรได
      4.   ผูเรียนสามารถบอกประโยชนของคอมพิวเตอรได
      5.   ผูเรียนสามารถเปดและปดเครื่องคอมพิวเตอรได
      6.   ผูเรียนสามารถบอกชื่อของขององคประกอบของหนาจอได
      7.   ผูเรียนสามารถ ใชคําสัง ในการ ลบ เคลื่อนยาย คัดลอก เปลี่ยนชื่อได และบีบอัดไฟลได
                                  ่
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 2
                                                                     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


บทที่ 1 รูจักกับคอมพิวเตอร
                                                      เทคโนโลยีที่มีบทบาทกับสังคมในปจจุบันคงหนีไมพนคอมพิวเตอร
                                            คอมพิวเตอรถูกนํามาใชในงานหลาย ๆ ดานทั้งทางตรงและทางออม แฝงเขาไป
                                            อยูในอุปกรณตาง ๆ คอมพิวเตอรมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและรวดเร็ว ทําให
                                            ตองมีการใหความรูเรื่องนี้กบผูเรียนในทุก ๆ ศาสตร
                                                                         ั
                                                      ในงานสายนิเทศศาสตรก็มการนําคอมพิวเตอรเขามาใชในดาน
                                                                                   ี
                                            กระบวนการผลิต จนถึงกระบวนการนําเสนอ ดวยความสามารถในดานการ
                                            ผลิตที่ทําใหการสรางสรรคงานทําไดอยางรวดเร็วและสวยงามแลวนั้น ในดาน
      คอมพิวเตอรที่ฝงกับอุปกรณตาง ๆ
                                            การนําเสนอคอมพิวเตอรสามารถแสดงสื่อประสมไดอยางเต็มที่




         การใชคอมพิวเตอรในการนําเสนองานกิจกรรมประชาสัมพันธ               การใชสื่อดิจิตอลชวยในเรื่องการแสดงใน Concert
         คอมพิวเตอรยังเปนเครื่องมือหนึ่งที่ชวยใหเขาถึงเครือขาย Internet ซึ่งถือวาเปนเครือขายขนาดใหญ ที่เก็บขอมูล
                                              
องคความรูไวมากมาย เกิดความรูใหม ๆ ที่ไมคาดคิดอยาง นกเตนรําได หรือดังชั่วขามคืนเมื่อเชนคลิป"ซูซาน บอยล" หรือ
การที่โอบามาใช Internet เปนชองทางหาเสียงจนทําใหชนะการเลือกตั้ง สิ่งตาง ๆ เหลานี้ลวนเปนผลที่เกิดจากแรงผลักดัน
ของ internet
         ซึ่งในเอกสารประกอบการสอนชุดนี้จะนํานักศึกษากาวสูโลกของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในมุมมองของนักนิเทศ
ศาสตร เพื่อนําความรูนี้ไปประยุกตและตอยอดกับศาสตรตาง ๆ ที่จะไดเรียนตอไป

1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร
          คอมพิวเตอร คํานี้ฟงดูงายและเขาใจในตัวมันเอง แตนอยคนที่จะรูวานิยามของคอมพิวเตอรนั้นคืออะไร นิยาม
                             
ของคอมพิวเตอรมีหลากหลายหนวยงานและบุคคลที่ใหคํานิยามซึ่งยกตัวอยางของนิยามคําวาคอมพิวเตอรไวดังนี้
          Wikipedia : เครื่องมือหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส ที่มีความสามารถในการคํานวณอัตโนมัติตามคําสั่ง สวนที่ใช
ประมวลผลเรียกวาหนวยประมวลผล ชุดของคําสั่งที่ระบุขั้นตอนการคํานวณเรียกวาโปรแกรมคอมพิวเตอร ผลลัพธที่ได
ออกมานั้นอาจเปนไดทั้ง ตัวเลข ขอความ รูปภาพ เสียง หรืออยูในรูปอื่น ๆ อีกมากมาย
          ราชบัณฑิตยสถาน : เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เสมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตาง ๆ ทั้ง
ที่งายและซับซอน โดยวิธีทางคณิตศาสตร
          HOPE Dictionary : เครื่องคอมพิวเตอร,เครื่องคํานวณ,ผูคํานวณ คณิตกรณหมายถึง อุปกรณชนิดหนึ่งที่ทํางาน
ดวยระบบอิเล็กทรอนิกส สามารถจําขอมูลและคําสั่งได ทําใหสามารถทํางานไปได โดยอัตโนมัติดวยอัตราความเร็วที่สูง
มาก ใชประโยชนในการคํานวณหรือการทํางานตาง ๆ ไดเกือบทุกชนิด
3      คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
       CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts

    1.2 ชนิดของคอมพิวเตอร
              คอมพิวเตอรที่เราใชอยูในปจจุบันนั้นมีหลายประเภทหลายขนาด และตางความสามารถ คอมพิวเตอรที่แพงก็
    ไมใชวาจะเหมาะสมกับงานทุกงานเสมอไป ฉะนั้นผูใชตองรูเทาทันและเขาใจถึงความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร
    ประเภทตาง ๆ ซึ่งประเภทของคอมพิวเตอรตามตําราทั่ว ๆ ไปแบงไดดงนี้
                                                                     ั
              1. ซูเปอรคอมพิวเตอร (Supercomputer)




             2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe Computer)




             3. มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer)
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 4
                                                                CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


         4. เวิรกสเตชัน (Workstation)




         5. ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer)




       ซึ่งการแบงประเภทดังกลาวเปนการแบงประเภทที่ใชกันมากวา 20 ปแลว ซึ่งปจจุบันมีคอมพิวเตอรที่แยกยอย
ประเภทมากมาย จึงควรแบงประเภทออกเปน 10 ประเภทดังนี้
       1. Desktop
             คือคอมพิวเตอรตั้งโตะ เหมาะสําหรับใชงานทั่วไปจนถึงงาน
             สํ า นั ก งานหรื อ งานออกแบบ คอมพิ ว เตอร ป ระเภทนี้ ถ า
             เปรียบเทียบกับ Laptop แลวจะมีราคาถูกกวา เนื่องจาก
             เทคโนโลยีที่ใชไมตองการประหยัดพื้นที่และพลังงานมากนัก
             เมื่อหลายปกอน ยอดขายของเครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้
             สูงมากเมื่อ เทียบกับประเภทอื่น ๆ แตในปจจุบันยอดขาย
             ของ laptop เขามากินสวนแบงการตลาดมากกวา เจาะกลุม
             ตลาดผูใชทั่ว ๆ ไป
5   คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
    CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts

          2. Laptop
             คือเครื่องคอมพิวเตอรขนาดพกพาแบบกระเปาหิ้ว
             เหมาะสํ า หรั บ การพกพาตั้ ง ใช ใ นสถานที่ต า ง ๆ มี
             ขนาดยอมลงมาจากเครื่อง Desktop เมื่อกอนนี้
             เครื่องประเภทนี้มีนํ้าหนักมากกวา 10 กิโลกรัม ใน
             ปจจุบันมีน้ําหนักเพียง 1-2 กิโลกรัมเทานั้น จอที่ใช
             เปนแบบLCD ทําใหประหยัดพื้นที่ เครื่อง Laptop
             เปนคอมพิวเตอรที่กินสวนแบงทางการตลาดมากขึ้น
             เรื่อย ๆ จนปจจุบันมากกวาเครื่อง Desktop

          3. UMPC
             Ultra-Mobile PC คือเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา
             ที่มีขนาดเล็กกวา Laptop มีการลด spec ของ
               เครื่องใหนอยลง ประหยัดพลังงานมากขึ้น รวมถึงมี
               ความสามารถในเรื่องการปองกันการสั่นไหวของ
               เครื่องที่ดีกวาเครื่อง Laptop เครื่องประเภทนี้
               บางครั้ ง ถู ก เรี ย กว า เครื่ อ ง Netbook หรื อ
               subnotebook ราคาของเครื่องประเภทนี้มีตั้งแต
               7000 บาทขึ้นไป เหมาะสําหรับผูที่ตองการใชงาน
               แบบเดินทางและไมตองการประสิทธิภาพมากนัก

          4. PDA
             Personal digital assistants คือเครื่องคอมพิวเตอรมือ
             ถือ ขนาดเทาฝามือ ปจจุบันเครื่องสวนใหญจะมี
             ความสามารถเปนโทรศัพทเคลื่อนที่ไปในตัว สามารถดู
             ภาพยนตรฟงเพลง ในบางรุนยังฝงความสามารถดาน
             เครือขายเชน Bluetooth Wifi และความสามารถระบุ
             เสนทาง GPS ซึ่งนับวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มี
             ความสามารถรอบดาน จุดเดนของ PDA เนนทางดาน
             งานจดบันทึก การใชงาน Application เล็ก ๆ นอย ๆ
             การดูขอมูลตาง ๆ ตัวอยางเชนเครื่อง iPhone ,
             PocketPC, Plam, Android
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 6
                                                       CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


5. Workstation
   เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในงาน
   เฉพาะดาน แตเดิม CPU
   สําหรับเครื่องคอมพิวเตอร
   ประเภทนี้จะเปน CPU เฉพาะ
   ทางคือเนนงานเปนดาน ๆ ไป
   เชนงานดานกราฟก งานภาพ
   สามมิติ งานประมวลผลขอมูล
   ปจจุบันจะใชรปแบบของการ
                  ู
   นํา CPU หลาย ๆ ตัวเขาไปใสในเครื่องเดียวกัน เครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้มีความเหมือนกันแบบ
   Desktop เพียงแตจะแตกตางรายละเอียดของภายในเครื่อง

6. Server
   เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชเปนเครื่องแมขาย แตเดิมถูกจัดอยูใน
   คอมพิวเตอรประเภท Workstation แตเห็นควรวาแยกออกมา
   เพราะการใชงานของเครื่องมีความแตกตางกันคอนขางมาก
   เครื่องแมขายประเภทนี้ไมจําเปนตองมีจอภาพ เพราะการ
   ควบคุมสามารถควบคุมจากเครื่องลูกขาย ใชเปนแมขายของ
   ขอมูล ตัวอยางที่ชัดเจนคือ ระบบทะเบียนของมหาวิทยาลัย
   ระบบการกระจายขอมูล Internet ในมหาวิทยาลัย

7. Mainframe
   เครื่องคอมพิวเตอรที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงรองมา
   จากเครื่อง Super Computer ธุรกิจที่ใชเชน ธุรกิจประกันภัย
   ธนาคาร สายการบิน สรรมพากร รองรับการทํางานรองขอขอมูล
   จํานวนมาก ๆ

8. Minicomputer
   เครื่องประเภทนี้มีความสามารถที่อยูระหวาง mainframe
   และ Desktop มีการทํางานที่ชวยแกปญหาเรื่องการ
   คํานวณแบบศูนยกลางของ Mainframe ใหสามารถแยก
   คํานวณได ซึ่งความสามารถนี้ทับซอนกับเครื่อง Desktop
   ในปจจุบัน อีกทั้งเครื่องประเภทนี้ไมมีจําหนายในปจจุบัน
7      คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
       CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts

             9. Super Computer
                  เครื่องคอมพิวเตอรที่มีความสามารถสูงสุด
                  ใชคํานวณทางวิศวกรรมชั้นสูง การพยากรณ
                  อากาศ วิเคราะหพันธุกรรม แตก็มีงานเล็ก ๆ
                  ที่ถูกนํามาใชงานดวยเหมือนกันเชน เครื่อง
                  คอมพิวเตอร Deep Blue ของ IBM ที่เอามา
                  แขงเลนหมากรุกกับเซียนหมากรุก




             10. Wearable Computer
                  เครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถสวมใสไดปจจุบันมีนักออกแบบไดทําการออกแบบและผลิตมาใชจริง
                  แลวเชนเครื่องคอมพิวเตอรทสวมที่หัว มีจอที่ดวงตา หรือเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชนิ้วมือเปนตัว
                                             ี่
                  ควบคุม




    หมายเหตุ นักศึกษาควรใหความสําคัญกับการเลือกเครื่องใหใหเหมาะสมกับการใชงานมากกวาจดจําวาเครื่องมีกี่
    ประเภท

    1.3 ความสามารถของคอมพิวเตอร
    ความสามารถ                                                                          มนุษย      คอมพิวเตอร
    ความเร็วในการประมวลผล                                                                               x
    ทํางานซ้ํา ๆ เปนขั้นตอน                                                                            x
    ความถูกตองแมนยําของผลลัพธ                                                                        x
    หนวยเก็บขอมูล                                                                                     x
    ทํางานไดไมหยุดพัก                                                                                 x
    ความคิดสรางสรรค                                                                     x
คอมพิวเตอ เบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
                                                                       อร                    เ                          8
                                                               CA. 206 Intro
                                                                           oduction to Com
                                                                                         mputer for Comm
                                                                                                       munication Arts


        คอมพิวเตอรเขามามีสวนกับชีวิตประจําวันใ
                                                ในหลาย ๆ ดาน ชวยใหการทํา
                                                                          างานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน ตัวอยาง
                                                                                                    ้
การนําคอ วเตอรมาชวยงานเชน
       อมพิ
    - ดานการศึกษา
      ป จ จุ บั น สถา นศึ ก ษานํ า ค อมพิ ว เตอร ม ว ยในกา ร
                                                   มาช
      บริ ห ารจั ด กาารในหลาย ๆ ด า นเช น ห อ ด ระบบ
                                                   องสมุ           บ
      ทะเบียน การ น การเรียน
                      รเงิ           นการสอน กา นควาวิจัย
                                                   ารค
      ชวยยนระยะเ และเพิ่มประสิทธิภาพของงาน แตใน
                     เวลา
      ประเทศไทยน้น ยังขาดคว ่อ มั่นขอ
                      นั             วามเชื        องระบบทําให      ห
      ต อ งมี ก ารใช ร ะบบเอกสา รร ว มด ว ย ทํ าให เ กิ ด ความ
                                                                   ม
      ซ้ําซอนและสิน อง
                      นเปลื
                      ้
    - ดานการวิศวก   กรรม
      นํามาคํานวณ    ณการออกแบบ     บทางดานวิศวก  กรรมในสาขาตาง ๆ เชน กา านวณโครง างอาคาร การสราง
                                                                    ต   ารคํ     งสร
      เครื่องจักร กา ารออกแบบรถยนต การใชคอ วเตอรควบคุมการผลิต
                                                   อมพิ            ว




