SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 161
การตลาดแนวใหม่ผ่าน Social Media
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก บริหารธุรกิจ (D.B.A) จาก THE JOINT DOCTORAL PROGRAM IN BUSINESSADMINISTRATION (JDBA) ซึ่งเป็นโครงการร่วมมือระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ผลงานเขียนหนังสือด้าน e-Commerce  หนังสือ “ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย Facebook” หนังสือ การตลาดแนวใหม่ผ่าน Social Media  หนังสือ “Marketing Click” กลเม็ดเคล็ดลับการตลาดออนไลน์  หนังสือ บันทึกความสำเร็จธุรกิจดอทคอม “E-commerce Success Case Study”
ติดต่อ ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์  Tel 081-9758189  www.facebook.com/doctorpisek pisek@yahoo.com Twitter  @doctorpisek  Web Site www.doctorpisek.com
4 ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย Facebook
5 ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย Facebook
6 ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย Facebook
ประวัติของ Social Media อริสโตเติล กล่าวไว้เมื่อ 2,000 ปีที่แล้วว่า  “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม” หมายถึง มนุษย์จะมีชีวิตอยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่า มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันในหมู่มวลสมาชิก ซึ่งอาจเป็นชาติเดียวกัน นับถือศาสนาและพูดภาษาเดียวกัน มีวิถีชีวิตที่คล้ายคลึงกัน
ประวัติของ Social Media เริ่มต้นที่ Usenet News หรือ News group เกิดขึ้นในปี 1979 โดย Tom Truscott และ Jim Ellis เป็นการส่งคำถามเข้าไป และผู้ใช้คนอื่น ๆ ที่พอจะตอบคำถามได้ จะช่วยตอบ ทำให้เกิดสังคม ของการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ต่างจากกรณีของ BBS คือ ไม่มี Server กลาง แต่เป็นการส่งข้อมูลระหว่างหลายๆ Server  Bulletin Board System (BBS) – อยู่ระหว่างปี 1979 – 1995 พัฒนาโดย Ward Christensen แรกเริ่มจะใช้เครื่อง PC เป็น Server และผู้ใช้จะต้อง Dial ผ่านทาง Modem โดยที่การเข้าใช้ BBS จะเข้าใช้ได้ทีละคนเท่านั้น ส่วนใหญ่ใช้ในการแชร์ไฟล์ที่ผิดกฏหมาย จากนั้นก็มีผู้ให้บริการรายใหญ่ อย่าง CompuServe หรือ Prodigy
ประวัติของ Social Media
ประวัติของ Social Media เมื่อเกิด World Wide Web (WWW) ที่เปิดให้สาธารณะสามารถเข้าถึงในปีประมาณ 1994-1995 ก็เปลี่ยน BBS เป็นรูปแบบของ Forum หรือกระดานบอร์ด ที่สามารถเข้าไปใช้ได้ง่ายกว่ามาก ขณะที่การใช้ BBS ต้องเป็นพวกเทคนิค
ประวัติของ Social Media
พลังของปัจเจกชน   ดูโฆษณานี้ ท่านเชื่อไหม
พลังของปัจเจกชน บทวิจัยของ Nielsen Global Online Consumer Survey สำรวจทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อรูปแบบโฆษณาต่างๆทั้งหมด 16 รูปแบบ พบว่า พวกเขาเชื่อถือคำแนะนำจากคนรู้จัก 90%  เชื่อความคิดเห็นบนออนไลน์ 70%  เชื่อโทรทัศน์ 62%  เชื่อหนังสือพิมพ์ 61%  เชื่อวิทยุ 55%
พลังของปัจเจกชน   ตัวอย่าง – การบอกเล่าเกี่ยวกับสินค้าและบริการจากปัจเจกชน
พลังของปัจเจกชน   ตัวอย่าง – การบอกเล่าเกี่ยวกับสินค้าและบริการจากปัจเจกชน
พลังของปัจเจกชน   ตัวอย่าง – การบอกเล่าเกี่ยวกับสินค้าและบริการจากปัจเจกชน
พลังของปัจเจกชน ความสำคัญของปัจเจกชน – ทำให้เกิดการตลาดแบบปากต่อปาก หรือที่เรียกว่า Viral Marketing เกิดการบอกต่อๆกันไปว่าสินค้าหรือบริการใดดี หรือไม่ดี จากคนไม่กี่คน สามารถกลายเป็น Mass ได้ ทำให้เสียงของปัจเจกชน จากเดิมที่เป็นเสียงเล็กๆ กลายเป็นเสียงใหญ่ ที่คุณต้องฟัง
พลังของปัจเจกชน   กรณีตัวชี้วัดถึงความสำคัญของปัจเจกชน - ซูซาน บอยด์
19
20
พลังของปัจเจกชน   กรณีตัวชี้วัดถึงความสำคัญของปัจเจกชน – นาธาน
พลังของปัจเจกชน ดังนั้น หัวใจสำคัญของการใช้ Social Media ในทางการตลาด คือ ทำอย่างไรข่าวสารที่ทางกิจการแจ้งออกไปนั้น จะเกิดการบอกต่อ หรือพูดง่ายๆ ว่าเกิด Viral ขึ้น หรือจะทำอย่างไรให้เกิดการ  Share
เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อยอดขาย Twitter – Dell แจ้งข้อความผ่านทาง Twitter ให้บรรดา Follower ทราบถึงการเปิดขายสินค้าลดราคาพิเศษ คนอื่นเห็นว่ามีประโยชน์ก็พากัน RT บอกกันไป  Mood Art and Design School – คนเป็น Fan จะได้รับส่วนลดในการสมัครเรียน 10%  Nokia เปิดตัว Nokia 5800 Express Music ให้ Blogger ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านมือถือใช้แล้วบอกต่อ เกิดกระแสปากต่อปาก
เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อสร้างการรับรู้ Brand (Brand Awareness) – คือการเน้นให้ลูกค้าได้เข้ามามีส่วนร่วม (Engagement) กับกิจกรรมทางการตลาด เช่น  Burger King กับการออก Angry Whopper  Blendtec กับหนังโฆษณาที่โด่งดัง
เป้าหมายของการใช้ Social Media
เป้าหมายของการใช้ Social Media
27 เป้าหมายของการใช้ Social Media Brand Awareness –  การจะทำให้เกิด Viral Marketing ได้นั้น จะต้อง  แปลก  น่าตื่นเต้น  เกิดประเด็นที่ทำให้สังคมแสดงความเห็นวิจารณ์  สะเทือนอารมณ์  เมื่อผู้ที่ได้ชมชื่นชอบจะเกิดการ Share
เป้าหมายของการใช้ Social Media  เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์  Sun Microsystems มีการจัดทำ CEO Blog โดยนาย Jonathan Schwartz ที่บอกเล่าถึงนโยบายและความเคลื่อนไหวภายในองค์กร
เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ – ปัญหาของการใช้ Social Media ในการประชาสัมพันธ์ คือ เน้นบอกตรงๆ ไม่มีลูกเล่น ไม่สร้าง Viral ให้เกิดขึ้นได้ เช่น สมมติว่าเราเอาโฆษณา TV ไปไว้ที่ YouTube โอกาสน้อยที่จะเกิดการบอกต่อ เพราะเราเบื่อโฆษณาบนทีวีเต็มทน เพราะดูจะเป็นการยัดเยียด
เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อสร้าง Community อาจทำผ่าน Facebook หรือ Forum ซึ่งหากเป็นแบรนด์ดังอยู่แล้ว ไม่ยากที่จะสร้าง Community อย่าง Starbucks แต่หากไม่ใช่ ทำอย่างไร  กำหนดเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน  มีการสร้างบทสนทนา โดยการตั้งคำถาม  จัดกิจกรรมให้ลูกค้าได้เข้าร่วม  จัด Meeting พบกันนอกสถานที่  ตอบคำถามสมาชิกอย่างรวดเร็ว
เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อทราบ Feedback ของลูกค้า – เมื่อเกิดชุมชน ย่อมมีการพูดจาเกี่ยวกับสินค้าของเราทั้งแง่ดีและแง่ร้าย กิจการจะต้องเข้าไปรับรู้และจัดการให้ถูกต้อง
เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อทราบ Feedback ของลูกค้า
เป้าหมายของการใช้ Social Media คุณคิดว่าเราจะควบคุมความคิดเห็นต่างๆใน Social Media ได้หรือไม่??
เป้าหมายของการใช้ Social Media สร้างการเป็น Marketing Influencer – เป็นกรณีที่ผู้ใช้ประเภทปัจเจกชน ที่ใช้สื่อ Social Media ในการแสดงความรู้ที่ตนเองมี และเมื่อมีผู้คนเข้ามาอ่านมากๆ ก็ทำให้เกิดอิทธิพลทางการตลาดได้ เช่น Jeban เขียนเรื่องความสวยความงามใน Blog มีคนนิยมมากจนเกิดกระแส จากนั้นจึงได้ขยับขยายมาทำ www.jeban.com คำแนะนำของ Jeban เกี่ยวกับเครื่องสำอาง มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อของสาวๆ
เป้าหมายของการใช้ Social Media
เป้าหมายของการใช้ Social Media
เป้าหมายของการใช้ Social Media Blog วิจารณ์โทรศัพท์มือถือของ Blogger ชื่อดัง นาย Kafaak
ทำไมสื่อเดิมลดความสำคัญลง ปัจจัยที่ทำให้สื่อเดิมลดความสำคัญลง  ลักษณะของการสื่อสารทางเดียวที่ควบคุมโดยกิจการ  สารการตลาดที่สื่อออกมาเป็นลักษณะของ การเข้าขัดจังหวะ (Interruption) ซึ่งมีอยู่ตลอดเวลาในแต่ละวัน จนกระทั่งผู้รับสารอย่างเราจดจำไม่ไหว  ผู้รับสารเกิดการระแวดระวัง เพราะเคยถูกสื่อเดิมๆเหล่านี้หลอกมาแล้ว  สำคัญที่สุดคือ ในยุค Internet ทำให้เกิดช่องทางในการค้นหาข้อมูลของสินค้าและบริการต่างๆอย่างมากมาย ซึ่งเกิดจากปัจเจกชนทั่วไปเข้าไปสร้างเนื้อหา ไม่ได้มาจากกิจการ ทำให้การตัดสินใจง่ายขึ้น
บทสนทนา หากกิจการยังใช้สื่อเดิมๆที่พูดอยู่ข้างเดียว ย่อมยากที่จะทำให้เกิดการบอกต่อได้ เมื่อกระโจนเข้ามาใช้ Social Media จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้ามาร่วมวงพูดคุยกับลูกค้าเป็นรายปัจเจก บทสนทนาที่เกิดขึ้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ จะต้องทำให้เกิดคุณค่าพอในการที่จะบอกต่อๆให้เพื่อนๆได้รับรู้
บทสนทนา ตัวอย่างบทสนทนาของ GTH หลักสำคัญคือ  สร้างกิจกรรมผ่านทาง Facebook เปิดโอกาสให้บรรดา Fan ได้เข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรม (Engagement) เช่น ถามคำถามชิงรางวัล ให้ถูกได้ตั๋วหนัง กิจกรรมดังกล่าวสร้างคุณค่า ทำให้ Fan เกิดความต้องการที่อยากร่วมแล้วบอกต่อเพื่อนๆ  หรือ GTH ใช้ Twitter สนทนาแบบ Real-Time กับบรรดา Follower เพื่อสร้างสายสัมพันธ์ เป็น CRM  ปัญหาคือ คนในสื่อเก่า ไม่คุ้นเคย เคยคุยระดับ Mass แต่ Social Media คุยระดับ Individual
การกำหนดตัวตน การกำหนดตัวตนใน Social Media – เข้าไปในนามบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารสูงสุด  Tony Fernandes – CEO Airasia สร้าง CEO Blog  พาที สารสิน – CEO นกแอร์ มี Twitter Account ในนามตนเอง       ทำให้คุยได้พูดคุยกับ CEO อย่างใกล้ชิดอย่างที่คุณไม่เคยทำได้มาก่อน การใช้ตัวตนของ CEO ควรเพื่อสร้าง CRM มากกว่าตั้งหน้าตั้งตาขาย เพราะจะทำให้ความน่าเชื่อถือน้อยลง
การกำหนดตัวตน
การกำหนดตัวตน
การกำหนดตัวตน การกำหนดตัวตนใน Social Media – การเข้าในนามของกิจการหรือ Brand เช่น GTH แทนที่จะสร้าง Web Site หรือ Social Media ในนามของหนังเรื่องต่างๆที่ตนเองสร้าง กลับใช้ Brand GTH ซึ่งเป็นชื่อบริษัท เบียร์ช้างใช้ Social Media ในการสร้างกิจกรรมรวมถึงแจ้งความเคลื่อนไหวต่างๆของ Brand
การกำหนดตัวตน