    -   ดานการแพทย ย
        ดานการแพทยสมัยใหมมการนําคอมพิวเ เขามาชวยเชน
                    ย      ี           เตอร
        การจําลองกา างานของไ ส และตัวยา การจัดเก็บขอมูล
                   ารทํ       ไวรั      า
        ของคนไข ระบ งยา การรักษาทางไกล
                   บบคลั

    -   ดานการเงิน
        ธนาคารเปนสิ่งที่เห็นไดชัดวามีการนําคอมพิวเตอรเขามาใช
                                     ว                     ม
        ที่เราพบประจําวันคือตู ATM การบริหารบญชีลูกคา ตล
                     จํ              M        บั            ลาด
        หลักทรัพยสามารถสงคําสัง ้อขายไดจากที่เครื่องข
                                   งการซื
                                   ่          ด            ของ
        นักเลนหุน กา เคราะหสถิติทางการเงิน
                     ารวิ
9      คอมพวเตอรเบื้อง นสําหรับง เทศศาส
          พิ          งต       งานนิ  สตร
       CA. 20 Introduction tto Computer for Communication Arts
            06                            r

    1.4 การ งาน Wind เบืองตน
          รใช     dows ้ ต
               Windows เปน นระบบปฏิบัติการที่เปนองคปร ระกอบที่มีความ าคัญตอการ างานของคอมพิวเตอร ซึ่งจะกลาวถึง
                                                                      มสํ          รทํ
    รายละเอีย อไปอีกครั้ง ระบบปฏิบัติก Windows ที่มีวางจําหนางปจจุบันเปน Windows Vistta ซึ่งเครื่องของ
             ยดต                         การ           s             า                                      ง
    มหาวิทยา ยเกษมบัณฑิตยังไมไดเปลีย
             าลั                           ยนไปใช ยังใช Windows XP ซึ่งเปน Window ที่ออกจําหนายตั้งแตป พ.ศ. 2544
                                           ่                                        ws         น
    ซึ่งรวมแลวกวา 8 ป และ ะคาดวาจะมีกา ตอไปเรื่อย ๆ จนกวา Win
                                          ารใช                       ndows 7 จะอออกวางจําหนาย แตนักศึกษายังไมตอง
                                                                                                             ยั
    กังวลวาจะเรียนความรูท่เกาไปแลว เพร ้นฐานการ างานมีความ ายคลึงกันต้งแต Window 95 ฉะนั้นการเรียนรู
                            ทีี
                                          ราะพื         รทํ          มคล         ตั         ws
    Windows ใหม ๆ ทําไดไ ยาก
            s                 ไม




                    User Inte
                            erface Windows X
                                           XP                              User In
                                                                                 nterface Windows Vista
                                                                                                s
    การปดปดเครื่อง
                เครื่องคอมพิวเ ของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตเปนเครืองคอมพิวเตอรที่ใชระบบดึงขอ ลจากเครื่องแมขาย
                                เตอร                บั            ่อ                       อมู         ง
    ศูนยกลาง  งของมหาวิทยา ย ทําใหการเ ดเครื่องคอมพวเตอรทุกครังจะเสมือนเปนเ ่องใหมอยูเส ขอดีของระบบแบบ
                                าลั        เป        พิ         ง
                                                                 ้             เครื         สมอ
    นี้คือ ชวยลดภาระในการ แลรักษา ปอ
                                รดู       องการการลงโป
                                                     ปรแกรมหรือไวรัสแพรกระจายใ ่อง แตก็มีปญหาในการ งานอยู
                                                                    รั         ในเครื       มี          รใช
    บางเชน นักศึกษาจะตอง Save งานลงใน Flash Drive หรือเมื่อมีการเรียกใชโปรแ
                                                                    า         แกรมกันจํานวน ๆ อาจจะทําให
                                                                                           นมาก
    เครื่องชาไ และถาเครื่องแมขายมีปญห ่องทุกเครื่องในหองจะไมสามารถใชงา เลย
               ได                           หาเครื   รื             ม       านได
                การเปดเครื่องค วเตอรมข้นตอนดังนี้
                                คอมพิ      ขั
                                           ี
                1. กดสวิททีเครื่อง 1 ครั้ง
                                 ่
                2. สังเกตทีจ  จอภาพวามีไฟ
                              ่          ฟใดปรากฏอยู ถาไมมไฟ หรื นไฟสีสม ใหกดปุมที่จอ เพือใหเปนไฟ เขียว
                                                             ี รอเป                            ่       ฟสี
                หรือใหจออปรากฏเปนภ   ภาพ
             3. เครื่องคอ วเตอรจะ boot ขึ้น พรอม
                        อมพิ                        มปรากฏเมนูใหเลือกวาจะใ เครื่องคอมพิวเตอรแบบใด ใน
                                                                 ใ             ใช        พิ            ด
                ขั้นตอนนีใหนักศึกษาสังเกตใหดีวา ร
                        นี้            สั           ระบบที่ผูสอนส่งในวันนั้น ๆ เปนระบบใด เชน ถาผูสอน
                                                                  สั                                    นบอกวา
                ใหเลือกเครื่อง Computer Graphic 1 ใหเราสังเกตเ หนาหัวขอ Graphic 1 เเปนเลขใด ใหกดปุม
                                                                 เบอร                                   ก
                คียบอรดที่เลขนั้น ๆ แลวกด Enter แตในบางครั้งจะพบวา กดปุม
                                       ล                                      มเลขแลวไมสา
                                                                                          ามารถพิมพได ให
                สังเกตวา ่ไฟคียบอรด วามีไฟสัญญ ้นตรงคําวา NUM หรือไม ถาไมมใหก ม Numlock 1 ครั้ง
                        าที                       ญาณขึ          า                      ี กดปุ
                และกดปุมเลข ก็จะสาม    มารถพิมพเลขขลงไปได
             4. รอเครื่องทางานจนเขาสู Windows
                         ทํ
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 10
                                                               CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


       การปดเครื่องมีขึ้นตอนดังนี้
       1. ปดโปรแกรมและหนาตางใด ๆ ที่ปรากฏใหเรียบรอย
       2. กดที่ปุม Start หรือสัญลักษณ Windows มุมซายลางสุดของหนาจอ
       3. คลิกที่คําสั่ง Turn off computer
       4. จะปรากฏหนาตางขึ้นมา 3 ปุม คือ Restart , Turnoff และ Logoff
                                        
               a. Restart : รีสตารทเครื่องใหม
               b. Turnoff : ปดเครื่องคอมพิวเตอร
               c. Logoff : ออกจากบัญชีทใชเพือใชบัญชีผใชอน
                                            ี่ ่         ู ื่
องคประกอบของหนาจอ
        นักศึกษาหลายคนไมไดสนใจชือเรียกองคประกอบตาง ๆ ของหนาจอ ทําใหเวลาฟงผูสอนแลวไมเขาใจ
                                       ่
        ปฏิบัติไมถูก ทําใหตามไมทันเพื่อน ฉะนั้น องคประกอบหนาจอเปนสวนที่สําคัญที่นักศึกษาควรเรียนรู
        และจดจํา เพื่อที่จะไดเขาใจไดตรงกัน



                   My Computer            Icon




                                                                                   Desktop




           Start          Quick launch                           Taskbar



การจัดการไฟลผาน Windows Explorer
           โปรแกรมที่ชวยจัดการไฟลใน Windows นั้นมีชื่อวา Windows Explorer หรือบางคนเรียกวา My computer ชวย
ทําหนาที่เรียกดูไฟล แกไขชื่อ ลบ คัดคลอก เคลื่อนยาย ความรูเรื่อง Windows Explorer มีความสําคัญมากเพราะเปน
พื้นฐานของการจัดการไฟลของซอฟตแวรทุกตัวที่ทํางานภายใตระบบ Windows
           การเปดเรียกใชงาน Windows Explorer
11   คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts

           1. คลิกที่ Icon My Computer บน Desktop หรือกดคียลัด               +E




           2. ปรากฏหนาตาง Explore




           การเลือกไฟลแบบหลาย ๆ ไฟลแบบกลุม
           1. คลิกที่ไฟลอันดับแรก
                                            1. คลิกไฟลแรก




           2. กด Shift คางเอาไว

                                                 2. กด Shift คางไว


                                                         3. คลิกไฟลสุดทาย

           3. คลิกที่ไฟลสดทายที่ตองการ
                          ุ
           การเลือกและยกเลิกการเลือกทีละไฟล
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 12
                                                      CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


1. กด Ctrl คางไว
2. คลิกที่ไฟลที่ตองการเลือกหรือไมเลือก




การคัดลอกไฟล
1. เลือกไฟลที่ตองการคัดลอก




2. กดปุม Ctrl +C หรือ คลิกขวาที่เมาส เลือกคําสั่ง Copy




3. เลือกตําแหนงปลายทาง กดปุม Ctrl + V หรือคลิกขวาเลือกคําสั่ง Paste เพื่อนําไฟลที่คัดลอกมาวาง




การยายไฟลแบบที่ 1
13   คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts

           1. เปดหนาตาง Explorer ขึ้นมาพรอมกัน 2 หนาตาง คือหนาตางที่ปรากฏไฟลตนทาง และหนาตางที่จะ
              ยายไฟล
           2. คลิกขวาที่ไฟลเลือกคําสั่ง Cut




           3. คลิกขวาที่พื้นที่ที่จะนําไฟลไปวาง เลือกคําสั่ง Paste




           การยายไฟลแบบที่ 2
           1. เปด Explorer ขึ้นมาพรอมกัน 2 หนาตาง คือหนาตางที่ปรากฏไฟลตนทาง และหนาตางที่จะยายไฟล




           2. คลิกเมาสที่ไฟลที่ตองการคางเอาไวและใหลากไปวางไวทปลายทาง
                                                                    ี่
           การลบไฟลแบบกูคืนได
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 14
                                                          CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


1. คลิกที่ไฟลที่ตองการ
2. กดปุม Delete ที่คียบอรด
การลบไฟลแบบไมสามารถกูคืนได
1. คลิกที่ไฟลที่ตองการ
2. กดปุม Shift + Delete ที่คียบอรด
การเปลี่ยนชื่อไฟล
1. คลิกชื่อไฟลที่ตองการจะเปลี่ยนชื่อ 1 ครั้ง เพื่อใหเกิด Highlight




2. คลิกชื่อไฟลซ้ําอีกครั้ง ควรทิ้งระยะหางจากการคลิกครั้งแรกพอสมควร หรือกดปุม F2 ที่คียบอรด




3. พิมพชื่อไฟลเขาไปใหม
4. กด Enter
การ Format Drive
1. คลิกขวาที่ Drive ที่ตองการจะ Format


                                              2. เลือก Format




                                     1. คลิกขวา

2. เลือกที่คําสั่ง Format
3. ปรากฏหนาตางแสดงรายละเอียดการ Format
        a. Capacity แสดงความจุของ Drive
        b. File System รูปแบบของระบบไฟลในที่นี้เลือกเปน NTFS
        c. Allocation unit size พื้นที่ตอ unit
        d. Volume Label ชื่อของ Drive
15   คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts

                    e. Format option ถาตองการเลือก format แบบเร็วใหเลือก Quick format




           การ Zip file หรือการบีบอัดไฟล




           1.   เลือกไฟลหรือ Folder ที่ตองการจะ zip
           2.   คลิกขวาที่บริเวณที่เลือก
           3.   เลือกที่เมนู Send To ->Compressed (zipped) Folder
           4.   ไฟลที่ถูก Zip จะอยูใน Folder ที่เราทํางาน จากนั้นคอยเปลี่ยนชื่อไฟลที่ Zip ไปแลวใหสื่อ
                ความหมาย
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 16
                                                                 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


Key ลัดที่สําคัญ
          การใชงาน Windows นั้นถูกออกแบบมาใหใชงานงายโดยผูใชแทบไมตองจําคําสั่งจากการพิมพบนคียบอรด
ผูใชสามารถคลิกเอาไดจากที่หนาจอ แตคําสั่งบางอยางถาตองการใหรวดเร็ว ก็จะตองใช Shot key เพื่อความสะดวก และ
ยังดูเปนมืออาชีพอีกดวย คียลัดที่สําคัญที่ใชบน Windows มีดังนี้
          Ctrl+Esc = เปดเมนู Start
              +M= Minimize ทุกๆวินโดวสทั้งหมด
              +D = สลับการแสดง Desktop
              +E = เปดวินโดวส Explorer
              +R = เปดวินโดวส Run
              +F = เปดการ Search
          Alt+Tab = สลับโปรแกรมที่กาลังทํางานอยู
                                         ํ
          Alt+F4 = ปดวินโดวสท่กําลังทํางานอยู
                                    ี
          PrintScreen = จับภาพหนาจอทั้งหมดเอาไปไวในคลิปบอรด
          Alt+PrintScreen = จับภาพหนาจอ เฉพาะหนาที่เรียกใชงานดานบนสุด



แหลงขอมูลอางอิง / ศึกษาเพิ่มเติม
    1.    th.wikipedia.org/wiki/คอมพิวเตอร
    2.    th.ambatch.com/wiki/2007/05/computer.html
    3.    learners.in.th/blog/boonsong/39874
    4.    www.geocities.com/kanokwan73/cat.html
    5.    http://computer.howstuffworks.com/10-types-of-computers.htm
    6.    www.bpp.go.th/e-learning/windowsxp_1.html
    7.    http://2poto.com/html/content/view/45/9/
    8.    http://www.bpp.go.th/e-learning/windowsxp_4.html
    9.    http://en.wikipedia.org/wiki/Windows_Explorer
    10.   http://www.seoconsultants.com/windows/key/
    11.   http://support.microsoft.com/kb/126449
17     คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
       CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts




                                 บทที่ 2
                        การทํางานของคอมพิวเตอร




     จุดประสงคการเรียนรู
        1. ผูเรียนสามารอธิบายการทํางานของระบบคอมพิวเตอรได
        2. ผูเรียนสามารบอกชื่ออุปกรณคอมพิวเตอรตามหนวยการทํางานได
        3. ผูเรียนสามารถจดจําชื่ออุปกรณและบอกไดวาอุปกรณน้น ๆ ชื่ออะไร
                                                              ั
        4. ผูเรียนสามารถติดตั้งระบบปฏิบัตการ Windows XP ได
                                           ิ
        5. ผูเรียนสามารถติดตั้งซอฟตแวรได 1 ซอฟตแวร
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 18
                                                                  CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


บทที่ 2 การทํางานของคอมพิวเตอร
             การเขาใจระบบการทํางานของคอมพิวเตอรฟงดูแลวอาจคิดวาเปนเรื่องยาก แตที่จริงแลวคอมพิวเตอรมีรูปแบบ
การทํางานไมตางจากมนุษย ถานํามาเปรียบเทียบกับการทํางานของมนุษยเราก็จะเขาใจที่มาที่ไปของคอมพิวเตอรไดงาย
ยิ่งขึ้น การไมเขาใจระบบคอมพิวเตอร อาจจะทําใหเราแกปญหาไมได รวมทั้งถูกหลอกอีกดวย
             เหตุการณที่ดูเหมือนเรื่องตลกแตมีจริงมาแลวคือ มีคนนําคอมพิวเตอรมาใหซอมแลวบอกวาเครื่องติดไวรัสจาก
จอภาพ เพราะวา จอภาพลมเคลื่อนเปนเสน ๆ ซึ่งจอภาพ เปนอุปกรณ Output ไมมทางเปนพาหะของไวรัสใด ๆ ได ถาเรา
                                                                                ี
ไมรูเรื่องระบบการทํางานเราจะเรียกตัวเองไดไมเต็มปากวาเปนคนที่ใชงานคอมพิวเตอรเปน เอาละเรามาเริ่มจากแผนผัง
ระบบการทํางานของคอมพิวเตอรกันเลย

2.1 โครงสรางระบบการทํางานของคอมพิวเตอร




           ดานบนคือแผนผังการทํางานของระบบคอมพิวเตอร หลายคนอาจจะดูแลวรีบปดหนังสือเก็บทันที เมื่อเห็นชื่อ
ระบบเปนภาษาอังกฤษ ซึ่งการใชคอมพิวเตอรจะหลีกหนีภาษาอังกฤษไมได เราควรทําความเขาใจมากกวาการจดจํา การ
ใชคอมพิวเตอรคําศัพทจะวน ๆ อยูไมกี่คํา งายกวาภาษาสนทนาและการเรียน Grammar อยูหลายคุม ผังดานบนเปน
จุดเริ่มตนที่ดีที่จะเขาใจระบบคอมพิวเตอร เราลองมาดูกันทีละหัวขอวาแตละหัวขอมีลักษณะคลายกับการทํางานของ
มนุษยอยางไรบาง
     - Input unit หนวยปอนเขา จํางาย ๆ วา in แปลวาใน ฉะนั้นมันตองปอนเขาแนนอน หนวยปอนเขาทํา
         หนาที่รับคําสั่งนั้นเอง เปรียบเสมือนเปน หู หรือตา ของ มนุษย สมมุติวาครูส่งการบานนักเรียนใหไปทํา
                                                                                ั
         โดยบอกโจทยปากเปลา
19   คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts

      -    Memory unit คือหนวยความจํา ถาเปรียบกับสมองคนก็เหมือนความจําระยะสั้น ขั้นตอนนี้ก็เหมือนกับ
           สวนที่เราทดในใจหรือฟงโจทยที่มีครูถาม ซึ่งระหวางฟงโจทยบางทีเราก็ไมไดคิดทันที




      -    Processer unit คือสวนประมวลผล ในขั้นตอนนี้เปรียบเสมือนสมองที่ใชคิดเมื่อไดรับโจทยครบถวนแลว
           เราก็เตรียมคิด คิดเร็วคิดชาก็ขึ้นอยูกับความสามารถดานประมวลผลของสมองแตละคน แตถาเราคิด
           แลวยังคิดไมออก จะเรียกคําถามจากความทรงจํามาอีกรอบก็ไปดึงที่ Memory




      -    Storage unit ถาเกิดคิดออกแลวแตสิ่งที่อยากจะตอบ สงครูพรุงนี้จะใหจําในสมอง เกิดนอนหลับขึ้น
           มาแลวลืมจะทําอยางไร เราก็ตองการสมุดจดบันทึก เพื่อบันทึกสิ่งที่เราตอบไปไวเพือใชสงครูในวันพรุงนี้
                                                                                          ่
           สวนนี้เองเปนหนาที่ของ Storage
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 20
                                                                 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts



    -   Output unit คือสวนที่ตองแสดงผล เมื่อเราไดคําตอบแลวอยากจะบอกคําตอบกับครูก็ใชปากพูด หรือ
        เขียนลงในกระดาษสงใหครู เพื่อใหครูเห็นหรือใหครูอาน




2.2 อุปกรณแยกตามประเภทหนวยการทํางาน




          ระบบคอมพิวเตอรนั้นก็สอดคลองกับวิธีการทํางานของมนุษยอยางเราเหมือนกัน ความนี้เราลองมาเปรียบเทียบ
วา หนวยทํางานหรือ Unit ตาง ๆ มันเปนสวนไหนของคอมพิวเตอรกันบาง

    1. Input unit หนวยปอนเขา เปนหนวยที่ปอนขอมูลเขาไปในระบบคอมพิวเตอร ทั้งแบบการวาด การพิพม
        การถายภาพ การบันทึกภาพเคลื่อนไหว การสงคาตําแหนง อุปกรณที่เกี่ยวของมีดังนี้




             Mouse                               Keyboard                                Digital Camera
21   คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts




                Scanner                                Microphone               Touch screen




                Joystick                                Touchpad                  Digitizer




                 Tablet                                DV Camera                  Webcam




           Track ball                      Barcode reader                Interactive Whiteboard
      2. Memory unit หนวยความจําหลัก แบงออกเปน 2 ประเภทก็คือ RAM และ ROM ชื่อคลายกับวาเปนพี่นอง
           กันแตมีความสามารถตางกันคือ




                                         ROM                              RAM
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 22
                                                         CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


   - RAM เขียนไดลบได แตวาถาไฟดับ ขอมูลจะหาย บางคนจะเรียกวาหนวยความจําชัวคราว
                                                                                   ่
   - ROM เขียนไมได ลบก็ไมได แตวาไฟดับ ขอมูลยังอยู บางคนจะเรียกวาหนวยความจําถาวร
3. Processer unit หนวยประมวลผล คือสวนที่ทําหนาที่ในการคิด ซึ่งถาหนวยประมวลผลดี ๆ ก็จะชวยใหคิด
   ไวขึ้น สวนประมวลผลหลักจะเรียกวา CPU นอกจากคิดไวแลวยังมีสวนพรสวรรคเพิ่มเติมเหมือนมนุษยที่
    บางคนนอกจากคิดไวแลวยังวาดภาพเกง ยังรองเพลงเกง หนวยประมวลผลของคอมพิวเตอรก็ยังมีสวน
    ชวยใหการสรางภาพใหสมจริงเปนรูปแบบสามมิติ เรียกอุปกรณตัวนี้วา Graphic Card หรือสังเคราะห
    เสียงไดรอบทิศทาง Soundcard




      CPU Intel                           Graphic Card                              Sound Card




      CPU AMD                         External Graphic Card                     External Sound Card

4. Storage Unit หนวยในการจัดเก็บขอมูลสํารอง ซึ่งแบงออกเปน 3 เทคโนโลยีหลัก ๆ คือ เก็บดวยแมเหล็ก
    เก็บดวยแสง และเก็บดวยแผงวงจรอิเลคทรอนิกส
       แมเหล็ก                              แสง                              แผงวงจรอิเลคทรอนิกส
•   Hard disk                     •   CD-ROM                              •     Flash drive
•   Floppy Disk                   •   DVD-ROM                             •     MMC
•   Magnetic Tape                 •   HD-DVD                              •     SD Card
•   Laser servo                   •   Blu Ray                             •     CF Card
•   Zip Drive                     •   Mo Drive                            •     XD Card
•   Jaz Drive                                                             •     Memory stick
23   คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts




              Hard disk                               Floppy Disk     Magnetic Tape




            Laser servo                                Zip Drive        Jaz Drive




              Mo Drive                      CD DVD HD-DVD Blue ray     Flash Drive




            Flash Drive                               MMC              SD Card




             CF Card                                XD Card          Memory Stick
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 24
                                                           CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts



5. Output unit หนวยแสดงผล ทําหนาที่แสดงผลลัพธ ซึ่งแบงออกเปน 2 รูปแบบคือ
    • Softcopy คือการแสดงผลแบบจับตองไมได เชน จอภาพ LCD CRT LED Projector Speaker
    • Hardcopy คือการแสดงผลแบบจับตองได เชน Inkjet Printer, Dot-matrix Printer, Laser Printer, Inkjet




          LCD                                  CRT                                    Projector




        Speaker                            LED Monitor                                 Plasma




     Inkjet Printer                   Dot-matrix Printer                           Inkjet Plotter




    Thermal Printer                      Laser Printer                             Cutter Plotter
25      คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
        CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts

     2.3 การติดตั้ง Windows
                การติดตั้ง Windows เปนศาสตรลึกลับอยางหนึ่งที่ชางคอมพิวเตอรชอบสะกดจิตบอกผูซื้อวามันยากแสนยาก
     ทําไมเปนเดี่ยวเครื่องพัง ฉะนั้นเอามาใหชางทําเสียดี ๆ แลวก็โดนฟนไปตามระเบียบ 300 – 1000 บาท เรายังจะยอมจาย
     เรื่องไมเปนเรื่องอยูอีกไหม ก็ลองคิดดูเอง เพราะวาตอไปนี้จะสอนใหเราติดตั้ง Windows ซึ่งถาใครตองการลงเครื่องใหมก็
     ทําตามวิธีที่จะบอกตอไปนี้ไดเลย แตกอนที่จะติดตั้งขั้นตอนแรกที่ขาดเสียไมไดคือการซื้อ Windows มากอน Windows xp
     ของแทนั้นราคามีตั้งแต 1 พันตน ๆขึ้นไป แลวแตรุนและรูปแบบสิทธิการใช ซึ่งบาสิทธ อยาง OEM เขาใหใชเพียงเครื่อง
     เดียวถาเครื่องนี้พังไป สิทธิ์ก็จะหายตามไปดวย ฉะนั้นบางทีของถูก ๆ ก็อาจจะไมไดดีเสมอไป รายละเอียดเรื่องสิทธิของ
     Software นั้นขอใหอานในบททาย ๆ รวมถึงประเภทของ Windows xp ดวย ซึ่งในหอง LAB ของเราถาผูสอนใหติดตั้ง
     Windows มีหวังจะตองโดนไลออก หรือโดนทางศูนยคอมพิวเตอรวาแน ๆ ฉะนั้น จึงนําตัวจําลองการติดตั้งมาใหศึกษากัน
     เรียกวา Simulator Installation




                                            โฆษณาการรับจางติดตั้ง windows
              ขั้นตอนการติดตั้ง Windows XP มีดังนี้
              1. ใสแผน Windows ไปที่ Drive CD หรือ DVD จากนั้นให restart เครื่องใหม




              2. เมื่อเครื่อง boot เขามาในระบบ รอซักพักจะเขาสูโหมดหนาจอสีน้ําเงิน และมีตัวหนังสือบนหนาจอ
                   มากมาย
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 26
                                                        CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


3. ระบบจะถามวาจะติดตั้ง Windows จริงหรือไม ถาจริง กด Enter
4. โปรแกรมจะแจงขอกําหนดการใชโปรแกรม ซึงเชื่อวา รอยละ 99 ก็จะไมอานกัน ถาอานจนเขาใจ
                                                ่
   หรือไมเขาใจก็ใหกด F8 เพื่อทําการยืนยันวายินยอมในสิ่งที่อาน




5. เลือก Drive ของ Hard disk ที่จะลง ซึ่งสวนใหญจะเลือกเปน Drive C




6. เลือกรูปแบบ FAT ซึ่งไมไดหมายความวา มันอวนหรืออะไรทั้งสิ้น FATตัวนี้หมายถึง รูปแบบการแบง
   พื้นที่ตอ 1 หนวยใน Harddisk ในที่นี้ควรเลือกเปน NTFS ( ถาใครอยากรูเพิ่มเติมวา FAT คืออะไร และใช
   กับอะไรแนะนําใหอาน http://www.ntfs.com/ntfs_vs_fat.htm เพราะถาผูสอนสอนไป จะโดนกรรมการวิชาการ
   วาไดวาคุณจะสอนใหเด็กเปนชางคอมหรือ ฉะนั้นเลยชางหัว FAT มัน )




7. รอแลวก็รอ ซึ่งขึ้นอยูกับประสิทธิภาพเครื่องวาแรงแคไหน แตตัว Simulator ที่ใหลองในหอง LAB จะ
   เร็วมาก รอจนกวาเครื่องจะ Boot ใหม
27   คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts

           8. เขาสูโหมด windows มีขอความตอนรับ จะมีหนาตางใหตั้งคา Regional and Language Options




           9. หนาตาง Regional and Language Options เปนหนาตางที่ชวยตั้งคาระบบ Windows ใหแสดงสกุล
              เงิน วันที่ ภาษา แปนพิมพ ใหเปนของประเทศนั้น ๆ ซึ่งใน windows XP เปน OS ที่รองรับการทํางาน
              หลากหลายภาษา โดยถาไมตั้งคาสวนนี้ Windows จะถูกตั้งคาเปนภาษาอังกฤษ และเราจะไม
                สามารถพิมพขอความเปนภาษาไทยไดอยางปกติ แตก็ยังสามารถกลับมาตั้งคาไดแตภายหลัง ทางที่
                ดีควรตั้งคาตั้งแตตอนติดตั้งจะสะดวกมากกวา โดยการคลิกที่ Customize และตั้งคาตามตัวอยาง
                ดานลางนี้
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 28
                                                       CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


10. เลือกสวนตาง ๆ ใหเปนไทยทั้งหมด แลวกด ok ตามรูปภาพดานบน แลวกด OK
11. ตั้งชื่อผูใช และ ชื่อหนวยงานบริษัท จากนั้นกด Next




12. ระบบจะถาม CD key ใหเราพลิกดูที่ใบ ที่แนบมากับในกลองของแท แตที่เราใชเปน Simulator ก็ใส
    เลขอะไรก็ได กด




13. ระบบจะใหตั้งชื่อเครื่อง และ รหัสผูใช ตรงสวนของรหัสผูใชจะตองกําหนดใหตรงกันทั้ง 2 ชอง




                                                                                                         ’
29   คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
     CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts



           14. ตั้งคาวันที่ และตําแหนงที่ตั้งของเครื่อง โดยประเทศไทยตั้งเปน Bangkok Hanoi Jakata




           15. รอซักพัก เครื่องจะทําการติดตั้งระบบจากนันจะเขาสูหนาจอการตั้งคาระบบเครือขาย ใหเลือกที่
                                                       ้
               Typical Sittings จากนั้นใหกด Next
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 30
                                                       CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


16. ตั้งชื่อกลุมของเครือขาย โดยปกติจะตั้งเปน Workgroup การตั้งแบบนี้เพื่อใหเครื่องในเครือขาย
    เดียวกันสามารถเชื่อมโยงขอมูลไดงายยิ่งขึ้น




17. เรียบรอยเขาสู Windows โดยสมบูรณ
31      คอมพวเตอรเบื้อง นสําหรับง เทศศาส
           พิ          งต       งานนิ  สตร
        CA. 20 Introduction tto Computer for Communication Arts
             06                            r

     2.4 การ ดตั้ง Softw
           รติ         ware
             โปรแกรมตาง ๆ ที่ใชงานอยูบ Windows จ องผานขั้นตอนการติดตั้งกอน การติดตั้งมีขึ้นตอนแตกตางกันแต
                                      บน
                                                   จะต         ต             ก                      ต
     ละโปรแกรมแตจะมีหลัก
                        กการคลาย ๆ กััน ฉะนั้นถานักศึกษาเขาใจหลักการติดตั้งก็จ
                                                                 ลั            จะสามารถติดตั้ง โปรแกรมไดเองทุก
     โปรแกรม




                                     ขั้นตอ
                                          อนการติดตั้งโป
                                                       ปรแกรมชนิดตองใส Serial Nu
                                                                   อ             umber




                                    ขั้นตอน ดตั้งโปร
                                          นการติ   รแกรมชนิดไมตองใส Serial N
                                                               ต             Number

     แหลงขอ ลอางอิง / ศึกษาเพิ่ม ม
           อมู                    มเติ
         1.   http://en.wikip
                            pedia.org/wikki/Computer_s   system
         2.   http://www.nttfs.com/ntfs_vvs_fat.htm
         3.   http://www.thaiall.com/os/o os01.htm
         4.   http://www.lkss.ac.th/kuanjitt/it002_1.htm
         5.   http://www.attom.rmutphysics.com/charu      ud/scibook/co
                                                                      omputer/syste
                                                                                  em/sys_index
                                                                                             x.htm
         6.   http://www.dld.go.th/ict/artticle/soft/soft0
                                                         02.html
         7.   http://smf.na--man.com/index.php?topic=562.0
         8.   http://computter.act.ac.th/c
                                         comservice/pa   age6.htm
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 32
                                                    CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts




                              บทที่ 3
                         เจาะลึก Hardware




จุดประสงคการเรียนรู
  1. ผูเรียนสามารถจําแนกประเภทของอุปกรณคอมพิวเตอรได
  2. ผูเรียนสามารถบอกหนาที่ของอุปกรณคอมพิวเตอรที่จําเปนตองานสายนิเทศศาสตรได
  3. ผูเรียนสามารถเลือกประเภทของ CPU ไดอยางเหมาะสม
  4. ผูเรียนสามารถเลือกหนวยความจําสํารองไดเหมาะสมตามงานที่ระบุ
  5. ผูเรียนสามารถเลือกเครื่องพิมพไดเหมาะสมตามงานทีระบุ
                                                       ่
  6. ผูเรียนสามารถเลือกหนวยความจําชั่วคราวไดอยางเหมาะสม
33      คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร
        CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts


     บทที่ 3 เจาะลึก Hardware
               จากบทที่ 2 ไดกลาวถึงหนาที่ของแตละหนวยการทํางานของ Hardware มาในบทที่ 3 จะเจาะลึก Hardware แต
     ละชิ้นวามีรายละเอียดและการทํางานอยางไร บาง ในบทนี้จะชวยใหเราสามารถเลือกซื้อ Hardware ไดอยางเหมาะสมกับ
     งาน และประเภทของงาน เรามาเจาะลึกกันเปนสวน ๆ กันดังนี้

     3.1 Input unit
                จากผังการทํางานของคอมพิวเตอรในบทที่ 2 จะพบวากอนที่จะ
     ถึงหนวยประมวลผล จะมีหนวยรับขอมูลหรือ input unit คอยปอนคําสั่ง
     เขาไปซึ่งหนวยรับขอมูลนี้เองเปรียบเสมือนการมองเห็นของตา การไดยน
                                                                      ิ
     ของหู การไดกลิ่นของจมูก อุปกรณ input unit มีมากมายหลายหลาย
     รูปแบบ ดังนี้ Mouse, Keyboard, Trackball, Touchpad, Scanner,
     Camera, Microphone, Touch screen, Joystick, Digitizer

              3.1.1    แปนพิมพ (Keyboard)




               แปนพิมพ (Keyboard) เปนหนวยรับขอมูลเขาที่จําเปนสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานอยูในปจจุบัน ซึ่ง
     Keyboard จะมีการบอกรุนของคียบอรดโดยใชเลขของจํานวนคีย เชน keyboard 101 ก็จะหมายถึงมี จํานวนของคีย
     เทากับ 101คีย บนแปนพิมพ
               การเลือกซื้อ Keyboard
               1. เลือก Keyboard ที่กดแลวถนัดมือ ควรจะลองกอนซื้อ ผูใชบางรายชอบคียบอรดที่กดแลวเสียงดัง บางคน
                   ชอบกดแลวรูสึกนิ้มมือ




                               Layout ของ Keyboard เครื่องตั้งโตะ                    Layout ของ Keyboard เครื่อง Laptop
คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร                 34
                                                                    CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts



         2. รูปแบบปุมของ keyboard วามีการจัดวางรูปแบบใด ถาผูที่ใช notebook กับ คอมพิวเตอรตั้งโตะ
              สลับกันจะมีปญหาในการไมคุนมือเชน การเรียงปุมที่ไมเหมือนกัน ตําแหนงของปุมสําคัญ เชนปุม
              Ctrl และปุม windows key สลับกัน




                            Port แบบ PS/2                                     Port แบบ USB


         3. Port ของคียบอรดที่ใช รองรับการทํางาน Port ของเครื่องที่เราใชหรือไม เพราะเครื่องบางเครื่องไมมี
            Port PS/2 จึงจําเปนตองใชคียบอรดแบบ USB
                                          

         3.1.2    เมาส (Mouse)
           Mouse หรือบางคนเรียกวาหนูคอมพิวเตอรนั้นที่จริงแลวชื่อเริ่มแรกของมันชื่อวา Bug หรือวา แมลงนั้นเอง แตไม
เปนที่นิยมเรียกกัน สวนใหญจะเรียกวา Mouse แทนทําใหคํา ๆ นี้ติดปาก และถูกใชเปนมาตรฐานในปจจุบัน Mouse เปน
อุปกรณนําเขาขอมูลพื้นฐานชนิดหนึ่งที่ไดรับความนิยม ในปจจุบันเครื่องคอมพิวเตอรตั้งโตะทุกเครื่องตองมี Mouse ใชกัน
เนื่องจากโปรแกรมสวนใหญในปจจุบน อาศัยการทํางานแบบกราฟก รูปภาพ สัญลักษณ และยิ่งงานดานสายนิเทศศาสตร
                                      ั
แลวนั้น เมาสมีความจําเปนมากในการสรางสรรคงาน
           การเลือกซื้อ Mouse
           1. เลือกซื้อเมาสท่ีถนัดมือ ควรลองกดปุมตาง ๆ และลองจับใชงานกอนซื้อ
           2. ควรเลือกซื้อเมาสที่เปนแบบ Optical Mouse เพราะเปนเมาสแบบที่ไมมีลูกบอลขางใต หมดปญหาเรื่อง
               การดูแลรักษา และใชงานไดทุกสภาพพื้นผิว ยกเวนกระจก และวัตถุผิวมัน ถาใครตองการใชงาน เมาสบน
               วัตถุผิวมันแนะนําใหใช Laser Optical Mouse แทน
           3. Port ของเมาสควรเปนแบบ USB
           4. เลือกMouseที่มีสายที่คงทนแข็งแรง
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer
Introduction to computer

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศnottodesu
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคWirachat Inkhamhaeng
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมปยล วชย.
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2Oh Aeey
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง25580994969502
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์Wirachat Inkhamhaeng
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คNichakarnkvc
 

Mais procurados (18)

Chepter1
Chepter1Chepter1
Chepter1
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบค
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
โครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่าง2558
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจแนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
แนวข้อสอบเทคโนโลยี่เบิ้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงสร้างรายวิชาคอม ม.1
โครงสร้างรายวิชาคอม ม.1โครงสร้างรายวิชาคอม ม.1
โครงสร้างรายวิชาคอม ม.1
 
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
โครงงานเรื่อง ลำโพงจากจอคอมพิวเตอร์
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 

Semelhante a Introduction to computer

แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนMayuree Janpakwaen
 
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนเกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนbennypong
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บtanongsak
 
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์Pises Tantimala
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นWithawat Na Wanma
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นTonic Junk
 

Semelhante a Introduction to computer (20)

แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
01 ipst microbox
01 ipst microbox01 ipst microbox
01 ipst microbox
 
ข้อสอบ O-net ปี 52
ข้อสอบ O-net  ปี 52ข้อสอบ O-net  ปี 52
ข้อสอบ O-net ปี 52
 
03activity1
03activity103activity1
03activity1
 
Comandtechno5
Comandtechno5Comandtechno5
Comandtechno5
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Js unit 1
Js unit 1Js unit 1
Js unit 1
 
P5202240039
P5202240039P5202240039
P5202240039
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียน
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนเกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
้html
้html้html
้html
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
Unit1new
Unit1newUnit1new
Unit1new
 
Unit1new (1)
Unit1new (1)Unit1new (1)
Unit1new (1)
 
onet-Work4 43
onet-Work4 43onet-Work4 43
onet-Work4 43
 
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
บทที่1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น // วิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับงานนิเทศศาสตร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้นคอมพิวเตอรเบื้องต้น
คอมพิวเตอรเบื้องต้น
 

Mais de Pises Tantimala

Rulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonRulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonPises Tantimala
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ Pises Tantimala
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalartPises Tantimala
 
แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100Pises Tantimala
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308Pises Tantimala
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomercePises Tantimala
 
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยบทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยPises Tantimala
 
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Pises Tantimala
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Pises Tantimala
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์Pises Tantimala
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอPises Tantimala
 
บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork Pises Tantimala
 
บทที่3internet
บทที่3internetบทที่3internet
บทที่3internetPises Tantimala
 

Mais de Pises Tantimala (20)

Rulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoonRulebook Phuket hotel tycoon
Rulebook Phuket hotel tycoon
 
Symboldesign
SymboldesignSymboldesign
Symboldesign
 
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
มุ่งสู่การเป็นบุคลากรที่มีคุณภาพ
 
Port
PortPort
Port
 
Resume Pises Tantimala
Resume Pises TantimalaResume Pises Tantimala
Resume Pises Tantimala
 
Seo_pdf
Seo_pdfSeo_pdf
Seo_pdf
 
Introduction to digitalart
Introduction to digitalartIntroduction to digitalart
Introduction to digitalart
 
แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100แผนการสอนJm100
แผนการสอนJm100
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308
 
Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308 Course syllabus AD.308
Course syllabus AD.308
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomerce
 
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัยบทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
บทที่14ระบบรักษาความปลอดภัย
 
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552Quality Assurance communication Arts KBU 2552
Quality Assurance communication Arts KBU 2552
 
Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1Present QA for kbu draft1
Present QA for kbu draft1
 
Googleplus thailand
Googleplus thailandGoogleplus thailand
Googleplus thailand
 
Social4pr
Social4pr Social4pr
Social4pr
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
การออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอการออกแบบสื่อนำเสนอ
การออกแบบสื่อนำเสนอ
 
บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork บทที่4socialnetwork
บทที่4socialnetwork
 