การกำหนดตัวตน การกำหนดตัวตนใน Social Media – การเข้าโดยใช้บุคลาธิษฐาน คือ การสร้างความเป็นมนุษย์ในสิ่งที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น กรณีของ DTAC ที่สร้างนกสีฟ้า ตาโต มีชื่อเรียกว่าน้องตาแป๋ว ข้อดีคือ มีความเป็นมนุษย์ และหากเกิดอะไรที่ผิดพลาด ก็ไม่กระทบต่อ Brand มากนัก สามารถสร้างบุคลิกให้เข้ากับ Brand ของตนเองได้
การกำหนดตัวตน
Twitter  Twitter คือ Micro-Blog ที่ผู้ใช้สามารถโพสต์ข้อความได้ไม่เกิน 140 ตัวอักษร ข้อความที่คุณโพสต์จะปรากฏให้บรรดา Follower ของคุณได้อ่าน   เปรียบ Follower ง่ายๆ ก็คือคนที่ยอมรับข้อความของคุณโดยสมัครใจ  การเปิด Account Twitter ก็เหมือนคุณมี Channel ที่พร้อมจะพูดจากับคนอีกเป็นจำนวนมาก แบบ Real-Time
Twitter ทำไมกิจการควรมีการพูดคุยกับลูกค้าแบบ Real Time เพราะเราสามารถเปลี่ยนคนแปลกหน้า เป็นลูกค้าของเรา  คนแปลกหน้า --- การเชื่อมโยง --- การปรับเปลี่ยน --- เพื่อน --- ลูกค้า  ในช่วงการเชื่อมโยง และการปรับเปลี่ยน คือช่วงที่กิจการมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมาย นั่นเอง ซึ่งถ้าผ่าน Twitter จะมีลักษณะแบบ One-to-One
Twitter ตัวอย่างกิจการที่ใช้ Twitter ได้อย่างมีประสิทธิภาพ – Nokair
Twitter ตัวอย่างกิจการที่ใช้ Twitter อย่างไม่มีประสิทธิภาพ – BestBuyCondo
Twitter ปัญหาของกิจการในการใช้ Twitter ก็คือ เมื่อเริ่มใช้ กิจการไม่รู้จะคุยกับใคร  กิจการจะสื่อสารได้อย่างทรงพลัง ควรจะมีจำนวน Follower จำนวนมาก ยิ่งมากเท่าไร ก็หมายถึงจำนวนผู้รับสารการตลาดผ่าน Twitter นั้นมากขึ้น
Twitter   เราอาจจะใช้กลยุทธ์ต่างๆในการหา Follower ดังนี้ Follow คนอื่นๆ ให้มาเข้าไว้ ถ้าสินค้าของคุณ มีกลุ่มลูกค้ากว้างๆ เมื่อเรา Follow ไป โอกาสที่จะถูก Follow กลับก็มีมาก แม้ไม่ใช่วิธีการที่ดี แต่ง่าย และสารของเราที่สื่ออกไปจะได้รับการสนใจใยดีหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับเนื้อหาหรือสารที่คุณสื่อออกไปมากกว่า สิ่งสำคัญคือ มันจะต้องมีคุณค่า น่าอ่าน สนุกสนาน หรือเป็นประโยชน์
Twitter   เราอาจจะใช้กลยุทธ์ต่อไปนี้  หากสินค้าของคุณค่อนข้าง Focus เราอาจจะอาศัยดู Bio ว่าพวกเขาสนใจเรื่องอะไร อยู่กลุ่มเป้าหมายของเราหรือไม่ เช่น สมมติว่าลองไปเปรียบเทียบรายละเอียดของคุณ qool_aung และ DrJoop ซึ่งเขียน BIO ตามความสนใจที่แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้     หมายเหตุ: ข้อเสียคือ ไม่ใช่ทุกคนที่เขียน BIO ได้ละเอียด และใช้เวลามากในการไล่ดู BIO ของแต่ละคน
Twitter
Twitter
Twitter เครื่องมือที่ช่วยเราค้นหาข้อมูลจาก BIO
Twitter หากคุณเป็นร้านค้าที่มีลูกค้าอยู่บริเวณใกล้เคียงเท่านั้น เช่น ร้านกาแฟในเชียงใหม่ เราอยากได้กลุ่มลูกค้าที่เป็นคนเล่น Twitter ในเชียงใหม่เท่านั้น เราอาจจะใช้เครื่องมืออย่าง Nearby Tweet
Twitter
Twitter เราอาจจะใช้กลยุทธ์ในการหา Follower ต่อไปนี้ เข้าไปที่ search.twitter.com จากนั้นใส่ Keyword เกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการของคุณ เพื่อดูว่ามีใครพูดถึงบ้าง เขาเหล่านั้นคือ Follower ของเรา การสร้างกิจกรรมขึ้นมาเพื่อเป็นตัวเร่งในการเพิ่ม Follower เช่น กรณีของ GTH สร้าง Follower ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การเปิดให้ RT ข้อความที่ลิงค์ไปยังข้อมูลโปรโมชั่นต่างๆของหนัง แล้ว 5 คนแรกที่ RT จะได้รับบัตรชมภาพยนตร์ 2 ใบในรอบพรีวิว หรือในช่วงหนัง รถไฟฟ้ามหานะเธอ ก็มีกิจกรรมให้ส่งข้อความเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับความเหงาและเรื่องของคนโสด ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมาก
Twitter Twitter – จุดอ่อน  ผู้เล่น Twitter ที่ Active ในไทยยังน้อย เทียบไม่ได้เลยกับสมาชิก Facebook ที่มีถึง 6 ล้านคน  การที่มีคนเล่นน้อย หากสินค้าหรือบริการของคุณ เป็นแบบ Focus ย่อมยากในการหา Follower ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย  การที่เราไม่มีชื่อเสียง ยิ่งยากมาก อีกทั้งหากเข้าไปในนามของกิจการ อาจจะไม่มีใครอยากเป็น Follower เพราะกลัวจะมีแต่ข้อมูลโฆษณาประชาสัมพันธ์
Twitter Twitter – จุดอ่อน การโต้ตอบสองทางแบบ Real-Time จะต้องระมัดระวังคำพูดให้มาก เพราะจะเกิดอารมณ์โกรธได้ง่าย อีกทั้งผู้ที่ได้อ่านข้อความนั้น สามารถ RT จนการทะเลาะนั้นแพร่สะพัดได้อย่างรวดเร็ว  เนื่องจากข้อความที่คุณ Tweet ไปนั้น จะถูกจัดลำดับตามเวลา โดยข้อความใหม่จะปรากฏอยู่ด้านบน ส่วนข้อความเก่าจะต่ำลงมาเรื่อยๆ ทำให้ข้อความข่าวสารที่เราส่งไปนั้น Effective ไม่กี่นาทีเท่านั้น แต่ถ้าส่งไปเรื่อยๆ บ่อยๆ ก็ดูเป็น Spam ทำให้เกิดการ Unfollow เกิดขึ้น
Twitter Twitter – จุดอ่อน การใช้เพื่อการตลาดค่อนข้าง Sensitive มีกรณีของ Sansiri ในการจัด Event คือ Wyne in Motion ที่มี Tag #Wyne เพื่อสร้าง Viral ใน Twitter โดยการแจก iPad มีการทวิตกันโดยการใส่ Tag เป็นจำนวนมากในช่วงเวลา  2 วัน แน่นอนว่าสร้าง Brand Awareness ได้ แต่ก็เกิดกระแสต่อต้านพอสมควร (วิเคราะห์ว่าส่วนหนึ่งมาจาก Sansiri สินค้าไม่ได้ Mass ทำให้หลายๆคนเห็นว่าข้อมูลที่ส่งมาให้ไม่เกี่ยวกับเขา)
64 Facebook - กรณีตัวอย่าง สมมติว่า เราทำโรงเรียนกวดวิชา iEducation ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียน ม. 4-6 ใน กรุงเทพมหานคร ต้องการที่จะใช้ Facebook Page ในทางการตลาด โดยใช้ Facebook Page
65 Facebook - กรณีตัวอย่าง
66 Facebook - กรณีตัวอย่าง
67 Facebook - กรณีตัวอย่าง
68 Facebook - กรณีตัวอย่าง
69 Facebook - กรณีตัวอย่าง
70 Facebook - กรณีตัวอย่าง
71 Facebook - กรณีตัวอย่าง
72 Facebook - กรณีตัวอย่าง
73 Facebook - กรณีตัวอย่าง
74 Facebook - กรณีตัวอย่าง
75 Facebook - กรณีตัวอย่าง
76 Facebook - กรณีตัวอย่าง
77 Facebook - กรณีตัวอย่าง
78 Facebook - กรณีตัวอย่าง
79 Facebook - กรณีตัวอย่าง
80 Facebook - กรณีตัวอย่าง
81 Facebook - กรณีตัวอย่าง
82 Facebook - กรณีตัวอย่าง
83 Facebook - กรณีตัวอย่าง
84 Facebook - กรณีตัวอย่าง
85 Facebook - กรณีตัวอย่าง
86 Facebook - กรณีตัวอย่าง
87 Facebook - ส่วนประกอบ รายละเอียดของ Facebook Page  Wall – เป็นเสมือนบอร์ดให้กิจการหรือ Fan สามารถเข้ามาโพสต์ข้อความต่างๆ รูปภาพ คลิปวิดีโอได้ โดยใช้ในการแจ้งข้อมูลข่าวสาร พุดคุยและแสดงความคิดเห็น และหาก Fan เห็นว่าเนื้อหาใดที่ตนชื่นชอบก็แสดงผ่านทาง Like หรือต้องการบอกต่อก็กด Share  Info – เป็นส่วนหนึ่งที่บอกว่าเราคือใคร ทำอะไร อยู่ที่ไหน ติดต่อกับเราได้อย่างไร เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ
88 Facebook - ส่วนประกอบ รายละเอียดของ Facebook Page  Photos – แสดงกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นในกิจการ รูปภาพของสินค้า และให้ Fan ลงรูปของตนเองได้ด้วย  Events – แจ้งข่าวกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้ Fan ได้รับทราบ  Video – อาจจะลงโฆษณา หรือสื่อถึงกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้น หรือแม้กระทั่งให้ Fan มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ  Notes – แจงเรื่องราวสั้นๆที่อาจจะเป็นการลดราคาสินค้า สินค้าใหม่ สินค้าขายดี และอื่นๆที่เด่นในช่วงนั้น
89 Facebook - ส่วนประกอบ รายละเอียดของ Facebook Page   Discussion Board – เป็นเสมือนกระทู้ ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องมือสนทนาแลกเปลี่ยนในหัวข้อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสินค้าหรือบริการ การตอบปัญหาลูกค้า หรือ Feedback  Reviews – ส่วนที่ Fan สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจการหรือสินค้าของเรา
90 Facebook - ส่วนประกอบ รายละเอียดของ Facebook Page   Tab พิเศษ – เราสามารถเพิ่ม Tab พิเศษได้ โดยใช้ภาษา HTML หรือ FBML หรืออาจจะเป็นรูปภาพหรือ Flash เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป เช่น  Starbucks – จัดการเกี่ยวกับ Starbucks Card  Red Bulls – แจ้งความเคลื่อนไหวของนักกีฬาและมี Web TV  ไทยๆ ใช้แจ้งกิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้น ส่วนใหญ่เป็นรูปแล้วลิงค์
91 Facebook – News Feed ความสามารถในการบอกต่อของ Facebook Page – กล่าวได้ว่า Social Media มีจุดเด่นชัดเจนที่สุดคือการสร้างการบอกต่อ หรือที่เรียกว่า Viral Marketing ไม่ว่าจะทำกิจกรรมอะไร เช่น Like, Share หรือโพสต์ข้อความใน Wall จะมีความเคลื่อนไหวของเราให้คนอื่นๆ ได้รู้ผ่านทาง News Feed
92 คำถาม จะเห็นว่าการสร้าง Facebook Page นั้นไม่ยาก เหมือนเราใช้ Facebook ทั่วไป เราก็ใช้ได้ โดยไม่ต้องมีใครมาสอน  แต่ที่ยากกว่านั้นคือ เนื้อหา บทสนทนา และกิจกรรมทางการตลาดใน Facebook Page ควรจะเป็นเช่นไร???
93 สำรวจ Facebook Page
94 สำรวจ Facebook Page
95 สำรวจ Facebook Page
96 ปัญหาการใช้ Facebook Page รูปแบบการพูดจา สวัสดีตอนเช้าวันอาทิตย์ สำหรับหนึ่งวันที่ยังอากาศดี หลับพักผ่อนเต็มที่ให้สมกับเป็นคืนวันศุกร์นะคะ^^ สุขสันต์วันศุกร์ค่ะ ขอให้เป็นวันที่วิเศษสำหรับทุกท่านนะคะ^^ สวัสดีวันเสาร์สบาย ๆ ค่ะ Happy Raining Day นะคะ ^0^
97 ปัญหาการใช้ Facebook Page เนื้อหา  ข้อคิดดีๆ เกี่ยวกับการใช้ชีวิตและคำคม  ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ  แนะนำอาหารหรือร้านอาหาร  ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม
98 ปัญหาการใช้ Facebook Page เนื้อหา  สถานที่ท่องเที่ยว  แนะนำภาพยนตร์  ข้อมูลสินค้า-บริการของตนเอง  คุณคิดยังไง หาก Facebook Page ของธุรกิจธนาคาร รถยนต์ ค่ายหนัง ร้านกาแฟ สายการบิน คอมพิวเตอร์ น้ำดื่ม ฯลฯ เหมือนกันไปหมด??
99 ปัญหาการใช้ Facebook Page กิจกรรมทางการตลาด – เน้นในการเพิ่มจำนวน Fan โดยใช้รางวัลมาล่อเพื่อให้กด Like โดยส่วนใหญ่เน้นว่าผู้ชนะต้องได้รับเสียงโหวตมากที่สุด ทำให้เกิดการชวนเพื่อนๆ ให้ร่วมด้วยช่วยกันโหวต แต่กิจกรรมการตลาดนั้นไม่ได้มีเนื้อหาที่สนับสนุนคุณค่าของแบรนด์ เพียงหวังให้คนกด Like เยอะๆ เท่านั้น