บทที่3internet
บทที่3internetบทที่3internet
บทที่3internet
 

Introduction to computer

  • 1. t 29 h 3E 0 0dn ti o PeT i a s n stil ma a IT NR F RO U T O DC C M IN OMO T U I OC NC A IO P C.6 A0 2 TO M U NA T R RS T E
  • 2. คํานํา เอกสารประกอบการสอนเลมนี้เปนการเขียนขึ้นมาใหมทั้งเลม โดยไดความรูพื้นฐานมาจากเอกสาร ตํารา ขอมูลบน Internet ซึ่งมีมากมาย บวกกับความรูของผูเขียนในการใชงานคอมพิวเตอรกวา 17 ป แต นั้นไมไดแปลวาการที่คนมีความรูคอมพิวเตอรกวา 17 ปจะรูเรื่องคอมพิวเตอรทุกเรื่อง ยิ่งเทคโนโลยี คอมพิวเตอรมีความเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ไมวาผูที่มีประสบการณเทาใด ก็ควรจะเรียนรูติดตามเรื่องใหม ๆ อยูเสมอ เรื่องราวในเอกสารปูพื้นฐานตั้งแตการใชงานคอมพิวเตอรเบื้องตนไปจนถึงการผลิตสื่ออยางงาย ๆ เพื่อเปนพื้นฐานแกผูเรียนในการเรียนวิชาตาง ๆ ของทางคณะ ทั้งประโยชนทางตรงในการเรียนวิชาที่ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร เชน วิชาการตัดตอ วิชาการผลิตสื่อ วิชาวารสารออนไลน วิชาเอนิเมชั่น ฯลฯ และ ทางออมในการใช PowerPoint ทําสื่อนําเสนอหนาชั้นเรียน การใช Word พิมพเอกสารรายงาน การสืบคน ความรูจาก internet เพื่อนําเนื้อหามาทํารายงาน เอกสารประกอบการสอน CA.206 ไดมีการปรับปรุงพัฒนาอยางตอเนื่อง ไดมีการแกไขเนื้อหาที่จะ นํามาสอนใหใหมอยูเสมอ ผูเรียนเองนอกจากจะอานความรูในหนังสือแลว ยังควรจะตองหาขอมูลประกอบ เพิ่มเติม ซึ่งในทายบทไดมีการบอก Link ที่เปนประโยชนเกี่ยวกับบทนั้น ๆ ผูเขียนหวังวาเอกสารประกอบการสอนเลมนี้จะมีประโยชนกับผูเรียน ใชประกอบการศึกษาใน รายวิชา และถาเอกสารการสอนมีขอบกพรองเชนพิมพผิด ขอมูลผิด ใหติดตอกับผูสอน เพื่อทําการแกไขใน เอกสารการสอนรุนตอไป จะเปนประโยชนอยางยิ่ง พิศศ ตันติมาลา
  • 3. เรื่อง สารบัญ บทที่ 1 รูจักกับคอมพิวเตอร 1 1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร 2 1.2 ชนิดของคอมพิวเตอร 3 1.3 ความสามารถของคอมพิวเตอร 7 1.4 การใชงาน Windowsเบื้องตน 9 บทที่ 2 การทํางานของคอมพิวเตอร 17 2.1 โครงสรางระบบการทํางานของคอมพิวเตอร 18 2.2 อุปกรณแยกตามประเภทหนวยการทํางาน 20 2.3 การติดตั้ง Windows 25 2.4 การติดตั้ง Software 31 บทที่ 3 เจาะลึก Hardware 32 3.1 Input unit 33 3.2 Maim Memory 39 3.3 Processing Unit 41 3.4 Storage unit 44 3.5 Output unit 49 บทที่ 4 สวนเชื่อมตอ และอุปกรณสนับสนุน 54 4.1 Computer Interface 55 4.2 อุปกรณอื่น ๆ 58 4.3 Microsoft word 59 บทที่ 5 ซอฟตแวร และ ซอฟตแวรกราฟก 74 5.1 ซอฟตแวรระบบ (System Software) 75 5.2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software) 77 5.3 สิทธิ์เกี่ยวกับ ซอฟตแวร 83 5.4 Photoshop ตอนที่ 1 84 บทที่ 6 ประเภทของไฟล และระบบสี 99 6.1 ไฟลภาพ 100 6.2 ไฟลเสียง 104 6.3 ไฟลวีดีโอ 105 6.4 ระบบสีของคอมพิวเตอร 106 6.5 Photoshop ตอนที่ 2 108 บทที่ 7 เทคโนโลยี internet 115 7.1 ประวัติ Internet 116 7.2 การเชื่อมตอ Internet 117 7.3 ความหมายของ Website 118
  • 4. เรื่อง สารบัญ 7.4 ยุคของเว็บไซต 119 7.5 Web browser 125 7.6 Email ( electronic mail ) 126 7.7 Photoshop ตอนที่ 3 128 บทที่ 8 การคนหาขอมูลบน internet 135 8.1 แนะนําเว็บ Search Engine 136 8.2 เทคนิคการคนหาขอมูล 139 8.3 เทคนิคการคนหาขอมูลทางภูมิศาสตร 140 8.4 การ Upload ภาพขึ้นบน Internet 144 บทที่ 9 New media 148 9.1 New Media คืออะไร 149 9.2 ชองทางของ New Media 149 9.3 การสราง QR-Code 154 9.4 การ download Clip Youtube 155 9.5 การใชงาน Noknok Micro Blogging 155 บทที่ 10 Blog 177 8.1 ความหมายของ Blog 158 8.2 ประเภทของ Blog 158 8.3 เหตุผลของการเขียน Blog 161 8.4 การเขียน Blog 162 8.5 การสราง Blog ใน Blogspot 164 บทที่ 11 Online VDO 169 8.1 ความสําคัญของ Online VDO 170 8.2 ตัวอยางความสําเร็จของ Online VDO 170 8.3 กระบวนการสราง Online Video 172 8.4ไฟล VDO 172 8.5 การแปลงไฟล Video 174 8.6 การตัดตอ VDO ดวย Movie Maker 175 8.7 การใชบริการ Youtube 177 8.8 แนะนํา VDO Site 180 บทที่ 12 e-commerce 181 8.1 ประวิติของ e-commerce 181 8.2 ความหมายของ e-commerce 181 8.3 ประเภทของ e-commerce 184
  • 5. เรื่อง สารบัญ 8.4 เหตุผลที่พาณิชอิเล็กทรอนิกสถึงไดรบความนิยม ั 185 8.5 อุปสรรคของการคาพาณิชอิเล็กทรอนิกส 185 8.6 กรณีศึกษา e-commerce กับงานนิเทศศาสตร 186 8.7 การสมัครสมาชิกรานคาบน internet 186 บทที่ 13 นําเสนองานดวยสื่ออิเล็กทรอนิกส 189 13.1 ซอฟตแวรการนําเสนองาน 190 13.2 ทฤษฏีการนําเสนอ 191 13.3 ขอพิจารณาการสรางสื่อนําเสนอ 191 13.4 การใชงาน Powerpoint ครั่งที่ 1 192 บทที่ 14 ระบบรักษาความปลอดภัย และ กฏหมายคอมพิวเตอร 201 14.1 ไวรัสคอมพิวเตอร 202 14.2 อาการของเครื่องที่ติดมัลแวร 203 14.3 แนวทางการปองกันมัลแวร 204 14.4 ซอฟตแวรที่ชวยรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร 204 14.5 นักเจาะระบบ 204 14.6 พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.2550 205 14.7 การใชงาน PowerPoint 2 207 บทที่ 15 นิเทศศาสตรกับคอมพิวเตอร 213 15.1 อาชีพของนักนิเทศศาสตรกับคอมพิวเตอร 214 15.2 วุฒิบัตรในสายคอมพิวเตอร 217
  • 6. 1 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts บทที่ 1 รูจักกับคอมพิวเตอร จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ผูเรียนสามารบอกถึงความหมายของคอมพิวเตอรได 2. ผูเรียนสามารถเลือกประเภทของคอมพิวเตอรใหเหมาะสมกับงานได 3. ผูเรียนสามารถจําแนกประเภทของคอมพิวเตอรได 4. ผูเรียนสามารถบอกประโยชนของคอมพิวเตอรได 5. ผูเรียนสามารถเปดและปดเครื่องคอมพิวเตอรได 6. ผูเรียนสามารถบอกชื่อของขององคประกอบของหนาจอได 7. ผูเรียนสามารถ ใชคําสัง ในการ ลบ เคลื่อนยาย คัดลอก เปลี่ยนชื่อได และบีบอัดไฟลได ่
  • 7. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 2 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts บทที่ 1 รูจักกับคอมพิวเตอร เทคโนโลยีที่มีบทบาทกับสังคมในปจจุบันคงหนีไมพนคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรถูกนํามาใชในงานหลาย ๆ ดานทั้งทางตรงและทางออม แฝงเขาไป อยูในอุปกรณตาง ๆ คอมพิวเตอรมีการพัฒนาอยางตอเนื่องและรวดเร็ว ทําให ตองมีการใหความรูเรื่องนี้กบผูเรียนในทุก ๆ ศาสตร ั ในงานสายนิเทศศาสตรก็มการนําคอมพิวเตอรเขามาใชในดาน ี กระบวนการผลิต จนถึงกระบวนการนําเสนอ ดวยความสามารถในดานการ ผลิตที่ทําใหการสรางสรรคงานทําไดอยางรวดเร็วและสวยงามแลวนั้น ในดาน คอมพิวเตอรที่ฝงกับอุปกรณตาง ๆ การนําเสนอคอมพิวเตอรสามารถแสดงสื่อประสมไดอยางเต็มที่ การใชคอมพิวเตอรในการนําเสนองานกิจกรรมประชาสัมพันธ การใชสื่อดิจิตอลชวยในเรื่องการแสดงใน Concert คอมพิวเตอรยังเปนเครื่องมือหนึ่งที่ชวยใหเขาถึงเครือขาย Internet ซึ่งถือวาเปนเครือขายขนาดใหญ ที่เก็บขอมูล  องคความรูไวมากมาย เกิดความรูใหม ๆ ที่ไมคาดคิดอยาง นกเตนรําได หรือดังชั่วขามคืนเมื่อเชนคลิป"ซูซาน บอยล" หรือ การที่โอบามาใช Internet เปนชองทางหาเสียงจนทําใหชนะการเลือกตั้ง สิ่งตาง ๆ เหลานี้ลวนเปนผลที่เกิดจากแรงผลักดัน ของ internet ซึ่งในเอกสารประกอบการสอนชุดนี้จะนํานักศึกษากาวสูโลกของเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในมุมมองของนักนิเทศ ศาสตร เพื่อนําความรูนี้ไปประยุกตและตอยอดกับศาสตรตาง ๆ ที่จะไดเรียนตอไป 1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอร คํานี้ฟงดูงายและเขาใจในตัวมันเอง แตนอยคนที่จะรูวานิยามของคอมพิวเตอรนั้นคืออะไร นิยาม  ของคอมพิวเตอรมีหลากหลายหนวยงานและบุคคลที่ใหคํานิยามซึ่งยกตัวอยางของนิยามคําวาคอมพิวเตอรไวดังนี้ Wikipedia : เครื่องมือหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส ที่มีความสามารถในการคํานวณอัตโนมัติตามคําสั่ง สวนที่ใช ประมวลผลเรียกวาหนวยประมวลผล ชุดของคําสั่งที่ระบุขั้นตอนการคํานวณเรียกวาโปรแกรมคอมพิวเตอร ผลลัพธที่ได ออกมานั้นอาจเปนไดทั้ง ตัวเลข ขอความ รูปภาพ เสียง หรืออยูในรูปอื่น ๆ อีกมากมาย ราชบัณฑิตยสถาน : เครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เสมือนสมองกล ใชสําหรับแกปญหาตาง ๆ ทั้ง ที่งายและซับซอน โดยวิธีทางคณิตศาสตร HOPE Dictionary : เครื่องคอมพิวเตอร,เครื่องคํานวณ,ผูคํานวณ คณิตกรณหมายถึง อุปกรณชนิดหนึ่งที่ทํางาน ดวยระบบอิเล็กทรอนิกส สามารถจําขอมูลและคําสั่งได ทําใหสามารถทํางานไปได โดยอัตโนมัติดวยอัตราความเร็วที่สูง มาก ใชประโยชนในการคํานวณหรือการทํางานตาง ๆ ไดเกือบทุกชนิด
  • 8. 3 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 1.2 ชนิดของคอมพิวเตอร คอมพิวเตอรที่เราใชอยูในปจจุบันนั้นมีหลายประเภทหลายขนาด และตางความสามารถ คอมพิวเตอรที่แพงก็ ไมใชวาจะเหมาะสมกับงานทุกงานเสมอไป ฉะนั้นผูใชตองรูเทาทันและเขาใจถึงความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร ประเภทตาง ๆ ซึ่งประเภทของคอมพิวเตอรตามตําราทั่ว ๆ ไปแบงไดดงนี้ ั 1. ซูเปอรคอมพิวเตอร (Supercomputer) 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe Computer) 3. มินิคอมพิวเตอร (Minicomputer)
  • 9. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 4 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 4. เวิรกสเตชัน (Workstation) 5. ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) ซึ่งการแบงประเภทดังกลาวเปนการแบงประเภทที่ใชกันมากวา 20 ปแลว ซึ่งปจจุบันมีคอมพิวเตอรที่แยกยอย ประเภทมากมาย จึงควรแบงประเภทออกเปน 10 ประเภทดังนี้ 1. Desktop คือคอมพิวเตอรตั้งโตะ เหมาะสําหรับใชงานทั่วไปจนถึงงาน สํ า นั ก งานหรื อ งานออกแบบ คอมพิ ว เตอร ป ระเภทนี้ ถ า เปรียบเทียบกับ Laptop แลวจะมีราคาถูกกวา เนื่องจาก เทคโนโลยีที่ใชไมตองการประหยัดพื้นที่และพลังงานมากนัก เมื่อหลายปกอน ยอดขายของเครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้ สูงมากเมื่อ เทียบกับประเภทอื่น ๆ แตในปจจุบันยอดขาย ของ laptop เขามากินสวนแบงการตลาดมากกวา เจาะกลุม ตลาดผูใชทั่ว ๆ ไป
  • 10. 5 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 2. Laptop คือเครื่องคอมพิวเตอรขนาดพกพาแบบกระเปาหิ้ว เหมาะสํ า หรั บ การพกพาตั้ ง ใช ใ นสถานที่ต า ง ๆ มี ขนาดยอมลงมาจากเครื่อง Desktop เมื่อกอนนี้ เครื่องประเภทนี้มีนํ้าหนักมากกวา 10 กิโลกรัม ใน ปจจุบันมีน้ําหนักเพียง 1-2 กิโลกรัมเทานั้น จอที่ใช เปนแบบLCD ทําใหประหยัดพื้นที่ เครื่อง Laptop เปนคอมพิวเตอรที่กินสวนแบงทางการตลาดมากขึ้น เรื่อย ๆ จนปจจุบันมากกวาเครื่อง Desktop 3. UMPC Ultra-Mobile PC คือเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา ที่มีขนาดเล็กกวา Laptop มีการลด spec ของ เครื่องใหนอยลง ประหยัดพลังงานมากขึ้น รวมถึงมี ความสามารถในเรื่องการปองกันการสั่นไหวของ เครื่องที่ดีกวาเครื่อง Laptop เครื่องประเภทนี้ บางครั้ ง ถู ก เรี ย กว า เครื่ อ ง Netbook หรื อ subnotebook ราคาของเครื่องประเภทนี้มีตั้งแต 7000 บาทขึ้นไป เหมาะสําหรับผูที่ตองการใชงาน แบบเดินทางและไมตองการประสิทธิภาพมากนัก 4. PDA Personal digital assistants คือเครื่องคอมพิวเตอรมือ ถือ ขนาดเทาฝามือ ปจจุบันเครื่องสวนใหญจะมี ความสามารถเปนโทรศัพทเคลื่อนที่ไปในตัว สามารถดู ภาพยนตรฟงเพลง ในบางรุนยังฝงความสามารถดาน เครือขายเชน Bluetooth Wifi และความสามารถระบุ เสนทาง GPS ซึ่งนับวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มี ความสามารถรอบดาน จุดเดนของ PDA เนนทางดาน งานจดบันทึก การใชงาน Application เล็ก ๆ นอย ๆ การดูขอมูลตาง ๆ ตัวอยางเชนเครื่อง iPhone , PocketPC, Plam, Android
  • 11. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 6 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 5. Workstation เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในงาน เฉพาะดาน แตเดิม CPU สําหรับเครื่องคอมพิวเตอร ประเภทนี้จะเปน CPU เฉพาะ ทางคือเนนงานเปนดาน ๆ ไป เชนงานดานกราฟก งานภาพ สามมิติ งานประมวลผลขอมูล ปจจุบันจะใชรปแบบของการ ู นํา CPU หลาย ๆ ตัวเขาไปใสในเครื่องเดียวกัน เครื่องคอมพิวเตอรประเภทนี้มีความเหมือนกันแบบ Desktop เพียงแตจะแตกตางรายละเอียดของภายในเครื่อง 6. Server เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชเปนเครื่องแมขาย แตเดิมถูกจัดอยูใน คอมพิวเตอรประเภท Workstation แตเห็นควรวาแยกออกมา เพราะการใชงานของเครื่องมีความแตกตางกันคอนขางมาก เครื่องแมขายประเภทนี้ไมจําเปนตองมีจอภาพ เพราะการ ควบคุมสามารถควบคุมจากเครื่องลูกขาย ใชเปนแมขายของ ขอมูล ตัวอยางที่ชัดเจนคือ ระบบทะเบียนของมหาวิทยาลัย ระบบการกระจายขอมูล Internet ในมหาวิทยาลัย 7. Mainframe เครื่องคอมพิวเตอรที่มีความสามารถในการประมวลผลสูงรองมา จากเครื่อง Super Computer ธุรกิจที่ใชเชน ธุรกิจประกันภัย ธนาคาร สายการบิน สรรมพากร รองรับการทํางานรองขอขอมูล จํานวนมาก ๆ 8. Minicomputer เครื่องประเภทนี้มีความสามารถที่อยูระหวาง mainframe และ Desktop มีการทํางานที่ชวยแกปญหาเรื่องการ คํานวณแบบศูนยกลางของ Mainframe ใหสามารถแยก คํานวณได ซึ่งความสามารถนี้ทับซอนกับเครื่อง Desktop ในปจจุบัน อีกทั้งเครื่องประเภทนี้ไมมีจําหนายในปจจุบัน
  • 12. 7 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 9. Super Computer เครื่องคอมพิวเตอรที่มีความสามารถสูงสุด ใชคํานวณทางวิศวกรรมชั้นสูง การพยากรณ อากาศ วิเคราะหพันธุกรรม แตก็มีงานเล็ก ๆ ที่ถูกนํามาใชงานดวยเหมือนกันเชน เครื่อง คอมพิวเตอร Deep Blue ของ IBM ที่เอามา แขงเลนหมากรุกกับเซียนหมากรุก 10. Wearable Computer เครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถสวมใสไดปจจุบันมีนักออกแบบไดทําการออกแบบและผลิตมาใชจริง แลวเชนเครื่องคอมพิวเตอรทสวมที่หัว มีจอที่ดวงตา หรือเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชนิ้วมือเปนตัว ี่ ควบคุม หมายเหตุ นักศึกษาควรใหความสําคัญกับการเลือกเครื่องใหใหเหมาะสมกับการใชงานมากกวาจดจําวาเครื่องมีกี่ ประเภท 1.3 ความสามารถของคอมพิวเตอร ความสามารถ มนุษย คอมพิวเตอร ความเร็วในการประมวลผล x ทํางานซ้ํา ๆ เปนขั้นตอน x ความถูกตองแมนยําของผลลัพธ x หนวยเก็บขอมูล x ทํางานไดไมหยุดพัก x ความคิดสรางสรรค x
  • 13. คอมพิวเตอ เบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร อร เ 8 CA. 206 Intro oduction to Com mputer for Comm munication Arts คอมพิวเตอรเขามามีสวนกับชีวิตประจําวันใ ในหลาย ๆ ดาน ชวยใหการทํา างานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน ตัวอยาง ้ การนําคอ วเตอรมาชวยงานเชน อมพิ - ดานการศึกษา ป จ จุ บั น สถา นศึ ก ษานํ า ค อมพิ ว เตอร ม ว ยในกา ร มาช บริ ห ารจั ด กาารในหลาย ๆ ด า นเช น ห อ ด ระบบ องสมุ บ ทะเบียน การ น การเรียน รเงิ นการสอน กา นควาวิจัย ารค ชวยยนระยะเ และเพิ่มประสิทธิภาพของงาน แตใน เวลา ประเทศไทยน้น ยังขาดคว ่อ มั่นขอ นั วามเชื องระบบทําให ห ต อ งมี ก ารใช ร ะบบเอกสา รร ว มด ว ย ทํ าให เ กิ ด ความ ม ซ้ําซอนและสิน อง นเปลื ้ - ดานการวิศวก กรรม นํามาคํานวณ ณการออกแบบ บทางดานวิศวก กรรมในสาขาตาง ๆ เชน กา านวณโครง างอาคาร การสราง ต ารคํ งสร เครื่องจักร กา ารออกแบบรถยนต การใชคอ วเตอรควบคุมการผลิต อมพิ ว - ดานการแพทย ย ดานการแพทยสมัยใหมมการนําคอมพิวเ เขามาชวยเชน ย ี เตอร การจําลองกา างานของไ ส และตัวยา การจัดเก็บขอมูล ารทํ ไวรั า ของคนไข ระบ งยา การรักษาทางไกล บบคลั - ดานการเงิน ธนาคารเปนสิ่งที่เห็นไดชัดวามีการนําคอมพิวเตอรเขามาใช ว ม ที่เราพบประจําวันคือตู ATM การบริหารบญชีลูกคา ตล จํ M บั ลาด หลักทรัพยสามารถสงคําสัง ้อขายไดจากที่เครื่องข งการซื ่ ด ของ นักเลนหุน กา เคราะหสถิติทางการเงิน ารวิ
  • 14. 9 คอมพวเตอรเบื้อง นสําหรับง เทศศาส พิ งต งานนิ สตร CA. 20 Introduction tto Computer for Communication Arts 06 r 1.4 การ งาน Wind เบืองตน รใช dows ้ ต Windows เปน นระบบปฏิบัติการที่เปนองคปร ระกอบที่มีความ าคัญตอการ างานของคอมพิวเตอร ซึ่งจะกลาวถึง มสํ รทํ รายละเอีย อไปอีกครั้ง ระบบปฏิบัติก Windows ที่มีวางจําหนางปจจุบันเปน Windows Vistta ซึ่งเครื่องของ ยดต การ s า ง มหาวิทยา ยเกษมบัณฑิตยังไมไดเปลีย าลั ยนไปใช ยังใช Windows XP ซึ่งเปน Window ที่ออกจําหนายตั้งแตป พ.ศ. 2544 ่ ws น ซึ่งรวมแลวกวา 8 ป และ ะคาดวาจะมีกา ตอไปเรื่อย ๆ จนกวา Win ารใช ndows 7 จะอออกวางจําหนาย แตนักศึกษายังไมตอง ยั กังวลวาจะเรียนความรูท่เกาไปแลว เพร ้นฐานการ างานมีความ ายคลึงกันต้งแต Window 95 ฉะนั้นการเรียนรู ทีี  ราะพื รทํ มคล ตั ws Windows ใหม ๆ ทําไดไ ยาก s ไม User Inte erface Windows X XP User In nterface Windows Vista s การปดปดเครื่อง เครื่องคอมพิวเ ของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตเปนเครืองคอมพิวเตอรที่ใชระบบดึงขอ ลจากเครื่องแมขาย เตอร บั ่อ อมู ง ศูนยกลาง งของมหาวิทยา ย ทําใหการเ ดเครื่องคอมพวเตอรทุกครังจะเสมือนเปนเ ่องใหมอยูเส ขอดีของระบบแบบ าลั เป พิ ง ้ เครื สมอ นี้คือ ชวยลดภาระในการ แลรักษา ปอ รดู องการการลงโป ปรแกรมหรือไวรัสแพรกระจายใ ่อง แตก็มีปญหาในการ งานอยู รั ในเครื มี รใช บางเชน นักศึกษาจะตอง Save งานลงใน Flash Drive หรือเมื่อมีการเรียกใชโปรแ า แกรมกันจํานวน ๆ อาจจะทําให นมาก เครื่องชาไ และถาเครื่องแมขายมีปญห ่องทุกเครื่องในหองจะไมสามารถใชงา เลย ได หาเครื รื ม านได การเปดเครื่องค วเตอรมข้นตอนดังนี้ คอมพิ ขั ี 1. กดสวิททีเครื่อง 1 ครั้ง ่ 2. สังเกตทีจ จอภาพวามีไฟ ่ ฟใดปรากฏอยู ถาไมมไฟ หรื นไฟสีสม ใหกดปุมที่จอ เพือใหเปนไฟ เขียว ี รอเป ่ ฟสี หรือใหจออปรากฏเปนภ ภาพ 3. เครื่องคอ วเตอรจะ boot ขึ้น พรอม อมพิ มปรากฏเมนูใหเลือกวาจะใ เครื่องคอมพิวเตอรแบบใด ใน ใ ใช พิ ด ขั้นตอนนีใหนักศึกษาสังเกตใหดีวา ร นี้ สั ระบบที่ผูสอนส่งในวันนั้น ๆ เปนระบบใด เชน ถาผูสอน สั นบอกวา ใหเลือกเครื่อง Computer Graphic 1 ใหเราสังเกตเ หนาหัวขอ Graphic 1 เเปนเลขใด ใหกดปุม เบอร ก คียบอรดที่เลขนั้น ๆ แลวกด Enter แตในบางครั้งจะพบวา กดปุม ล มเลขแลวไมสา  ามารถพิมพได ให สังเกตวา ่ไฟคียบอรด วามีไฟสัญญ ้นตรงคําวา NUM หรือไม ถาไมมใหก ม Numlock 1 ครั้ง าที ญาณขึ า ี กดปุ และกดปุมเลข ก็จะสาม มารถพิมพเลขขลงไปได 4. รอเครื่องทางานจนเขาสู Windows ทํ
  • 15. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 10 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts การปดเครื่องมีขึ้นตอนดังนี้ 1. ปดโปรแกรมและหนาตางใด ๆ ที่ปรากฏใหเรียบรอย 2. กดที่ปุม Start หรือสัญลักษณ Windows มุมซายลางสุดของหนาจอ 3. คลิกที่คําสั่ง Turn off computer 4. จะปรากฏหนาตางขึ้นมา 3 ปุม คือ Restart , Turnoff และ Logoff  a. Restart : รีสตารทเครื่องใหม b. Turnoff : ปดเครื่องคอมพิวเตอร c. Logoff : ออกจากบัญชีทใชเพือใชบัญชีผใชอน ี่ ่ ู ื่ องคประกอบของหนาจอ นักศึกษาหลายคนไมไดสนใจชือเรียกองคประกอบตาง ๆ ของหนาจอ ทําใหเวลาฟงผูสอนแลวไมเขาใจ ่ ปฏิบัติไมถูก ทําใหตามไมทันเพื่อน ฉะนั้น องคประกอบหนาจอเปนสวนที่สําคัญที่นักศึกษาควรเรียนรู และจดจํา เพื่อที่จะไดเขาใจไดตรงกัน My Computer Icon Desktop Start Quick launch Taskbar การจัดการไฟลผาน Windows Explorer โปรแกรมที่ชวยจัดการไฟลใน Windows นั้นมีชื่อวา Windows Explorer หรือบางคนเรียกวา My computer ชวย ทําหนาที่เรียกดูไฟล แกไขชื่อ ลบ คัดคลอก เคลื่อนยาย ความรูเรื่อง Windows Explorer มีความสําคัญมากเพราะเปน พื้นฐานของการจัดการไฟลของซอฟตแวรทุกตัวที่ทํางานภายใตระบบ Windows การเปดเรียกใชงาน Windows Explorer