100 ปัญหาการใช้ Facebook Page วิธีการดังกล่าว ทำให้สร้าง Brand????
101 ปัญหาการใช้ Facebook Page คำถามผมเกิดขึ้น  “หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความแตกต่างทั้งในส่วนบทสนทนา เนื้อหา และกิจกรรมทางการตลาดของแต่ละแบรนด์ขึ้นอยู่กับอะไร”  คำตอบไม่พ้น 3 คำนี้  “คุณค่า คุณค่า คุณค่า” และคุณค่าดังกล่าว สามารถถ่ายทอดผ่านการตลาดเชิงประสบการณ์
102 การตลาดเชิงประสบการณ์ การตลาดเชิงประสบการณ์ – สิ่งที่เรามอบให้ คือ ประสบการณ์ด้านคุณค่าของสินค้าหรือบริการของเรา ทำให้แบรนด์ของเรามีความแตกต่างจากแบรนด์อื่นๆ ซึ่งคุณค่ามาจาก 2 ทางคือ คุณสมบัติของสินค้า ซึ่งในการแข่งขันที่รุนแรง ค่อนข้างยากที่สร้างความแตกต่างในเรื่องนี้  อารมณ์ความรู้สึก
103 การตลาดเชิงประสบการณ์ VolVo คุณสมบัติคือความปลอดภัย แต่ในด้านอารมณ์ความรู้สึกคือ ผู้คุ้มครองปกป้องเราและคนที่เรารัก  นมตราหมี คุณสมบัติคือ ดื่มแล้วสุขภาพดี แข็งแรง ด้านอารมณ์ความรู้สึกคือ “เพื่อคนที่คุณรัก”  เป๊ปซี่ คุณสมบัติคือ ดับกระหาย คลายเหนื่อย อารมณ์ความรู้สึกคือ เครื่องดื่มสำหรับคนรุ่นใหม่
104 การตลาดเชิงประสบการณ์ M-150 คุณสมบัติ คือ อึด ไม่ง่วง อารมณ์ความรู้สึกคือ การแหกกรอบ ไม่มีลิมิตของชีวิต  กระทิงแดง คุณสมบัติเหมือน M-150 อารมณ์ความรู้สึกคือ ความมุ่งมั่น เด็ดเดี่ยว  Louis Vitton คุณสมบัติคือ ความงามแบบ classic ทน อารมณ์ความรู้สึกคือ Hiso การได้รับการยอมรับ
105 การตลาดเชิงประสบการณ์ วัตถุประสงค์หลักของการตลาดเชิงประสบการณ์ คือ การสร้างแบรนด์ ซึ่งมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้  สร้างคำมั่นสัญญาของแบรนด์  (Brand Promise) นั่นคือ คุณค่าที่เราสัญญาจะส่งไปให้กับลูกค้า  ออกแบบประสบการณ์ลูกค้าที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์ เพื่อถ่ายทอดคุณค่าผ่านไปยังจุดสัมผัสลูกค้า (Touch Point) ต่างๆ ที่กิจการมีอยู่  สุดท้ายเราจะได้ Brand Personality
106 การตลาดเชิงประสบการณ์
107 ความหมายของประสบการณ์
108 ความหมายของประสบการณ์ คำถาม “ดูคลิปวิดีโอนี้แล้ว คุณคิดว่าตำรวจไทยน่ารัก น่าเอ็นดูขึ้นไหม และทำไม?”  สำหรับผม “ไม่” เพราะจุดสัมผัสอื่นๆที่ผมเจอ ตำรวจไทยยังแย่อยู่
109 ความหมายของประสบการณ์ เราจะประเมินแบรนด์จากประสบการณ์ที่เราได้เจอ  ผมเคยชอบร้านอาหารแห่งหนึ่งในหนองคาย เพราะประสบการณ์ที่ได้รับจากรสชาติของอาหาร บรรยากาศของร้านที่เหมือนกับการกินข้าวที่บ้าน แต่เจ้าของดูเจ้ายศเจ้าอย่าง ผมเลยไม่ไปทานในที่สุด  Call Center  ตอบคำถามผมไม่ได้ ผมก็ติดลบแบรนด์ไป แต่เมื่อไปที่ร้าน Telewiz พนักงานบริการดีมาก ผมก็มีทัศนคติต่อ 	แบรนด์ดีขึ้น  ผมเดินผ่านหน้าร้าน Starbucks ได้กลิ่นของกาแฟ ทำให้ผม 	อดรนทนไม่ได้ต้องเข้าไปลองชิมรสชาติ
110 ความหมายของประสบการณ์ กรณีศึกษานครชัยแอร์  ประสบการณ์เก่าๆจากการนั่งรถทัวร์สายขอนแก่น-กทม. การจอดกลางทางที่ บขส. โคราช ซึ่งเราไม่ค่อยอยากตื่นลงมากิน  มีคูปองอาหาร แต่อาหารเป็นข้าวต้มวิญญาณไก่  คนขับมีคนเดียวและขับเร็วมาก  พนักงานหน้าตาดุๆ ไม่รับแขก  การจองตั๋วต้องมาจองที่บริษัท
111 ความหมายของประสบการณ์ กรณีศึกษานครชัยแอร์  ประสบการณ์ใหม่จากนครชัยแอร์  ไม่มีการจอดรถเพื่อทานข้าว แต่แจกข้าวกล่องในรถ ซึ่งมีคุณภาพมากกว่า  มีคนขับรถ 2 คน คอยสับเปลี่ยนกันขับคนละครึ่งทาง  ขับรถไม่เร็ว มีระยะเวลาเดินทางค่อนข้างแน่นอน คือ 6 ชั่วโมงครึ่ง  พนักงานต้อนรับหน้าตาแจ่มใส  การจองตั๋วทำได้หลากหลายช่องทาง
112 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ ปกติ การสื่อสารทางการตลาดของแบรนด์ต่างๆ มักจะบอกว่าสินค้าของตนดีกว่าคู่แข่งอย่างไร เช่น ขาวกว่า อร่อยกว่า หอมกว่า นุ่มกว่า ถามตัวคุณดูสิว่า สบู่ยี่ห้อใดหอมกว่า ผงซักฟอกใดซักผ้าได้ขาวกว่า ยาสระผมใด ทำให้ผมนุ่มกว่า ร้านอาหารใด อร่อยกว่า  คุณจะรู้สึกว่าตอบยากมาก
113 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ ธุรกิจที่มีการแข่งขันกันมากๆ การสร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ทำได้ยาก โดยเฉพาะการเน้นไปที่คุณสมบัติ  ดังนั้นการสร้างความแตกต่างจึงหันมาเล่นเรื่อง อารมณ์ความรู้สึก (Emotional Differentiation) ซึ่ง 	ทำให้สินค้าที่เหมือนกันแตกต่างกันออกไป
114 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ ลองมาดูความแตกต่างของ ซุปไก่สกัด ตรา “แบรนด์” และ ตรา “สก๊อต”  ตราแบรนด์ เน้น ดื่มแล้วฉลาด ผ่านทางพรีเซนเตอร์ อย่าง “หนูดี” วนิษา เรซ หรือ “โต๋” ศักดิ์สิทธิ์ เวชสุภาพร และมีกิจกรรมทางการตลาดที่เกี่ยวกับการศึกษา  ตราสก็อต เน้น ความกระชุ่มกระชวย เป็นหนุ่มเป็นสาว  จะเห็นว่าสินค้าเหมือนกัน แต่คุณค่าที่มอบให้ต่างกันด้านอารมณ์ความรู้สึก
115 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ ทำไม MK จึงให้พนักงานออกมาเต้น
116 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ คุณค่าของ MK คือ ความสนุกสนานและความอบอุ่น การออกมาเต้นของพนักงาน เป็นหนึ่งจุดสัมผ้สที่ทำให้รู้สึกว่าพนักงานนั้นมีความใกล้ชิดกับลูกค้า และทำให้บรรยากาศของร้านมีความสนุกสนาน
117 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ การส่งมอบประสบการณ์ผ่าน Facebook Page ของแสนสิริ  คุณค่าที่แสนสิริกำหนด (Brand Promise) คือ “ความสุข”  “ความสุข” ถูกส่งผ่านทาง Facebook Page โดย  ร่วมกับ Loveis ทำบทเพลงรัก-อบอุ่นขึ้นบน Facebook  จัดคอนเสิร์ตให้ลูกบ้านฟังฟรี โดยนำความเคลื่อนไหวแสดงไว้ที่ Facebook Page  จัดกิจกรรมที่เปิดให้ Fan ร่วมสนุก คือ การประกวดร้องเพลง โครงการใจแลกใจ มอบเงิน 1 แสนช่วยภาคใต้
118 วิเคราะห์คุณค่า วิเคราะห์คุณค่า – รสดี
119 วิเคราะห์คุณค่า วิเคราะห์คุณค่า – ไทยสมุทรประกันชีวิต
120 คุณค่ากำหนดเนื้อหา สินค้าประเภทเดียวกันอาจจะมี Brand Promise ต่างกัน กรณีของเครื่องดื่มชูกำลัง 3 แบรนด์ คือ M-150, กระทิงแดง และ ลูกทุ่ง มี Brand Promise ที่แตกต่างกัน  M-150 เน้นเรื่อง ไม่มีลิมิตชีวิตเกินร้อย มีบุคลิกภาพ คือ เป็น นักแหกกรอบ  กระทิงแดง เน้นเรื่อง เป้าหมายมีไว้ให้พุ่งชน มีบุคลิกภาพ คือความเป็นนักสู้ที่ไม่ย่อท้อ  ลูกทุ่ง เน้นเรื่อง ชีวิตชาวบ้าน บุคลิกภาพคือ ความใสซื่อแบบคนในชนบท
121 คุณค่ากำหนดเนื้อหา สมมติว่า M-150 จะทำ Facebook Page อาจจะมีเนื้อหาดังนี้  เนื้อหาของคนแหกกรอบ เช่น ปีกาสโซ่, กาลิเลโอ, สตีฟ จอบส์, อองซานซูจี, จิตร ภูมิศักดิ์  เนื้อหาเกี่ยวกับนวัตกรรม  กิจกรรมการแข่งขันเกี่ยวกับนวัตกรรม กิจกรรมเกี่ยวกับการแหกกรอบ กล้าคิด กล้าทำ  พูดคุยสนทนาแบบกันเอง สไตล์เพื่อนคุยกัน
122 คุณค่ากำหนดเนื้อหา สมมติว่า กระทิงแดงจะทำ Facebook Page อาจจะมีเนื้อหาดังนี้   เนื้อหาเกี่ยวกับคนสู้ชีวิตไม่ท้อถอย เช่น นักธุรกิจ นักเขียน นักกีฬา  เคล็ดลับความสำเร็จ และคำคม  กิจกรรมทางการตลาดที่เน้นการต่อสู้กับอุปสรรค  จัดให้มีเกมส์ออนไลน์ ในสไตล์ที่ต้องฝ่าฟันไปในแต่ละด่าน คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นตัวกำหนด “คุณค่า” คำตอบคือ Brand Positioning
123 Brand Positioning Kotler & Keller ให้ความหมายของคำว่า Positioning ว่า “เป็นการออกแบบข้อเสนอและภาพลักษณ์ของ 	แบรนด์ที่แตกต่างไปจากแบรนด์อื่นๆ ในใจของตลาดเป้าหมาย” เมื่อวางตำแหน่งแล้ว ก็ออกแบบคุณค่าออกไป  เหตุผลของการวางตำแหน่งทางการตลาด คือ หาช่องว่างที่คู่แข่งยังไม่เล่น กำหนดตำแหน่ง ณ จุดนั้น จากนั้นก็ส่งคุณค่าเพื่อสื่อออกไป
124 Brand Positioning ธุรกิจเครื่องดื่มชูกำลัง Ready กำหนดตำแหน่งทางการตลาดใหม่ คือ เครื่องดื่มชูกำลังสำหรับผู้หญิง ซึ่งถูกละเลยไป มีแต่สำหรับผู้ชายอย่าง M-150, กระทิงแดง, ฉลาม ฯลฯ  รูปทรงของขวดใสเหมือนรูปขวดเหล้าย่อส่วน  รสผลไม้ สีแดง
125 Brand Positioning
126 Brand Positioning คุณค่าที่ Ready มอบให้ คือ ความสนุกสนาน น่ารักสดใส และความมั่นใจ ซึ่งเมื่อเรามอบให้อย่างสม่ำเสมอ ทำให้เกิดบุคลิกภาพของแบรนด์ขึ้นในที่สุด และจากคุณค่าเราจะได้เนื้อหาใน Facebook Page  เสริมสวย 			- ที่เที่ยวกลางคืน  การแต่งกาย 			- สถานที่พักผ่อน การเสริมบุคลิกภาพ 		- เพศสัมพันธ์  การสร้างความมั่นใจ
127 Brand Positioning บทสนทนาใน Facebook Page ของ Ready อาจจะแบบจ๊ะจ๋า เม้าส์แตก แต่ควรจะดูมั่นใจในตัวเอง (ประมาณกาละแมร์)  กิจกรรมที่ Ready จัดขึ้นอาจจะเป็น  เวลาคุณจะจับผู้ชาย ทำอย่างไรบ้าง  ถ้าคุณเจอผู้ชายลวนลาม คุณจะทำอย่างไร
128 Brand Positioning “รสดี” จะทำ Facebook Page ละ จากตำแหน่งทางการตลาดด้านอามรณ์ความรู้สึก “ความสุขภายในครัว” เนื้อหาอาจจะเป็น   ความรู้เกี่ยวกับการทำให้ครอบครัวมีความสุข  วิธีการทำอาหาร  เคล็ดลับการดูแลรักษาครัว แนะนำอาหารอร่อย แจ้งถึงกิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นเพื่อครอบครัว
129 Brand Positioning “รสดี” จะทำ Facebook Page ละ กิจกรรมทางการตลาด  ให้บอกเล่าสูตรอาหาร  ประกวดภาพถ่าย “ครอบครัวแสนสุข”  จัดทำเกมส์ทำอาหารที่มีรสดีเป็นองค์ประกอบ
130 Brand Positioning
131 Brand Positioning M&M ตำแหน่งทางการตลาด คือ ความสนุกสนาน ความบันเทิง สะท้อนชัดจากตัวสินค้าที่มีหลากหลายสี สดใส น่ากิน ข้อแนะนำสำหรับ Facebook Page  รูป Profile เป็นการ์ตูนน่ารัก และควรให้เป็นตัวดำเนินเรื่องใน Facebook Page  เนื้อหา เน้นไปที่หนังหรือเพลง ควรคัดเลือก Fan ไปเที่ยวหรือจัดปาร์ตี้ สร้าง Community  การจัด Fun Photo Contest ให้ Fan ถ่ายภาพแสดงความสนุกสนานกับช็อกโกแลตในรูปแบบต่างๆ
132 Brand Positioning วิธีหนึ่งในการกำหนดปัจจัยในการวางตำแหน่งแบรนด์ คือ การระดมสมอง เช่น สมมติว่าออกยาสีฟันใหม่ เรามาระดมสิว่า ปัจจัยอะไรที่ทำให้เราตัดสินใจซื้อ  เริ่มที่ปัจจัยด้านคุณประโยชน์ก่อน  และมาเป็นปัจจัยด้านอารมณ์ความรู้สึก