  • 16. 11 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 1. คลิกที่ Icon My Computer บน Desktop หรือกดคียลัด +E 2. ปรากฏหนาตาง Explore การเลือกไฟลแบบหลาย ๆ ไฟลแบบกลุม 1. คลิกที่ไฟลอันดับแรก 1. คลิกไฟลแรก 2. กด Shift คางเอาไว 2. กด Shift คางไว 3. คลิกไฟลสุดทาย 3. คลิกที่ไฟลสดทายที่ตองการ ุ การเลือกและยกเลิกการเลือกทีละไฟล
  • 17. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 12 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 1. กด Ctrl คางไว 2. คลิกที่ไฟลที่ตองการเลือกหรือไมเลือก การคัดลอกไฟล 1. เลือกไฟลที่ตองการคัดลอก 2. กดปุม Ctrl +C หรือ คลิกขวาที่เมาส เลือกคําสั่ง Copy 3. เลือกตําแหนงปลายทาง กดปุม Ctrl + V หรือคลิกขวาเลือกคําสั่ง Paste เพื่อนําไฟลที่คัดลอกมาวาง การยายไฟลแบบที่ 1
  • 18. 13 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 1. เปดหนาตาง Explorer ขึ้นมาพรอมกัน 2 หนาตาง คือหนาตางที่ปรากฏไฟลตนทาง และหนาตางที่จะ ยายไฟล 2. คลิกขวาที่ไฟลเลือกคําสั่ง Cut 3. คลิกขวาที่พื้นที่ที่จะนําไฟลไปวาง เลือกคําสั่ง Paste การยายไฟลแบบที่ 2 1. เปด Explorer ขึ้นมาพรอมกัน 2 หนาตาง คือหนาตางที่ปรากฏไฟลตนทาง และหนาตางที่จะยายไฟล 2. คลิกเมาสที่ไฟลที่ตองการคางเอาไวและใหลากไปวางไวทปลายทาง ี่ การลบไฟลแบบกูคืนได
  • 19. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 14 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 1. คลิกที่ไฟลที่ตองการ 2. กดปุม Delete ที่คียบอรด การลบไฟลแบบไมสามารถกูคืนได 1. คลิกที่ไฟลที่ตองการ 2. กดปุม Shift + Delete ที่คียบอรด การเปลี่ยนชื่อไฟล 1. คลิกชื่อไฟลที่ตองการจะเปลี่ยนชื่อ 1 ครั้ง เพื่อใหเกิด Highlight 2. คลิกชื่อไฟลซ้ําอีกครั้ง ควรทิ้งระยะหางจากการคลิกครั้งแรกพอสมควร หรือกดปุม F2 ที่คียบอรด 3. พิมพชื่อไฟลเขาไปใหม 4. กด Enter การ Format Drive 1. คลิกขวาที่ Drive ที่ตองการจะ Format 2. เลือก Format 1. คลิกขวา 2. เลือกที่คําสั่ง Format 3. ปรากฏหนาตางแสดงรายละเอียดการ Format a. Capacity แสดงความจุของ Drive b. File System รูปแบบของระบบไฟลในที่นี้เลือกเปน NTFS c. Allocation unit size พื้นที่ตอ unit d. Volume Label ชื่อของ Drive
  • 20. 15 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts e. Format option ถาตองการเลือก format แบบเร็วใหเลือก Quick format การ Zip file หรือการบีบอัดไฟล 1. เลือกไฟลหรือ Folder ที่ตองการจะ zip 2. คลิกขวาที่บริเวณที่เลือก 3. เลือกที่เมนู Send To ->Compressed (zipped) Folder 4. ไฟลที่ถูก Zip จะอยูใน Folder ที่เราทํางาน จากนั้นคอยเปลี่ยนชื่อไฟลที่ Zip ไปแลวใหสื่อ ความหมาย
  • 21. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 16 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts Key ลัดที่สําคัญ การใชงาน Windows นั้นถูกออกแบบมาใหใชงานงายโดยผูใชแทบไมตองจําคําสั่งจากการพิมพบนคียบอรด ผูใชสามารถคลิกเอาไดจากที่หนาจอ แตคําสั่งบางอยางถาตองการใหรวดเร็ว ก็จะตองใช Shot key เพื่อความสะดวก และ ยังดูเปนมืออาชีพอีกดวย คียลัดที่สําคัญที่ใชบน Windows มีดังนี้ Ctrl+Esc = เปดเมนู Start +M= Minimize ทุกๆวินโดวสทั้งหมด +D = สลับการแสดง Desktop +E = เปดวินโดวส Explorer +R = เปดวินโดวส Run +F = เปดการ Search Alt+Tab = สลับโปรแกรมที่กาลังทํางานอยู ํ Alt+F4 = ปดวินโดวสท่กําลังทํางานอยู ี PrintScreen = จับภาพหนาจอทั้งหมดเอาไปไวในคลิปบอรด Alt+PrintScreen = จับภาพหนาจอ เฉพาะหนาที่เรียกใชงานดานบนสุด แหลงขอมูลอางอิง / ศึกษาเพิ่มเติม 1. th.wikipedia.org/wiki/คอมพิวเตอร 2. th.ambatch.com/wiki/2007/05/computer.html 3. learners.in.th/blog/boonsong/39874 4. www.geocities.com/kanokwan73/cat.html 5. http://computer.howstuffworks.com/10-types-of-computers.htm 6. www.bpp.go.th/e-learning/windowsxp_1.html 7. http://2poto.com/html/content/view/45/9/ 8. http://www.bpp.go.th/e-learning/windowsxp_4.html 9. http://en.wikipedia.org/wiki/Windows_Explorer 10. http://www.seoconsultants.com/windows/key/ 11. http://support.microsoft.com/kb/126449
  • 22. 17 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts บทที่ 2 การทํางานของคอมพิวเตอร จุดประสงคการเรียนรู 1. ผูเรียนสามารอธิบายการทํางานของระบบคอมพิวเตอรได 2. ผูเรียนสามารบอกชื่ออุปกรณคอมพิวเตอรตามหนวยการทํางานได 3. ผูเรียนสามารถจดจําชื่ออุปกรณและบอกไดวาอุปกรณน้น ๆ ชื่ออะไร ั 4. ผูเรียนสามารถติดตั้งระบบปฏิบัตการ Windows XP ได ิ 5. ผูเรียนสามารถติดตั้งซอฟตแวรได 1 ซอฟตแวร
  • 23. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 18 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts บทที่ 2 การทํางานของคอมพิวเตอร การเขาใจระบบการทํางานของคอมพิวเตอรฟงดูแลวอาจคิดวาเปนเรื่องยาก แตที่จริงแลวคอมพิวเตอรมีรูปแบบ การทํางานไมตางจากมนุษย ถานํามาเปรียบเทียบกับการทํางานของมนุษยเราก็จะเขาใจที่มาที่ไปของคอมพิวเตอรไดงาย ยิ่งขึ้น การไมเขาใจระบบคอมพิวเตอร อาจจะทําใหเราแกปญหาไมได รวมทั้งถูกหลอกอีกดวย เหตุการณที่ดูเหมือนเรื่องตลกแตมีจริงมาแลวคือ มีคนนําคอมพิวเตอรมาใหซอมแลวบอกวาเครื่องติดไวรัสจาก จอภาพ เพราะวา จอภาพลมเคลื่อนเปนเสน ๆ ซึ่งจอภาพ เปนอุปกรณ Output ไมมทางเปนพาหะของไวรัสใด ๆ ได ถาเรา ี ไมรูเรื่องระบบการทํางานเราจะเรียกตัวเองไดไมเต็มปากวาเปนคนที่ใชงานคอมพิวเตอรเปน เอาละเรามาเริ่มจากแผนผัง ระบบการทํางานของคอมพิวเตอรกันเลย 2.1 โครงสรางระบบการทํางานของคอมพิวเตอร ดานบนคือแผนผังการทํางานของระบบคอมพิวเตอร หลายคนอาจจะดูแลวรีบปดหนังสือเก็บทันที เมื่อเห็นชื่อ ระบบเปนภาษาอังกฤษ ซึ่งการใชคอมพิวเตอรจะหลีกหนีภาษาอังกฤษไมได เราควรทําความเขาใจมากกวาการจดจํา การ ใชคอมพิวเตอรคําศัพทจะวน ๆ อยูไมกี่คํา งายกวาภาษาสนทนาและการเรียน Grammar อยูหลายคุม ผังดานบนเปน จุดเริ่มตนที่ดีที่จะเขาใจระบบคอมพิวเตอร เราลองมาดูกันทีละหัวขอวาแตละหัวขอมีลักษณะคลายกับการทํางานของ มนุษยอยางไรบาง - Input unit หนวยปอนเขา จํางาย ๆ วา in แปลวาใน ฉะนั้นมันตองปอนเขาแนนอน หนวยปอนเขาทํา หนาที่รับคําสั่งนั้นเอง เปรียบเสมือนเปน หู หรือตา ของ มนุษย สมมุติวาครูส่งการบานนักเรียนใหไปทํา  ั โดยบอกโจทยปากเปลา
  • 24. 19 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts - Memory unit คือหนวยความจํา ถาเปรียบกับสมองคนก็เหมือนความจําระยะสั้น ขั้นตอนนี้ก็เหมือนกับ สวนที่เราทดในใจหรือฟงโจทยที่มีครูถาม ซึ่งระหวางฟงโจทยบางทีเราก็ไมไดคิดทันที - Processer unit คือสวนประมวลผล ในขั้นตอนนี้เปรียบเสมือนสมองที่ใชคิดเมื่อไดรับโจทยครบถวนแลว เราก็เตรียมคิด คิดเร็วคิดชาก็ขึ้นอยูกับความสามารถดานประมวลผลของสมองแตละคน แตถาเราคิด แลวยังคิดไมออก จะเรียกคําถามจากความทรงจํามาอีกรอบก็ไปดึงที่ Memory - Storage unit ถาเกิดคิดออกแลวแตสิ่งที่อยากจะตอบ สงครูพรุงนี้จะใหจําในสมอง เกิดนอนหลับขึ้น มาแลวลืมจะทําอยางไร เราก็ตองการสมุดจดบันทึก เพื่อบันทึกสิ่งที่เราตอบไปไวเพือใชสงครูในวันพรุงนี้ ่ สวนนี้เองเปนหนาที่ของ Storage
  • 25. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 20 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts - Output unit คือสวนที่ตองแสดงผล เมื่อเราไดคําตอบแลวอยากจะบอกคําตอบกับครูก็ใชปากพูด หรือ เขียนลงในกระดาษสงใหครู เพื่อใหครูเห็นหรือใหครูอาน 2.2 อุปกรณแยกตามประเภทหนวยการทํางาน ระบบคอมพิวเตอรนั้นก็สอดคลองกับวิธีการทํางานของมนุษยอยางเราเหมือนกัน ความนี้เราลองมาเปรียบเทียบ วา หนวยทํางานหรือ Unit ตาง ๆ มันเปนสวนไหนของคอมพิวเตอรกันบาง 1. Input unit หนวยปอนเขา เปนหนวยที่ปอนขอมูลเขาไปในระบบคอมพิวเตอร ทั้งแบบการวาด การพิพม การถายภาพ การบันทึกภาพเคลื่อนไหว การสงคาตําแหนง อุปกรณที่เกี่ยวของมีดังนี้ Mouse Keyboard Digital Camera
  • 26. 21 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts Scanner Microphone Touch screen Joystick Touchpad Digitizer Tablet DV Camera Webcam Track ball Barcode reader Interactive Whiteboard 2. Memory unit หนวยความจําหลัก แบงออกเปน 2 ประเภทก็คือ RAM และ ROM ชื่อคลายกับวาเปนพี่นอง กันแตมีความสามารถตางกันคือ ROM RAM
  • 27. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 22 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts - RAM เขียนไดลบได แตวาถาไฟดับ ขอมูลจะหาย บางคนจะเรียกวาหนวยความจําชัวคราว ่ - ROM เขียนไมได ลบก็ไมได แตวาไฟดับ ขอมูลยังอยู บางคนจะเรียกวาหนวยความจําถาวร 3. Processer unit หนวยประมวลผล คือสวนที่ทําหนาที่ในการคิด ซึ่งถาหนวยประมวลผลดี ๆ ก็จะชวยใหคิด ไวขึ้น สวนประมวลผลหลักจะเรียกวา CPU นอกจากคิดไวแลวยังมีสวนพรสวรรคเพิ่มเติมเหมือนมนุษยที่ บางคนนอกจากคิดไวแลวยังวาดภาพเกง ยังรองเพลงเกง หนวยประมวลผลของคอมพิวเตอรก็ยังมีสวน ชวยใหการสรางภาพใหสมจริงเปนรูปแบบสามมิติ เรียกอุปกรณตัวนี้วา Graphic Card หรือสังเคราะห เสียงไดรอบทิศทาง Soundcard CPU Intel Graphic Card Sound Card CPU AMD External Graphic Card External Sound Card 4. Storage Unit หนวยในการจัดเก็บขอมูลสํารอง ซึ่งแบงออกเปน 3 เทคโนโลยีหลัก ๆ คือ เก็บดวยแมเหล็ก เก็บดวยแสง และเก็บดวยแผงวงจรอิเลคทรอนิกส แมเหล็ก แสง แผงวงจรอิเลคทรอนิกส • Hard disk • CD-ROM • Flash drive • Floppy Disk • DVD-ROM • MMC • Magnetic Tape • HD-DVD • SD Card • Laser servo • Blu Ray • CF Card • Zip Drive • Mo Drive • XD Card • Jaz Drive • Memory stick
  • 28. 23 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts Hard disk Floppy Disk Magnetic Tape Laser servo Zip Drive Jaz Drive Mo Drive CD DVD HD-DVD Blue ray Flash Drive Flash Drive MMC SD Card CF Card XD Card Memory Stick
  • 29. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 24 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 5. Output unit หนวยแสดงผล ทําหนาที่แสดงผลลัพธ ซึ่งแบงออกเปน 2 รูปแบบคือ • Softcopy คือการแสดงผลแบบจับตองไมได เชน จอภาพ LCD CRT LED Projector Speaker • Hardcopy คือการแสดงผลแบบจับตองได เชน Inkjet Printer, Dot-matrix Printer, Laser Printer, Inkjet LCD CRT Projector Speaker LED Monitor Plasma Inkjet Printer Dot-matrix Printer Inkjet Plotter Thermal Printer Laser Printer Cutter Plotter
  • 30. 25 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 2.3 การติดตั้ง Windows การติดตั้ง Windows เปนศาสตรลึกลับอยางหนึ่งที่ชางคอมพิวเตอรชอบสะกดจิตบอกผูซื้อวามันยากแสนยาก ทําไมเปนเดี่ยวเครื่องพัง ฉะนั้นเอามาใหชางทําเสียดี ๆ แลวก็โดนฟนไปตามระเบียบ 300 – 1000 บาท เรายังจะยอมจาย เรื่องไมเปนเรื่องอยูอีกไหม ก็ลองคิดดูเอง เพราะวาตอไปนี้จะสอนใหเราติดตั้ง Windows ซึ่งถาใครตองการลงเครื่องใหมก็ ทําตามวิธีที่จะบอกตอไปนี้ไดเลย แตกอนที่จะติดตั้งขั้นตอนแรกที่ขาดเสียไมไดคือการซื้อ Windows มากอน Windows xp ของแทนั้นราคามีตั้งแต 1 พันตน ๆขึ้นไป แลวแตรุนและรูปแบบสิทธิการใช ซึ่งบาสิทธ อยาง OEM เขาใหใชเพียงเครื่อง เดียวถาเครื่องนี้พังไป สิทธิ์ก็จะหายตามไปดวย ฉะนั้นบางทีของถูก ๆ ก็อาจจะไมไดดีเสมอไป รายละเอียดเรื่องสิทธิของ Software นั้นขอใหอานในบททาย ๆ รวมถึงประเภทของ Windows xp ดวย ซึ่งในหอง LAB ของเราถาผูสอนใหติดตั้ง Windows มีหวังจะตองโดนไลออก หรือโดนทางศูนยคอมพิวเตอรวาแน ๆ ฉะนั้น จึงนําตัวจําลองการติดตั้งมาใหศึกษากัน เรียกวา Simulator Installation โฆษณาการรับจางติดตั้ง windows ขั้นตอนการติดตั้ง Windows XP มีดังนี้ 1. ใสแผน Windows ไปที่ Drive CD หรือ DVD จากนั้นให restart เครื่องใหม 2. เมื่อเครื่อง boot เขามาในระบบ รอซักพักจะเขาสูโหมดหนาจอสีน้ําเงิน และมีตัวหนังสือบนหนาจอ มากมาย
  • 31. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 26 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 3. ระบบจะถามวาจะติดตั้ง Windows จริงหรือไม ถาจริง กด Enter 4. โปรแกรมจะแจงขอกําหนดการใชโปรแกรม ซึงเชื่อวา รอยละ 99 ก็จะไมอานกัน ถาอานจนเขาใจ ่ หรือไมเขาใจก็ใหกด F8 เพื่อทําการยืนยันวายินยอมในสิ่งที่อาน 5. เลือก Drive ของ Hard disk ที่จะลง ซึ่งสวนใหญจะเลือกเปน Drive C 6. เลือกรูปแบบ FAT ซึ่งไมไดหมายความวา มันอวนหรืออะไรทั้งสิ้น FATตัวนี้หมายถึง รูปแบบการแบง พื้นที่ตอ 1 หนวยใน Harddisk ในที่นี้ควรเลือกเปน NTFS ( ถาใครอยากรูเพิ่มเติมวา FAT คืออะไร และใช กับอะไรแนะนําใหอาน http://www.ntfs.com/ntfs_vs_fat.htm เพราะถาผูสอนสอนไป จะโดนกรรมการวิชาการ วาไดวาคุณจะสอนใหเด็กเปนชางคอมหรือ ฉะนั้นเลยชางหัว FAT มัน ) 7. รอแลวก็รอ ซึ่งขึ้นอยูกับประสิทธิภาพเครื่องวาแรงแคไหน แตตัว Simulator ที่ใหลองในหอง LAB จะ เร็วมาก รอจนกวาเครื่องจะ Boot ใหม
  • 32. 27 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 8. เขาสูโหมด windows มีขอความตอนรับ จะมีหนาตางใหตั้งคา Regional and Language Options 9. หนาตาง Regional and Language Options เปนหนาตางที่ชวยตั้งคาระบบ Windows ใหแสดงสกุล เงิน วันที่ ภาษา แปนพิมพ ใหเปนของประเทศนั้น ๆ ซึ่งใน windows XP เปน OS ที่รองรับการทํางาน หลากหลายภาษา โดยถาไมตั้งคาสวนนี้ Windows จะถูกตั้งคาเปนภาษาอังกฤษ และเราจะไม สามารถพิมพขอความเปนภาษาไทยไดอยางปกติ แตก็ยังสามารถกลับมาตั้งคาไดแตภายหลัง ทางที่ ดีควรตั้งคาตั้งแตตอนติดตั้งจะสะดวกมากกวา โดยการคลิกที่ Customize และตั้งคาตามตัวอยาง ดานลางนี้
  • 33. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 28 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 10. เลือกสวนตาง ๆ ใหเปนไทยทั้งหมด แลวกด ok ตามรูปภาพดานบน แลวกด OK 11. ตั้งชื่อผูใช และ ชื่อหนวยงานบริษัท จากนั้นกด Next 12. ระบบจะถาม CD key ใหเราพลิกดูที่ใบ ที่แนบมากับในกลองของแท แตที่เราใชเปน Simulator ก็ใส เลขอะไรก็ได กด 13. ระบบจะใหตั้งชื่อเครื่อง และ รหัสผูใช ตรงสวนของรหัสผูใชจะตองกําหนดใหตรงกันทั้ง 2 ชอง ’
  • 34. 29 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 14. ตั้งคาวันที่ และตําแหนงที่ตั้งของเครื่อง โดยประเทศไทยตั้งเปน Bangkok Hanoi Jakata 15. รอซักพัก เครื่องจะทําการติดตั้งระบบจากนันจะเขาสูหนาจอการตั้งคาระบบเครือขาย ใหเลือกที่ ้ Typical Sittings จากนั้นใหกด Next
  • 35. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 30 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 16. ตั้งชื่อกลุมของเครือขาย โดยปกติจะตั้งเปน Workgroup การตั้งแบบนี้เพื่อใหเครื่องในเครือขาย เดียวกันสามารถเชื่อมโยงขอมูลไดงายยิ่งขึ้น 17. เรียบรอยเขาสู Windows โดยสมบูรณ
  • 36. 31 คอมพวเตอรเบื้อง นสําหรับง เทศศาส พิ งต งานนิ สตร CA. 20 Introduction tto Computer for Communication Arts 06 r 2.4 การ ดตั้ง Softw รติ ware โปรแกรมตาง ๆ ที่ใชงานอยูบ Windows จ องผานขั้นตอนการติดตั้งกอน การติดตั้งมีขึ้นตอนแตกตางกันแต บน  จะต ต ก ต ละโปรแกรมแตจะมีหลัก กการคลาย ๆ กััน ฉะนั้นถานักศึกษาเขาใจหลักการติดตั้งก็จ ลั จะสามารถติดตั้ง โปรแกรมไดเองทุก โปรแกรม ขั้นตอ อนการติดตั้งโป ปรแกรมชนิดตองใส Serial Nu อ umber ขั้นตอน ดตั้งโปร นการติ รแกรมชนิดไมตองใส Serial N ต Number แหลงขอ ลอางอิง / ศึกษาเพิ่ม ม อมู มเติ 1. http://en.wikip pedia.org/wikki/Computer_s system 2. http://www.nttfs.com/ntfs_vvs_fat.htm 3. http://www.thaiall.com/os/o os01.htm 4. http://www.lkss.ac.th/kuanjitt/it002_1.htm 5. http://www.attom.rmutphysics.com/charu ud/scibook/co omputer/syste em/sys_index x.htm 6. http://www.dld.go.th/ict/artticle/soft/soft0 02.html 7. http://smf.na--man.com/index.php?topic=562.0 8. http://computter.act.ac.th/c comservice/pa age6.htm
  • 37. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 32 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts บทที่ 3 เจาะลึก Hardware จุดประสงคการเรียนรู 1. ผูเรียนสามารถจําแนกประเภทของอุปกรณคอมพิวเตอรได 2. ผูเรียนสามารถบอกหนาที่ของอุปกรณคอมพิวเตอรที่จําเปนตองานสายนิเทศศาสตรได 3. ผูเรียนสามารถเลือกประเภทของ CPU ไดอยางเหมาะสม 4. ผูเรียนสามารถเลือกหนวยความจําสํารองไดเหมาะสมตามงานที่ระบุ 5. ผูเรียนสามารถเลือกเครื่องพิมพไดเหมาะสมตามงานทีระบุ ่ 6. ผูเรียนสามารถเลือกหนวยความจําชั่วคราวไดอยางเหมาะสม
  • 38. 33 คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts บทที่ 3 เจาะลึก Hardware จากบทที่ 2 ไดกลาวถึงหนาที่ของแตละหนวยการทํางานของ Hardware มาในบทที่ 3 จะเจาะลึก Hardware แต ละชิ้นวามีรายละเอียดและการทํางานอยางไร บาง ในบทนี้จะชวยใหเราสามารถเลือกซื้อ Hardware ไดอยางเหมาะสมกับ งาน และประเภทของงาน เรามาเจาะลึกกันเปนสวน ๆ กันดังนี้ 3.1 Input unit จากผังการทํางานของคอมพิวเตอรในบทที่ 2 จะพบวากอนที่จะ ถึงหนวยประมวลผล จะมีหนวยรับขอมูลหรือ input unit คอยปอนคําสั่ง เขาไปซึ่งหนวยรับขอมูลนี้เองเปรียบเสมือนการมองเห็นของตา การไดยน ิ ของหู การไดกลิ่นของจมูก อุปกรณ input unit มีมากมายหลายหลาย รูปแบบ ดังนี้ Mouse, Keyboard, Trackball, Touchpad, Scanner, Camera, Microphone, Touch screen, Joystick, Digitizer 3.1.1 แปนพิมพ (Keyboard) แปนพิมพ (Keyboard) เปนหนวยรับขอมูลเขาที่จําเปนสําหรับเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานอยูในปจจุบัน ซึ่ง Keyboard จะมีการบอกรุนของคียบอรดโดยใชเลขของจํานวนคีย เชน keyboard 101 ก็จะหมายถึงมี จํานวนของคีย เทากับ 101คีย บนแปนพิมพ การเลือกซื้อ Keyboard 1. เลือก Keyboard ที่กดแลวถนัดมือ ควรจะลองกอนซื้อ ผูใชบางรายชอบคียบอรดที่กดแลวเสียงดัง บางคน ชอบกดแลวรูสึกนิ้มมือ Layout ของ Keyboard เครื่องตั้งโตะ Layout ของ Keyboard เครื่อง Laptop
  • 39. คอมพิวเตอรเบื้องตนสําหรับงานนิเทศศาสตร 34 CA. 206 Introduction to Computer for Communication Arts 2. รูปแบบปุมของ keyboard วามีการจัดวางรูปแบบใด ถาผูที่ใช notebook กับ คอมพิวเตอรตั้งโตะ สลับกันจะมีปญหาในการไมคุนมือเชน การเรียงปุมที่ไมเหมือนกัน ตําแหนงของปุมสําคัญ เชนปุม Ctrl และปุม windows key สลับกัน Port แบบ PS/2 Port แบบ USB 3. Port ของคียบอรดที่ใช รองรับการทํางาน Port ของเครื่องที่เราใชหรือไม เพราะเครื่องบางเครื่องไมมี Port PS/2 จึงจําเปนตองใชคียบอรดแบบ USB  3.1.2 เมาส (Mouse) Mouse หรือบางคนเรียกวาหนูคอมพิวเตอรนั้นที่จริงแลวชื่อเริ่มแรกของมันชื่อวา Bug หรือวา แมลงนั้นเอง แตไม เปนที่นิยมเรียกกัน สวนใหญจะเรียกวา Mouse แทนทําใหคํา ๆ นี้ติดปาก และถูกใชเปนมาตรฐานในปจจุบัน Mouse เปน อุปกรณนําเขาขอมูลพื้นฐานชนิดหนึ่งที่ไดรับความนิยม ในปจจุบันเครื่องคอมพิวเตอรตั้งโตะทุกเครื่องตองมี Mouse ใชกัน เนื่องจากโปรแกรมสวนใหญในปจจุบน อาศัยการทํางานแบบกราฟก รูปภาพ สัญลักษณ และยิ่งงานดานสายนิเทศศาสตร ั แลวนั้น เมาสมีความจําเปนมากในการสรางสรรคงาน การเลือกซื้อ Mouse 1. เลือกซื้อเมาสท่ีถนัดมือ ควรลองกดปุมตาง ๆ และลองจับใชงานกอนซื้อ 2. ควรเลือกซื้อเมาสที่เปนแบบ Optical Mouse เพราะเปนเมาสแบบที่ไมมีลูกบอลขางใต หมดปญหาเรื่อง การดูแลรักษา และใชงานไดทุกสภาพพื้นผิว ยกเวนกระจก และวัตถุผิวมัน ถาใครตองการใชงาน เมาสบน วัตถุผิวมันแนะนําใหใช Laser Optical Mouse แทน 3. Port ของเมาสควรเปนแบบ USB 4. เลือกMouseที่มีสายที่คงทนแข็งแรง