133 Brand Positioning
134 Brand Positioning จากนั้นเรามาดูแต่ละคุณประโยชน์ว่า เราจะเลือกตรงไหนที่ทำให้สินค้าของเรามีความแตกต่างจากยาสีฟันแบรนด์อื่นๆ หากเลือกปัจจัยฟันขาวสะอาดหรือป้องกันฟันผุ ก็เหมือนกับแบรนด์อื่น ไม่แตกต่าง  เมื่อได้คุณประโยชน์ที่เราเลือกแล้ว จากนั้นก็นำมาเป็นตำแหน่งทางการตลาด แล้วคิดคุณค่าที่ถ่ายทอดออกไป
135 กำหนดตัวตนใน Facebook Page ทำไมใน Facebook Page ชอบใช้ผู้หญิงมาพูด  Kleenex ToGo  Chevrolet Thailand  Kbank Live  Sansiri  Virgin Hitz 95.5  Dell Thailand
136 กำหนดตัวตนใน Facebook Page   ส่วนใหญ่คำตอบคือ “การใช้เพศหญิงดูนุ่มนวลมากกว่าเพศชายในการพูดคุยกับ Fan”
137 กำหนดตัวตนใน Facebook Page คำตอบคือน่าจะอยู่ที่ “บุคลิกภาพของแบรนด์” ที่เป็นตัวกำหนดเพศใน Facebook Page  สมมติว่า Kbank Live ต้องการมอบคุณค่าคือ ข้อมูลทางการเงินแบบมืออาชีพ การใช้หญิงสาวจ๊ะจ๋าไปวันๆอาจจะไม่เหมาะ  Chevrolet Thailand หากต้องการมอบคุณค่าคือ ความเชี่ยวชาญด้านเครื่องยนต์ การใช้เพศหญิงมาพูด อาจจะดูเป็นพริตตี้
138 กำหนดตัวตนใน Facebook Page ลีลาการพูด จำเป็นต้องสุภาพ เรียบร้อยกันไปหมดทุก Facebook Page ไหม  หากแบรนด์เรา Sexy ก็พูดแบบสาวขี้เล่น  หากแบรนด์เราดิบเถื่อน ก็พูดแบบเฮ้วๆ ไปไหนไปกัน  หากแบรนด์ดูทรงภูมิ ก็พูดแบบนักวิชาการ สุภาพ  หากแบรนด์สนุกสนาน ก็พูดแบบหยอกเย้ากระเซ้าแหย่  สิ่งสำคัญคือ บุคลิกภาพต้องสม่ำเสมอ อย่าแปรปรวน
139 กำหนดตัวตนใน Facebook Page ให้พูดโดยใช้แบรนด์ หรือ คน ดีกว่ากัน  สำคัญที่หาก CEO คุณเด่น สามารถเชื่อมโยงไปถึง 	แบรนด์ได้ ก็น่าจะพูดด้วย CEO ได้ เช่น สมัยก่อน คุณตัน เห็นหน้าก็คือ โออิชิ จะทำ Facebook Page แล้วให้คุณตันมาพูดแทนแบรนด์ก็ไม่แปลก ดูใกล้ชิดมาก  หรือหากเป็น SMEs การใช้เจ้าของมาพูดก็ดีกว่าแบรนด์ เช่น หมูทอดเจ๊จง  แต่หากนอกเหนือจากนี้ ใช้แบรนด์พูดจะดีกว่า
140 การมีส่วนร่วมของลูกค้า การเปิดโอกาสให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมที่แบรนด์จัดขึ้น ทำให้เกิดความคุ้นเคย จนกระทั่งกลายเป็นความภักดี (Brand Loyalty) ปกติแบรนด์ต่างๆ จะจัดอยู่เสมอ ที่เด่นมากคือ ซุปไก่สกัดตราแบรนด์ จะมีโครงการ Brand’s Summer Camp, โครงการแข่งขันเกมส์พัฒนาสมอง ตอกย้ำคุณค่าของแบรนด์ คือ ดื่มแล้วฉลาด
141 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ข้อได้เปรียบของ Facebook ต่อการจัดกิจกรรมแบบ Customer Engagement  ความสามารถในการโต้ตอบ (Interactive) การจัดกิจกรรมแล้วให้ Fan ร่วมสนุก เช่น ประกวดภาพหรือคลิปวิดีโอ สร้างบทสนทนากับ Fan ได้อย่างต่อเนื่อง มี Application ต่างๆ โดยเฉพาะการใช้เกมส์ เช่น Coke เข้าไปอยู่ใน Café World บน Facebook ที่ผู้เล่นสามารถส่ง Coke ให้แก่ผู้อื่นเป็นของขวัญ
142 การมีส่วนร่วมของลูกค้า
143 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ข้อได้เปรียบของ Facebook ต่อการจัดกิจกรรมแบบ Customer Engagement  ความสามารถในการให้ข้อมูลข่าวสาร – แบรนด์สามารถให้ข้อมูลประชาสัมพันธ์ได้ง่าย ใส่ได้ทั้งรูปภาพและคลิปวิดีโอ ร่วมถึง Link ที่เกี่ยวข้อง  ความสามารถในการบอกต่อ ความสำคัญของ Like และ Share
144 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ข้อได้เปรียบของ Facebook ต่อการจัดกิจกรรมแบบ Customer Engagement  เสมือนเป็นบ้านสำหรับลูกค้าที่ภักดี เป็นสังคมที่คนคอเดียวกันเข้ามาพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสามารถแสดง Feedback ได้ เช่น Mo and Friend ที่จำหน่ายเสื้อผ้าบน Facebook บรรดาลูกค้าต่างใส่เสื้อผ้าที่ซื้อ แล้วนำมาถ่ายรูปอวดกัน กลายเป็นตัวกระตุ้นสำคัญสำหรับลูกค้าอื่นด้วย
145 การมีส่วนร่วมของลูกค้า Customer Engagement ของ Brand ต่างๆ บน Facebook Air Asia จัดกิจกรรม “Friend get Friends” ไม่มีอะไรมากไปกว่า การชวนเพื่อนให้มาเป็น Fan ให้มากที่สุด  Ford Fiesta – ถ่ายรูปคู่กับรถฟอร์ดเฟียสต้า 	ที่ไหนก็ได้ แล้วบรรยายความประทับใจ แล้วโหวต  Office 2010 ให้ Fan โพสต์ภาพในออฟฟิศลงบน Wall แล้วชวนเพื่อนๆ มาคลิ๊กปุ่ม Like
146 การมีส่วนร่วมของลูกค้า บิดาของ Facebook Marketing  	“พระครูวิจิตรธรรมโชติ”
147 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ปัญหาของกิจกรรมการสร้าง Fan  ไม่ตรงกลุ่มเป้าหมาย คือ ได้ Fan มาเยอะ แต่ใช่กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการหรือเปล่า เช่น โรงแรม ใบหยก สกาย ให้ถ่ายรูปคู่กับโรงแรม อาจจะตัดแปะ กราฟฟิก ไดคัท ก็ได้ ให้โพสต์ผ่าน Wall แล้วเรียกเพื่อนๆ มากด Like เราต้องดูโครงสร้างของกลุ่มเป้าหมายของโรงแรมใบหยก แล้วที่ได้ Fan มานี้ตรงกลุ่มหรือเปล่า
148 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ปัญหาของกิจกรรมการสร้าง Fan  ขบวนการล่ารางวัล – มีพวกที่มุ่งแต่จะเอารางวัล ทำกันเป็นขบวนการ จนเกิดการร้องเรียนจาก Fan คนอื่นๆ แทนที่เราจะได้ภาพลักษณ์ที่ต้องการสร้าง กลับเสียชื่อไปก็มี  คำถามว่า แล้วกิจกรรมทางการตลาดที่จัดขึ้นควรเป็นอย่างไร?  “คุณค่า คุณค่า คุณค่า”
149 การมีส่วนร่วมของลูกค้า กรณี Facebook Page ของแชมพู โดฟ  คุณค่าของ โดฟ คือ แชมพูสำหรับผมเสีย  กิจกรรมทางการตลาด คือ “สาวผมเสีย สารภาพผิด” ให้บรรดาสาวๆ มาลงทะเบียนสารภาพผิดต่อเส้นผม จากนั้นเลือกเพื่อนมาร่วมสารภาพผิด ชวนได้ครั้งละไม่เกิน 5 คน แต่จะชวนกี่ครั้งก็ได้ ผู้ที่มีเพื่อนเข้ามาร่วมสารภาพผิดมากที่สุด ได้รางวัล นอกจากนี้ใน Facebook ยังมีเนื้อหาว่า ผมเสียเกิดจากอะไร และความรู้เกี่ยวกับการดูแลเส้นผม
150 การใช้ BETTER Model BETTER Model  Brand Personality  Emotional Connection  Target Audience  Two-Way Communication  Exponential Element  Reach
151 การใช้ BETTER Model BETTER Model – โรงเรียนกวดวิชา iEducation  Target Audience – นักเรียนชั้น ม. 4-6 ใน กรุงเทพฯ  Brand Personality – คนที่เก่ง มีความรู้ แต่เต็มไปด้วยความสนุกสนาน ไม่เคร่งขรึมมากเกินไป Emotional Connection – ขอแยกเป็นแบบในภาพรวม และส่วนที่ใช้กับ Facebook Page
152 การใช้ BETTER Model Emotional Connection ในภาพรวม  รูป โรงเรียนทาสีสดใส โบร์ชัวร์ดีไซน์ทันสมัย หนังสือประกอบการเรียนสีสันสวยงาม และมีขำขันแทรก  กลิ่น แผนกต้อนรับใช้กลิ่นสปา  เสียง ในส่วนด้านหน้าเปิดเพลงสนุกสนาน แต่เบาๆ ไม่รบกวนการเรียน บางวิชาใช้เพลงเป็นสื่อการสอน มีห้องคาราโอเกะ  สัมผัส จัดประกวดคาราโอเกะ สร้างสื่อการสอนออนไลน์
153 การใช้ BETTER Model Emotional Connection ใน Facebook Page  รูป นำเสนอบรรยากาศโรงเรียนด้วยภาพและคลิปวิดีโอ เสนอภาพนักเรียน ความเป็นสังคมในโรงเรียน แนะนำตัวอาจารย์ในรูปแบบ Video เนื้อหาการสอนเป็นรูปแบบคลิปวิดีโอสั้นๆ  เสียง คลิปวิดีโอผู้เข้าประกวดร้องเพลง คลิปสอนวิชาภาษาอังกฤษที่ใช้เพลงเป็นสื่อ  สัมผัส การประกวดร้องเพลงคาราโอเกะ ประกวดภาพในหัวข้อ “ความทรงจำในวัยเรียน” แข่งขันตอบคำถาม
154 การใช้ BETTER Model Exponential Element – กระตุ้นให้เกิดการบอกต่อ โดยการใช้เครื่องมือ Like, Share และ News Feed เมื่อเนื้อหาเรามีคุณค่า ยอมเกิดการบอกต่อเอง แต่อาจจะใช้กิจกรรมเป็นตัวเร่งให้เกิดการบอกต่อ  Reach – อาจจะใช้สื่ออื่นๆ เสริมเพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เช่น Banner โบร์ชัวร์มี QR Code
155 ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง กับBETTER Model ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง  ร้านตั้งอยู่ที่ จังหวัดเพชรบุรี เป็นร้านเก่าแก่ตั้งมาตั้งแต่ปี 2499 ปัจจุบันถือเป็นรุ่นที่ 3 จาก อากง อาเจ๊ก และแม่  Target Audience อายุ 15-35 ปี เป็นนักท่องเที่ยวจาก กรุงเทพฯ (T)  Brand Personality “ความเอาใจใส่ต่อลูกค้าและความสนุกสนาน” ตามสโลแกน คือ หน้าไม่งอ รอไม่นาน (B)
156 ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง กับBETTER Model ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง  Emotional Connection (ทั่วไป)  มีโทรทัศน์ตั้งตรงกลางร้าน เปิดเพลงมิวสิควิดีโอ สร้างความเพลิดเพลิน ไม่ให้รู้สึกว่ารอนาน  มีแบบสอบถามตั้งไว้บนโต๊ะ ให้กรอกว่ารู้สึกอย่างไรกับรสชาติของอาหาร รวมทั้งข้อมูล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ และ e-mail  ส่ง SMS ขอบคุณผู้ที่มากิน ตอนเย็นวันนั้น และ SMS ในวันเกิด
157 ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง กับBETTER Model ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง  Emotional Connection (Facebook)  รูปและเสียง ภาพถ่ายเมนูอาหารที่หลากหลาย การทำให้ลูกค้ารู้สึกเป็นคนพิเศษ โดยการแสดงภาพใน Wall การจัดทำคลิปวิดีโอที่ให้ลูกค้ามีส่วนร่วมอย่างสนุกสนาน  รสและกลิ่น จัดกิจกรรมแจกคูปองอาหาร เพื่อให้ลูกค้าได้มีโอกาสในการทดลองกิน  สัมผัส การพูดคุยทักทาย และการจัดกิจกรรมทางการตลาด เช่น คลิปวิดีโอประกวดในหัวข้อ “ชวนเพื่อนกินก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง”
158 ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง กับBETTER Model ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง  Two-way Communication (T) – มีการพูดคุยกับลูกค้าสม่ำเสมอ แต่ควรเน้นการตั้งคำถามเพื่อให้ Fan แสดงความคิดเห็น หรืออาจจะมีกิจกรรมที่เน้นการพูดคุยแลกเปลี่ยนระหว่าง Fan ด้วยกัน Exponential Element (E) – กระตุ้นให้เกิดการบอกต่อผ่าน Like Share ลูกค้าที่ส่งรูปมาทำการ Tag รูปให้เพื่อนๆ ได้รับรู้ด้วย   Reach (R) เจ๊กเม้งมีการใช้สื่อ Twitter, Foursquare, YouTube, Flickr, QR Code, Google Map
159 ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง กับBETTER Model
160 Workshop – ICE Monster
161 Workshop – Wrangler

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Facebook

Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์Khonkaen University
 
Social Media Marketing ของ บริษัทประกันภัย
Social Media Marketing ของ บริษัทประกันภัยSocial Media Marketing ของ บริษัทประกันภัย
Social Media Marketing ของ บริษัทประกันภัยKhonkaen University
 
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว Khonkaen University
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Google apps & social network for e commerce
Google apps & social network for e commerceGoogle apps & social network for e commerce
Google apps & social network for e commerceSaran Yuwanna
 
Googleappssocialnetworkfore commerce-121109104157-phpapp02
Googleappssocialnetworkfore commerce-121109104157-phpapp02Googleappssocialnetworkfore commerce-121109104157-phpapp02
Googleappssocialnetworkfore commerce-121109104157-phpapp02Beau Waranya Limprasert
 
DAAT DAY : Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
DAAT DAY :  Digital Trend Spotting 2016 & Implication For BrandDAAT DAY :  Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
DAAT DAY : Digital Trend Spotting 2016 & Implication For BrandDAAT_TH
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketingAew Zhiitzu
 
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์SadatSeidu1
 
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)Reach China Holdings Limited
 

Semelhante a Facebook (20)

Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
Social media marketing โดย ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์
 
Social Media Marketing
Social Media MarketingSocial Media Marketing
Social Media Marketing
 
Social Media Marketing ของ บริษัทประกันภัย
Social Media Marketing ของ บริษัทประกันภัยSocial Media Marketing ของ บริษัทประกันภัย
Social Media Marketing ของ บริษัทประกันภัย
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
 
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
Google apps & social network for e commerce
Google apps & social network for e commerceGoogle apps & social network for e commerce
Google apps & social network for e commerce
 
Googleappssocialnetworkfore commerce-121109104157-phpapp02
Googleappssocialnetworkfore commerce-121109104157-phpapp02Googleappssocialnetworkfore commerce-121109104157-phpapp02
Googleappssocialnetworkfore commerce-121109104157-phpapp02
 
Tu resturant
Tu resturantTu resturant
Tu resturant
 
TH Developing communication target
TH Developing communication targetTH Developing communication target
TH Developing communication target
 
Social cmmu
Social cmmuSocial cmmu
Social cmmu
 
IMC description
IMC descriptionIMC description
IMC description
 
DAAT DAY : Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
DAAT DAY :  Digital Trend Spotting 2016 & Implication For BrandDAAT DAY :  Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
DAAT DAY : Digital Trend Spotting 2016 & Implication For Brand
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketing
 
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
Brand me up! สร้างตัวตนให้เด่นจนเป็นแบรนด์
 
Digital maketing
Digital maketingDigital maketing
Digital maketing
 
Social bangkok
Social bangkokSocial bangkok
Social bangkok
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
Digital Jungle (ฉบับภาษาไทย)
 

Mais de Khonkaen University (20)

FM-short.pptx
FM-short.pptxFM-short.pptx
FM-short.pptx
 
credit.pptx
credit.pptxcredit.pptx
credit.pptx
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
Digital marketing
Digital marketingDigital marketing
Digital marketing
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Mailchimp
MailchimpMailchimp
Mailchimp
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshopการเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
 
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
 
Mba ecommerce
Mba ecommerceMba ecommerce
Mba ecommerce
 
Mba ecommerce
Mba ecommerceMba ecommerce
Mba ecommerce
 
Google place
Google placeGoogle place
Google place
 
Export
ExportExport
Export
 
Tu resturant
Tu resturantTu resturant
Tu resturant
 
Methopoint
MethopointMethopoint
Methopoint
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
 
Socialfor sm es-2
Socialfor sm es-2Socialfor sm es-2
Socialfor sm es-2
 
slide งานสัมนา "กลยุทธ์การตลาด Social Media"
slide งานสัมนา "กลยุทธ์การตลาด Social Media" slide งานสัมนา "กลยุทธ์การตลาด Social Media"
slide งานสัมนา "กลยุทธ์การตลาด Social Media"
 
E commerce1
E commerce1E commerce1
E commerce1
 
Social cmmu
Social cmmuSocial cmmu
Social cmmu
 

Facebook

  • 2. ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก บริหารธุรกิจ (D.B.A) จาก THE JOINT DOCTORAL PROGRAM IN BUSINESSADMINISTRATION (JDBA) ซึ่งเป็นโครงการร่วมมือระหว่าง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ผลงานเขียนหนังสือด้าน e-Commerce หนังสือ “ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย Facebook” หนังสือ การตลาดแนวใหม่ผ่าน Social Media หนังสือ “Marketing Click” กลเม็ดเคล็ดลับการตลาดออนไลน์ หนังสือ บันทึกความสำเร็จธุรกิจดอทคอม “E-commerce Success Case Study”
  • 3. ติดต่อ ดร. ภิเษก ชัยนิรันดร์ Tel 081-9758189 www.facebook.com/doctorpisek pisek@yahoo.com Twitter @doctorpisek Web Site www.doctorpisek.com
  • 7. ประวัติของ Social Media อริสโตเติล กล่าวไว้เมื่อ 2,000 ปีที่แล้วว่า “มนุษย์เป็นสัตว์สังคม” หมายถึง มนุษย์จะมีชีวิตอยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่า มีความเกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันในหมู่มวลสมาชิก ซึ่งอาจเป็นชาติเดียวกัน นับถือศาสนาและพูดภาษาเดียวกัน มีวิถีชีวิตที่คล้ายคลึงกัน
  • 8. ประวัติของ Social Media เริ่มต้นที่ Usenet News หรือ News group เกิดขึ้นในปี 1979 โดย Tom Truscott และ Jim Ellis เป็นการส่งคำถามเข้าไป และผู้ใช้คนอื่น ๆ ที่พอจะตอบคำถามได้ จะช่วยตอบ ทำให้เกิดสังคม ของการแลกเปลี่ยนข่าวสาร ต่างจากกรณีของ BBS คือ ไม่มี Server กลาง แต่เป็นการส่งข้อมูลระหว่างหลายๆ Server Bulletin Board System (BBS) – อยู่ระหว่างปี 1979 – 1995 พัฒนาโดย Ward Christensen แรกเริ่มจะใช้เครื่อง PC เป็น Server และผู้ใช้จะต้อง Dial ผ่านทาง Modem โดยที่การเข้าใช้ BBS จะเข้าใช้ได้ทีละคนเท่านั้น ส่วนใหญ่ใช้ในการแชร์ไฟล์ที่ผิดกฏหมาย จากนั้นก็มีผู้ให้บริการรายใหญ่ อย่าง CompuServe หรือ Prodigy
  • 10. ประวัติของ Social Media เมื่อเกิด World Wide Web (WWW) ที่เปิดให้สาธารณะสามารถเข้าถึงในปีประมาณ 1994-1995 ก็เปลี่ยน BBS เป็นรูปแบบของ Forum หรือกระดานบอร์ด ที่สามารถเข้าไปใช้ได้ง่ายกว่ามาก ขณะที่การใช้ BBS ต้องเป็นพวกเทคนิค
  • 12. พลังของปัจเจกชน ดูโฆษณานี้ ท่านเชื่อไหม
  • 13. พลังของปัจเจกชน บทวิจัยของ Nielsen Global Online Consumer Survey สำรวจทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อรูปแบบโฆษณาต่างๆทั้งหมด 16 รูปแบบ พบว่า พวกเขาเชื่อถือคำแนะนำจากคนรู้จัก 90% เชื่อความคิดเห็นบนออนไลน์ 70% เชื่อโทรทัศน์ 62% เชื่อหนังสือพิมพ์ 61% เชื่อวิทยุ 55%
  • 14. พลังของปัจเจกชน ตัวอย่าง – การบอกเล่าเกี่ยวกับสินค้าและบริการจากปัจเจกชน
  • 15. พลังของปัจเจกชน ตัวอย่าง – การบอกเล่าเกี่ยวกับสินค้าและบริการจากปัจเจกชน
  • 16. พลังของปัจเจกชน ตัวอย่าง – การบอกเล่าเกี่ยวกับสินค้าและบริการจากปัจเจกชน
  • 17. พลังของปัจเจกชน ความสำคัญของปัจเจกชน – ทำให้เกิดการตลาดแบบปากต่อปาก หรือที่เรียกว่า Viral Marketing เกิดการบอกต่อๆกันไปว่าสินค้าหรือบริการใดดี หรือไม่ดี จากคนไม่กี่คน สามารถกลายเป็น Mass ได้ ทำให้เสียงของปัจเจกชน จากเดิมที่เป็นเสียงเล็กๆ กลายเป็นเสียงใหญ่ ที่คุณต้องฟัง
  • 18. พลังของปัจเจกชน กรณีตัวชี้วัดถึงความสำคัญของปัจเจกชน - ซูซาน บอยด์
  • 19. 19
  • 20. 20
  • 21. พลังของปัจเจกชน กรณีตัวชี้วัดถึงความสำคัญของปัจเจกชน – นาธาน
  • 22. พลังของปัจเจกชน ดังนั้น หัวใจสำคัญของการใช้ Social Media ในทางการตลาด คือ ทำอย่างไรข่าวสารที่ทางกิจการแจ้งออกไปนั้น จะเกิดการบอกต่อ หรือพูดง่ายๆ ว่าเกิด Viral ขึ้น หรือจะทำอย่างไรให้เกิดการ Share
  • 23. เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อยอดขาย Twitter – Dell แจ้งข้อความผ่านทาง Twitter ให้บรรดา Follower ทราบถึงการเปิดขายสินค้าลดราคาพิเศษ คนอื่นเห็นว่ามีประโยชน์ก็พากัน RT บอกกันไป Mood Art and Design School – คนเป็น Fan จะได้รับส่วนลดในการสมัครเรียน 10% Nokia เปิดตัว Nokia 5800 Express Music ให้ Blogger ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านมือถือใช้แล้วบอกต่อ เกิดกระแสปากต่อปาก
  • 24. เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อสร้างการรับรู้ Brand (Brand Awareness) – คือการเน้นให้ลูกค้าได้เข้ามามีส่วนร่วม (Engagement) กับกิจกรรมทางการตลาด เช่น Burger King กับการออก Angry Whopper Blendtec กับหนังโฆษณาที่โด่งดัง
  • 27. 27 เป้าหมายของการใช้ Social Media Brand Awareness – การจะทำให้เกิด Viral Marketing ได้นั้น จะต้อง แปลก น่าตื่นเต้น เกิดประเด็นที่ทำให้สังคมแสดงความเห็นวิจารณ์ สะเทือนอารมณ์ เมื่อผู้ที่ได้ชมชื่นชอบจะเกิดการ Share
  • 28. เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ Sun Microsystems มีการจัดทำ CEO Blog โดยนาย Jonathan Schwartz ที่บอกเล่าถึงนโยบายและความเคลื่อนไหวภายในองค์กร
  • 29. เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ – ปัญหาของการใช้ Social Media ในการประชาสัมพันธ์ คือ เน้นบอกตรงๆ ไม่มีลูกเล่น ไม่สร้าง Viral ให้เกิดขึ้นได้ เช่น สมมติว่าเราเอาโฆษณา TV ไปไว้ที่ YouTube โอกาสน้อยที่จะเกิดการบอกต่อ เพราะเราเบื่อโฆษณาบนทีวีเต็มทน เพราะดูจะเป็นการยัดเยียด
  • 30. เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อสร้าง Community อาจทำผ่าน Facebook หรือ Forum ซึ่งหากเป็นแบรนด์ดังอยู่แล้ว ไม่ยากที่จะสร้าง Community อย่าง Starbucks แต่หากไม่ใช่ ทำอย่างไร กำหนดเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน มีการสร้างบทสนทนา โดยการตั้งคำถาม จัดกิจกรรมให้ลูกค้าได้เข้าร่วม จัด Meeting พบกันนอกสถานที่ ตอบคำถามสมาชิกอย่างรวดเร็ว
  • 31. เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อทราบ Feedback ของลูกค้า – เมื่อเกิดชุมชน ย่อมมีการพูดจาเกี่ยวกับสินค้าของเราทั้งแง่ดีและแง่ร้าย กิจการจะต้องเข้าไปรับรู้และจัดการให้ถูกต้อง
  • 32. เป้าหมายของการใช้ Social Media เพื่อทราบ Feedback ของลูกค้า
  • 33. เป้าหมายของการใช้ Social Media คุณคิดว่าเราจะควบคุมความคิดเห็นต่างๆใน Social Media ได้หรือไม่??
  • 34. เป้าหมายของการใช้ Social Media สร้างการเป็น Marketing Influencer – เป็นกรณีที่ผู้ใช้ประเภทปัจเจกชน ที่ใช้สื่อ Social Media ในการแสดงความรู้ที่ตนเองมี และเมื่อมีผู้คนเข้ามาอ่านมากๆ ก็ทำให้เกิดอิทธิพลทางการตลาดได้ เช่น Jeban เขียนเรื่องความสวยความงามใน Blog มีคนนิยมมากจนเกิดกระแส จากนั้นจึงได้ขยับขยายมาทำ www.jeban.com คำแนะนำของ Jeban เกี่ยวกับเครื่องสำอาง มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อของสาวๆ
  • 37. เป้าหมายของการใช้ Social Media Blog วิจารณ์โทรศัพท์มือถือของ Blogger ชื่อดัง นาย Kafaak
  • 38. ทำไมสื่อเดิมลดความสำคัญลง ปัจจัยที่ทำให้สื่อเดิมลดความสำคัญลง ลักษณะของการสื่อสารทางเดียวที่ควบคุมโดยกิจการ สารการตลาดที่สื่อออกมาเป็นลักษณะของ การเข้าขัดจังหวะ (Interruption) ซึ่งมีอยู่ตลอดเวลาในแต่ละวัน จนกระทั่งผู้รับสารอย่างเราจดจำไม่ไหว ผู้รับสารเกิดการระแวดระวัง เพราะเคยถูกสื่อเดิมๆเหล่านี้หลอกมาแล้ว สำคัญที่สุดคือ ในยุค Internet ทำให้เกิดช่องทางในการค้นหาข้อมูลของสินค้าและบริการต่างๆอย่างมากมาย ซึ่งเกิดจากปัจเจกชนทั่วไปเข้าไปสร้างเนื้อหา ไม่ได้มาจากกิจการ ทำให้การตัดสินใจง่ายขึ้น
  • 39. บทสนทนา หากกิจการยังใช้สื่อเดิมๆที่พูดอยู่ข้างเดียว ย่อมยากที่จะทำให้เกิดการบอกต่อได้ เมื่อกระโจนเข้ามาใช้ Social Media จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเข้ามาร่วมวงพูดคุยกับลูกค้าเป็นรายปัจเจก บทสนทนาที่เกิดขึ้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ จะต้องทำให้เกิดคุณค่าพอในการที่จะบอกต่อๆให้เพื่อนๆได้รับรู้
  • 40. บทสนทนา ตัวอย่างบทสนทนาของ GTH หลักสำคัญคือ สร้างกิจกรรมผ่านทาง Facebook เปิดโอกาสให้บรรดา Fan ได้เข้ามามีส่วนร่วมกับกิจกรรม (Engagement) เช่น ถามคำถามชิงรางวัล ให้ถูกได้ตั๋วหนัง กิจกรรมดังกล่าวสร้างคุณค่า ทำให้ Fan เกิดความต้องการที่อยากร่วมแล้วบอกต่อเพื่อนๆ หรือ GTH ใช้ Twitter สนทนาแบบ Real-Time กับบรรดา Follower เพื่อสร้างสายสัมพันธ์ เป็น CRM ปัญหาคือ คนในสื่อเก่า ไม่คุ้นเคย เคยคุยระดับ Mass แต่ Social Media คุยระดับ Individual
  • 41. การกำหนดตัวตน การกำหนดตัวตนใน Social Media – เข้าไปในนามบุคคล โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารสูงสุด Tony Fernandes – CEO Airasia สร้าง CEO Blog พาที สารสิน – CEO นกแอร์ มี Twitter Account ในนามตนเอง ทำให้คุยได้พูดคุยกับ CEO อย่างใกล้ชิดอย่างที่คุณไม่เคยทำได้มาก่อน การใช้ตัวตนของ CEO ควรเพื่อสร้าง CRM มากกว่าตั้งหน้าตั้งตาขาย เพราะจะทำให้ความน่าเชื่อถือน้อยลง
  • 44. การกำหนดตัวตน การกำหนดตัวตนใน Social Media – การเข้าในนามของกิจการหรือ Brand เช่น GTH แทนที่จะสร้าง Web Site หรือ Social Media ในนามของหนังเรื่องต่างๆที่ตนเองสร้าง กลับใช้ Brand GTH ซึ่งเป็นชื่อบริษัท เบียร์ช้างใช้ Social Media ในการสร้างกิจกรรมรวมถึงแจ้งความเคลื่อนไหวต่างๆของ Brand
  • 46. การกำหนดตัวตน การกำหนดตัวตนใน Social Media – การเข้าโดยใช้บุคลาธิษฐาน คือ การสร้างความเป็นมนุษย์ในสิ่งที่ไม่ใช่มนุษย์ เช่น กรณีของ DTAC ที่สร้างนกสีฟ้า ตาโต มีชื่อเรียกว่าน้องตาแป๋ว ข้อดีคือ มีความเป็นมนุษย์ และหากเกิดอะไรที่ผิดพลาด ก็ไม่กระทบต่อ Brand มากนัก สามารถสร้างบุคลิกให้เข้ากับ Brand ของตนเองได้
  • 48. Twitter Twitter คือ Micro-Blog ที่ผู้ใช้สามารถโพสต์ข้อความได้ไม่เกิน 140 ตัวอักษร ข้อความที่คุณโพสต์จะปรากฏให้บรรดา Follower ของคุณได้อ่าน เปรียบ Follower ง่ายๆ ก็คือคนที่ยอมรับข้อความของคุณโดยสมัครใจ การเปิด Account Twitter ก็เหมือนคุณมี Channel ที่พร้อมจะพูดจากับคนอีกเป็นจำนวนมาก แบบ Real-Time
  • 49. Twitter ทำไมกิจการควรมีการพูดคุยกับลูกค้าแบบ Real Time เพราะเราสามารถเปลี่ยนคนแปลกหน้า เป็นลูกค้าของเรา คนแปลกหน้า --- การเชื่อมโยง --- การปรับเปลี่ยน --- เพื่อน --- ลูกค้า ในช่วงการเชื่อมโยง และการปรับเปลี่ยน คือช่วงที่กิจการมีปฏิสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมาย นั่นเอง ซึ่งถ้าผ่าน Twitter จะมีลักษณะแบบ One-to-One
  • 50. Twitter ตัวอย่างกิจการที่ใช้ Twitter ได้อย่างมีประสิทธิภาพ – Nokair
  • 51. Twitter ตัวอย่างกิจการที่ใช้ Twitter อย่างไม่มีประสิทธิภาพ – BestBuyCondo
  • 52. Twitter ปัญหาของกิจการในการใช้ Twitter ก็คือ เมื่อเริ่มใช้ กิจการไม่รู้จะคุยกับใคร กิจการจะสื่อสารได้อย่างทรงพลัง ควรจะมีจำนวน Follower จำนวนมาก ยิ่งมากเท่าไร ก็หมายถึงจำนวนผู้รับสารการตลาดผ่าน Twitter นั้นมากขึ้น
  • 53. Twitter เราอาจจะใช้กลยุทธ์ต่างๆในการหา Follower ดังนี้ Follow คนอื่นๆ ให้มาเข้าไว้ ถ้าสินค้าของคุณ มีกลุ่มลูกค้ากว้างๆ เมื่อเรา Follow ไป โอกาสที่จะถูก Follow กลับก็มีมาก แม้ไม่ใช่วิธีการที่ดี แต่ง่าย และสารของเราที่สื่ออกไปจะได้รับการสนใจใยดีหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับเนื้อหาหรือสารที่คุณสื่อออกไปมากกว่า สิ่งสำคัญคือ มันจะต้องมีคุณค่า น่าอ่าน สนุกสนาน หรือเป็นประโยชน์
  • 54. Twitter เราอาจจะใช้กลยุทธ์ต่อไปนี้ หากสินค้าของคุณค่อนข้าง Focus เราอาจจะอาศัยดู Bio ว่าพวกเขาสนใจเรื่องอะไร อยู่กลุ่มเป้าหมายของเราหรือไม่ เช่น สมมติว่าลองไปเปรียบเทียบรายละเอียดของคุณ qool_aung และ DrJoop ซึ่งเขียน BIO ตามความสนใจที่แตกต่างกัน ดังต่อไปนี้ หมายเหตุ: ข้อเสียคือ ไม่ใช่ทุกคนที่เขียน BIO ได้ละเอียด และใช้เวลามากในการไล่ดู BIO ของแต่ละคน
  • 58. Twitter หากคุณเป็นร้านค้าที่มีลูกค้าอยู่บริเวณใกล้เคียงเท่านั้น เช่น ร้านกาแฟในเชียงใหม่ เราอยากได้กลุ่มลูกค้าที่เป็นคนเล่น Twitter ในเชียงใหม่เท่านั้น เราอาจจะใช้เครื่องมืออย่าง Nearby Tweet
  • 60. Twitter เราอาจจะใช้กลยุทธ์ในการหา Follower ต่อไปนี้ เข้าไปที่ search.twitter.com จากนั้นใส่ Keyword เกี่ยวข้องกับสินค้าหรือบริการของคุณ เพื่อดูว่ามีใครพูดถึงบ้าง เขาเหล่านั้นคือ Follower ของเรา การสร้างกิจกรรมขึ้นมาเพื่อเป็นตัวเร่งในการเพิ่ม Follower เช่น กรณีของ GTH สร้าง Follower ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น การเปิดให้ RT ข้อความที่ลิงค์ไปยังข้อมูลโปรโมชั่นต่างๆของหนัง แล้ว 5 คนแรกที่ RT จะได้รับบัตรชมภาพยนตร์ 2 ใบในรอบพรีวิว หรือในช่วงหนัง รถไฟฟ้ามหานะเธอ ก็มีกิจกรรมให้ส่งข้อความเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับความเหงาและเรื่องของคนโสด ซึ่งมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นจำนวนมาก
  • 61. Twitter Twitter – จุดอ่อน ผู้เล่น Twitter ที่ Active ในไทยยังน้อย เทียบไม่ได้เลยกับสมาชิก Facebook ที่มีถึง 6 ล้านคน การที่มีคนเล่นน้อย หากสินค้าหรือบริการของคุณ เป็นแบบ Focus ย่อมยากในการหา Follower ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย การที่เราไม่มีชื่อเสียง ยิ่งยากมาก อีกทั้งหากเข้าไปในนามของกิจการ อาจจะไม่มีใครอยากเป็น Follower เพราะกลัวจะมีแต่ข้อมูลโฆษณาประชาสัมพันธ์
  • 62. Twitter Twitter – จุดอ่อน การโต้ตอบสองทางแบบ Real-Time จะต้องระมัดระวังคำพูดให้มาก เพราะจะเกิดอารมณ์โกรธได้ง่าย อีกทั้งผู้ที่ได้อ่านข้อความนั้น สามารถ RT จนการทะเลาะนั้นแพร่สะพัดได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากข้อความที่คุณ Tweet ไปนั้น จะถูกจัดลำดับตามเวลา โดยข้อความใหม่จะปรากฏอยู่ด้านบน ส่วนข้อความเก่าจะต่ำลงมาเรื่อยๆ ทำให้ข้อความข่าวสารที่เราส่งไปนั้น Effective ไม่กี่นาทีเท่านั้น แต่ถ้าส่งไปเรื่อยๆ บ่อยๆ ก็ดูเป็น Spam ทำให้เกิดการ Unfollow เกิดขึ้น
  • 63. Twitter Twitter – จุดอ่อน การใช้เพื่อการตลาดค่อนข้าง Sensitive มีกรณีของ Sansiri ในการจัด Event คือ Wyne in Motion ที่มี Tag #Wyne เพื่อสร้าง Viral ใน Twitter โดยการแจก iPad มีการทวิตกันโดยการใส่ Tag เป็นจำนวนมากในช่วงเวลา 2 วัน แน่นอนว่าสร้าง Brand Awareness ได้ แต่ก็เกิดกระแสต่อต้านพอสมควร (วิเคราะห์ว่าส่วนหนึ่งมาจาก Sansiri สินค้าไม่ได้ Mass ทำให้หลายๆคนเห็นว่าข้อมูลที่ส่งมาให้ไม่เกี่ยวกับเขา)
  • 64. 64 Facebook - กรณีตัวอย่าง สมมติว่า เราทำโรงเรียนกวดวิชา iEducation ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียน ม. 4-6 ใน กรุงเทพมหานคร ต้องการที่จะใช้ Facebook Page ในทางการตลาด โดยใช้ Facebook Page
  • 65. 65 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 66. 66 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 67. 67 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 68. 68 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 69. 69 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 70. 70 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 71. 71 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 72. 72 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 73. 73 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 74. 74 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 75. 75 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 76. 76 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 77. 77 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 78. 78 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 79. 79 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 80. 80 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 81. 81 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 82. 82 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 83. 83 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 84. 84 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 85. 85 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 86. 86 Facebook - กรณีตัวอย่าง
  • 87. 87 Facebook - ส่วนประกอบ รายละเอียดของ Facebook Page Wall – เป็นเสมือนบอร์ดให้กิจการหรือ Fan สามารถเข้ามาโพสต์ข้อความต่างๆ รูปภาพ คลิปวิดีโอได้ โดยใช้ในการแจ้งข้อมูลข่าวสาร พุดคุยและแสดงความคิดเห็น และหาก Fan เห็นว่าเนื้อหาใดที่ตนชื่นชอบก็แสดงผ่านทาง Like หรือต้องการบอกต่อก็กด Share Info – เป็นส่วนหนึ่งที่บอกว่าเราคือใคร ทำอะไร อยู่ที่ไหน ติดต่อกับเราได้อย่างไร เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ
  • 88. 88 Facebook - ส่วนประกอบ รายละเอียดของ Facebook Page Photos – แสดงกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นในกิจการ รูปภาพของสินค้า และให้ Fan ลงรูปของตนเองได้ด้วย Events – แจ้งข่าวกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้ Fan ได้รับทราบ Video – อาจจะลงโฆษณา หรือสื่อถึงกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้น หรือแม้กระทั่งให้ Fan มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ Notes – แจงเรื่องราวสั้นๆที่อาจจะเป็นการลดราคาสินค้า สินค้าใหม่ สินค้าขายดี และอื่นๆที่เด่นในช่วงนั้น
  • 89. 89 Facebook - ส่วนประกอบ รายละเอียดของ Facebook Page Discussion Board – เป็นเสมือนกระทู้ ซึ่งสามารถใช้เป็นเครื่องมือสนทนาแลกเปลี่ยนในหัวข้อต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสินค้าหรือบริการ การตอบปัญหาลูกค้า หรือ Feedback Reviews – ส่วนที่ Fan สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจการหรือสินค้าของเรา
  • 90. 90 Facebook - ส่วนประกอบ รายละเอียดของ Facebook Page Tab พิเศษ – เราสามารถเพิ่ม Tab พิเศษได้ โดยใช้ภาษา HTML หรือ FBML หรืออาจจะเป็นรูปภาพหรือ Flash เพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป เช่น Starbucks – จัดการเกี่ยวกับ Starbucks Card Red Bulls – แจ้งความเคลื่อนไหวของนักกีฬาและมี Web TV ไทยๆ ใช้แจ้งกิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้น ส่วนใหญ่เป็นรูปแล้วลิงค์
  • 91. 91 Facebook – News Feed ความสามารถในการบอกต่อของ Facebook Page – กล่าวได้ว่า Social Media มีจุดเด่นชัดเจนที่สุดคือการสร้างการบอกต่อ หรือที่เรียกว่า Viral Marketing ไม่ว่าจะทำกิจกรรมอะไร เช่น Like, Share หรือโพสต์ข้อความใน Wall จะมีความเคลื่อนไหวของเราให้คนอื่นๆ ได้รู้ผ่านทาง News Feed
  • 92. 92 คำถาม จะเห็นว่าการสร้าง Facebook Page นั้นไม่ยาก เหมือนเราใช้ Facebook ทั่วไป เราก็ใช้ได้ โดยไม่ต้องมีใครมาสอน แต่ที่ยากกว่านั้นคือ เนื้อหา บทสนทนา และกิจกรรมทางการตลาดใน Facebook Page ควรจะเป็นเช่นไร???
  • 96. 96 ปัญหาการใช้ Facebook Page รูปแบบการพูดจา สวัสดีตอนเช้าวันอาทิตย์ สำหรับหนึ่งวันที่ยังอากาศดี หลับพักผ่อนเต็มที่ให้สมกับเป็นคืนวันศุกร์นะคะ^^ สุขสันต์วันศุกร์ค่ะ ขอให้เป็นวันที่วิเศษสำหรับทุกท่านนะคะ^^ สวัสดีวันเสาร์สบาย ๆ ค่ะ Happy Raining Day นะคะ ^0^
  • 97. 97 ปัญหาการใช้ Facebook Page เนื้อหา ข้อคิดดีๆ เกี่ยวกับการใช้ชีวิตและคำคม ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ แนะนำอาหารหรือร้านอาหาร ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม
  • 98. 98 ปัญหาการใช้ Facebook Page เนื้อหา สถานที่ท่องเที่ยว แนะนำภาพยนตร์ ข้อมูลสินค้า-บริการของตนเอง คุณคิดยังไง หาก Facebook Page ของธุรกิจธนาคาร รถยนต์ ค่ายหนัง ร้านกาแฟ สายการบิน คอมพิวเตอร์ น้ำดื่ม ฯลฯ เหมือนกันไปหมด??
  • 99. 99 ปัญหาการใช้ Facebook Page กิจกรรมทางการตลาด – เน้นในการเพิ่มจำนวน Fan โดยใช้รางวัลมาล่อเพื่อให้กด Like โดยส่วนใหญ่เน้นว่าผู้ชนะต้องได้รับเสียงโหวตมากที่สุด ทำให้เกิดการชวนเพื่อนๆ ให้ร่วมด้วยช่วยกันโหวต แต่กิจกรรมการตลาดนั้นไม่ได้มีเนื้อหาที่สนับสนุนคุณค่าของแบรนด์ เพียงหวังให้คนกด Like เยอะๆ เท่านั้น
  • 100. 100 ปัญหาการใช้ Facebook Page วิธีการดังกล่าว ทำให้สร้าง Brand????
  • 101. 101 ปัญหาการใช้ Facebook Page คำถามผมเกิดขึ้น “หลักเกณฑ์ในการพิจารณาความแตกต่างทั้งในส่วนบทสนทนา เนื้อหา และกิจกรรมทางการตลาดของแต่ละแบรนด์ขึ้นอยู่กับอะไร” คำตอบไม่พ้น 3 คำนี้ “คุณค่า คุณค่า คุณค่า” และคุณค่าดังกล่าว สามารถถ่ายทอดผ่านการตลาดเชิงประสบการณ์
  • 102. 102 การตลาดเชิงประสบการณ์ การตลาดเชิงประสบการณ์ – สิ่งที่เรามอบให้ คือ ประสบการณ์ด้านคุณค่าของสินค้าหรือบริการของเรา ทำให้แบรนด์ของเรามีความแตกต่างจากแบรนด์อื่นๆ ซึ่งคุณค่ามาจาก 2 ทางคือ คุณสมบัติของสินค้า ซึ่งในการแข่งขันที่รุนแรง ค่อนข้างยากที่สร้างความแตกต่างในเรื่องนี้ อารมณ์ความรู้สึก
  • 103. 103 การตลาดเชิงประสบการณ์ VolVo คุณสมบัติคือความปลอดภัย แต่ในด้านอารมณ์ความรู้สึกคือ ผู้คุ้มครองปกป้องเราและคนที่เรารัก นมตราหมี คุณสมบัติคือ ดื่มแล้วสุขภาพดี แข็งแรง ด้านอารมณ์ความรู้สึกคือ “เพื่อคนที่คุณรัก” เป๊ปซี่ คุณสมบัติคือ ดับกระหาย คลายเหนื่อย อารมณ์ความรู้สึกคือ เครื่องดื่มสำหรับคนรุ่นใหม่
  • 104. 104 การตลาดเชิงประสบการณ์ M-150 คุณสมบัติ คือ อึด ไม่ง่วง อารมณ์ความรู้สึกคือ การแหกกรอบ ไม่มีลิมิตของชีวิต กระทิงแดง คุณสมบัติเหมือน M-150 อารมณ์ความรู้สึกคือ ความมุ่งมั่น เด็ดเดี่ยว Louis Vitton คุณสมบัติคือ ความงามแบบ classic ทน อารมณ์ความรู้สึกคือ Hiso การได้รับการยอมรับ
  • 105. 105 การตลาดเชิงประสบการณ์ วัตถุประสงค์หลักของการตลาดเชิงประสบการณ์ คือ การสร้างแบรนด์ ซึ่งมีขั้นตอน ดังต่อไปนี้ สร้างคำมั่นสัญญาของแบรนด์ (Brand Promise) นั่นคือ คุณค่าที่เราสัญญาจะส่งไปให้กับลูกค้า ออกแบบประสบการณ์ลูกค้าที่เกี่ยวข้องกับแบรนด์ เพื่อถ่ายทอดคุณค่าผ่านไปยังจุดสัมผัสลูกค้า (Touch Point) ต่างๆ ที่กิจการมีอยู่ สุดท้ายเราจะได้ Brand Personality
  • 108. 108 ความหมายของประสบการณ์ คำถาม “ดูคลิปวิดีโอนี้แล้ว คุณคิดว่าตำรวจไทยน่ารัก น่าเอ็นดูขึ้นไหม และทำไม?” สำหรับผม “ไม่” เพราะจุดสัมผัสอื่นๆที่ผมเจอ ตำรวจไทยยังแย่อยู่
  • 109. 109 ความหมายของประสบการณ์ เราจะประเมินแบรนด์จากประสบการณ์ที่เราได้เจอ ผมเคยชอบร้านอาหารแห่งหนึ่งในหนองคาย เพราะประสบการณ์ที่ได้รับจากรสชาติของอาหาร บรรยากาศของร้านที่เหมือนกับการกินข้าวที่บ้าน แต่เจ้าของดูเจ้ายศเจ้าอย่าง ผมเลยไม่ไปทานในที่สุด Call Center ตอบคำถามผมไม่ได้ ผมก็ติดลบแบรนด์ไป แต่เมื่อไปที่ร้าน Telewiz พนักงานบริการดีมาก ผมก็มีทัศนคติต่อ แบรนด์ดีขึ้น ผมเดินผ่านหน้าร้าน Starbucks ได้กลิ่นของกาแฟ ทำให้ผม อดรนทนไม่ได้ต้องเข้าไปลองชิมรสชาติ
  • 110. 110 ความหมายของประสบการณ์ กรณีศึกษานครชัยแอร์ ประสบการณ์เก่าๆจากการนั่งรถทัวร์สายขอนแก่น-กทม. การจอดกลางทางที่ บขส. โคราช ซึ่งเราไม่ค่อยอยากตื่นลงมากิน มีคูปองอาหาร แต่อาหารเป็นข้าวต้มวิญญาณไก่ คนขับมีคนเดียวและขับเร็วมาก พนักงานหน้าตาดุๆ ไม่รับแขก การจองตั๋วต้องมาจองที่บริษัท
  • 111. 111 ความหมายของประสบการณ์ กรณีศึกษานครชัยแอร์ ประสบการณ์ใหม่จากนครชัยแอร์ ไม่มีการจอดรถเพื่อทานข้าว แต่แจกข้าวกล่องในรถ ซึ่งมีคุณภาพมากกว่า มีคนขับรถ 2 คน คอยสับเปลี่ยนกันขับคนละครึ่งทาง ขับรถไม่เร็ว มีระยะเวลาเดินทางค่อนข้างแน่นอน คือ 6 ชั่วโมงครึ่ง พนักงานต้อนรับหน้าตาแจ่มใส การจองตั๋วทำได้หลากหลายช่องทาง
  • 112. 112 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ ปกติ การสื่อสารทางการตลาดของแบรนด์ต่างๆ มักจะบอกว่าสินค้าของตนดีกว่าคู่แข่งอย่างไร เช่น ขาวกว่า อร่อยกว่า หอมกว่า นุ่มกว่า ถามตัวคุณดูสิว่า สบู่ยี่ห้อใดหอมกว่า ผงซักฟอกใดซักผ้าได้ขาวกว่า ยาสระผมใด ทำให้ผมนุ่มกว่า ร้านอาหารใด อร่อยกว่า คุณจะรู้สึกว่าตอบยากมาก
  • 113. 113 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ ธุรกิจที่มีการแข่งขันกันมากๆ การสร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ทำได้ยาก โดยเฉพาะการเน้นไปที่คุณสมบัติ ดังนั้นการสร้างความแตกต่างจึงหันมาเล่นเรื่อง อารมณ์ความรู้สึก (Emotional Differentiation) ซึ่ง ทำให้สินค้าที่เหมือนกันแตกต่างกันออกไป
  • 114. 114 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ ลองมาดูความแตกต่างของ ซุปไก่สกัด ตรา “แบรนด์” และ ตรา “สก๊อต” ตราแบรนด์ เน้น ดื่มแล้วฉลาด ผ่านทางพรีเซนเตอร์ อย่าง “หนูดี” วนิษา เรซ หรือ “โต๋” ศักดิ์สิทธิ์ เวชสุภาพร และมีกิจกรรมทางการตลาดที่เกี่ยวกับการศึกษา ตราสก็อต เน้น ความกระชุ่มกระชวย เป็นหนุ่มเป็นสาว จะเห็นว่าสินค้าเหมือนกัน แต่คุณค่าที่มอบให้ต่างกันด้านอารมณ์ความรู้สึก
  • 115. 115 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ ทำไม MK จึงให้พนักงานออกมาเต้น
  • 116. 116 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ คุณค่าของ MK คือ ความสนุกสนานและความอบอุ่น การออกมาเต้นของพนักงาน เป็นหนึ่งจุดสัมผ้สที่ทำให้รู้สึกว่าพนักงานนั้นมีความใกล้ชิดกับลูกค้า และทำให้บรรยากาศของร้านมีความสนุกสนาน
  • 117. 117 คุณค่า – หัวใจการตลาดประสบการณ์ การส่งมอบประสบการณ์ผ่าน Facebook Page ของแสนสิริ คุณค่าที่แสนสิริกำหนด (Brand Promise) คือ “ความสุข” “ความสุข” ถูกส่งผ่านทาง Facebook Page โดย ร่วมกับ Loveis ทำบทเพลงรัก-อบอุ่นขึ้นบน Facebook จัดคอนเสิร์ตให้ลูกบ้านฟังฟรี โดยนำความเคลื่อนไหวแสดงไว้ที่ Facebook Page จัดกิจกรรมที่เปิดให้ Fan ร่วมสนุก คือ การประกวดร้องเพลง โครงการใจแลกใจ มอบเงิน 1 แสนช่วยภาคใต้
  • 119. 119 วิเคราะห์คุณค่า วิเคราะห์คุณค่า – ไทยสมุทรประกันชีวิต
  • 120. 120 คุณค่ากำหนดเนื้อหา สินค้าประเภทเดียวกันอาจจะมี Brand Promise ต่างกัน กรณีของเครื่องดื่มชูกำลัง 3 แบรนด์ คือ M-150, กระทิงแดง และ ลูกทุ่ง มี Brand Promise ที่แตกต่างกัน M-150 เน้นเรื่อง ไม่มีลิมิตชีวิตเกินร้อย มีบุคลิกภาพ คือ เป็น นักแหกกรอบ กระทิงแดง เน้นเรื่อง เป้าหมายมีไว้ให้พุ่งชน มีบุคลิกภาพ คือความเป็นนักสู้ที่ไม่ย่อท้อ ลูกทุ่ง เน้นเรื่อง ชีวิตชาวบ้าน บุคลิกภาพคือ ความใสซื่อแบบคนในชนบท
  • 121. 121 คุณค่ากำหนดเนื้อหา สมมติว่า M-150 จะทำ Facebook Page อาจจะมีเนื้อหาดังนี้ เนื้อหาของคนแหกกรอบ เช่น ปีกาสโซ่, กาลิเลโอ, สตีฟ จอบส์, อองซานซูจี, จิตร ภูมิศักดิ์ เนื้อหาเกี่ยวกับนวัตกรรม กิจกรรมการแข่งขันเกี่ยวกับนวัตกรรม กิจกรรมเกี่ยวกับการแหกกรอบ กล้าคิด กล้าทำ พูดคุยสนทนาแบบกันเอง สไตล์เพื่อนคุยกัน
  • 122. 122 คุณค่ากำหนดเนื้อหา สมมติว่า กระทิงแดงจะทำ Facebook Page อาจจะมีเนื้อหาดังนี้ เนื้อหาเกี่ยวกับคนสู้ชีวิตไม่ท้อถอย เช่น นักธุรกิจ นักเขียน นักกีฬา เคล็ดลับความสำเร็จ และคำคม กิจกรรมทางการตลาดที่เน้นการต่อสู้กับอุปสรรค จัดให้มีเกมส์ออนไลน์ ในสไตล์ที่ต้องฝ่าฟันไปในแต่ละด่าน คำถามสำคัญคือ อะไรเป็นตัวกำหนด “คุณค่า” คำตอบคือ Brand Positioning
  • 123. 123 Brand Positioning Kotler & Keller ให้ความหมายของคำว่า Positioning ว่า “เป็นการออกแบบข้อเสนอและภาพลักษณ์ของ แบรนด์ที่แตกต่างไปจากแบรนด์อื่นๆ ในใจของตลาดเป้าหมาย” เมื่อวางตำแหน่งแล้ว ก็ออกแบบคุณค่าออกไป เหตุผลของการวางตำแหน่งทางการตลาด คือ หาช่องว่างที่คู่แข่งยังไม่เล่น กำหนดตำแหน่ง ณ จุดนั้น จากนั้นก็ส่งคุณค่าเพื่อสื่อออกไป
  • 124. 124 Brand Positioning ธุรกิจเครื่องดื่มชูกำลัง Ready กำหนดตำแหน่งทางการตลาดใหม่ คือ เครื่องดื่มชูกำลังสำหรับผู้หญิง ซึ่งถูกละเลยไป มีแต่สำหรับผู้ชายอย่าง M-150, กระทิงแดง, ฉลาม ฯลฯ รูปทรงของขวดใสเหมือนรูปขวดเหล้าย่อส่วน รสผลไม้ สีแดง
  • 126. 126 Brand Positioning คุณค่าที่ Ready มอบให้ คือ ความสนุกสนาน น่ารักสดใส และความมั่นใจ ซึ่งเมื่อเรามอบให้อย่างสม่ำเสมอ ทำให้เกิดบุคลิกภาพของแบรนด์ขึ้นในที่สุด และจากคุณค่าเราจะได้เนื้อหาใน Facebook Page เสริมสวย - ที่เที่ยวกลางคืน การแต่งกาย - สถานที่พักผ่อน การเสริมบุคลิกภาพ - เพศสัมพันธ์ การสร้างความมั่นใจ
  • 127. 127 Brand Positioning บทสนทนาใน Facebook Page ของ Ready อาจจะแบบจ๊ะจ๋า เม้าส์แตก แต่ควรจะดูมั่นใจในตัวเอง (ประมาณกาละแมร์) กิจกรรมที่ Ready จัดขึ้นอาจจะเป็น เวลาคุณจะจับผู้ชาย ทำอย่างไรบ้าง ถ้าคุณเจอผู้ชายลวนลาม คุณจะทำอย่างไร
  • 128. 128 Brand Positioning “รสดี” จะทำ Facebook Page ละ จากตำแหน่งทางการตลาดด้านอามรณ์ความรู้สึก “ความสุขภายในครัว” เนื้อหาอาจจะเป็น ความรู้เกี่ยวกับการทำให้ครอบครัวมีความสุข วิธีการทำอาหาร เคล็ดลับการดูแลรักษาครัว แนะนำอาหารอร่อย แจ้งถึงกิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นเพื่อครอบครัว
  • 129. 129 Brand Positioning “รสดี” จะทำ Facebook Page ละ กิจกรรมทางการตลาด ให้บอกเล่าสูตรอาหาร ประกวดภาพถ่าย “ครอบครัวแสนสุข” จัดทำเกมส์ทำอาหารที่มีรสดีเป็นองค์ประกอบ
  • 131. 131 Brand Positioning M&M ตำแหน่งทางการตลาด คือ ความสนุกสนาน ความบันเทิง สะท้อนชัดจากตัวสินค้าที่มีหลากหลายสี สดใส น่ากิน ข้อแนะนำสำหรับ Facebook Page รูป Profile เป็นการ์ตูนน่ารัก และควรให้เป็นตัวดำเนินเรื่องใน Facebook Page เนื้อหา เน้นไปที่หนังหรือเพลง ควรคัดเลือก Fan ไปเที่ยวหรือจัดปาร์ตี้ สร้าง Community การจัด Fun Photo Contest ให้ Fan ถ่ายภาพแสดงความสนุกสนานกับช็อกโกแลตในรูปแบบต่างๆ
  • 132. 132 Brand Positioning วิธีหนึ่งในการกำหนดปัจจัยในการวางตำแหน่งแบรนด์ คือ การระดมสมอง เช่น สมมติว่าออกยาสีฟันใหม่ เรามาระดมสิว่า ปัจจัยอะไรที่ทำให้เราตัดสินใจซื้อ เริ่มที่ปัจจัยด้านคุณประโยชน์ก่อน และมาเป็นปัจจัยด้านอารมณ์ความรู้สึก
  • 134. 134 Brand Positioning จากนั้นเรามาดูแต่ละคุณประโยชน์ว่า เราจะเลือกตรงไหนที่ทำให้สินค้าของเรามีความแตกต่างจากยาสีฟันแบรนด์อื่นๆ หากเลือกปัจจัยฟันขาวสะอาดหรือป้องกันฟันผุ ก็เหมือนกับแบรนด์อื่น ไม่แตกต่าง เมื่อได้คุณประโยชน์ที่เราเลือกแล้ว จากนั้นก็นำมาเป็นตำแหน่งทางการตลาด แล้วคิดคุณค่าที่ถ่ายทอดออกไป
  • 135. 135 กำหนดตัวตนใน Facebook Page ทำไมใน Facebook Page ชอบใช้ผู้หญิงมาพูด Kleenex ToGo Chevrolet Thailand Kbank Live Sansiri Virgin Hitz 95.5 Dell Thailand
  • 136. 136 กำหนดตัวตนใน Facebook Page ส่วนใหญ่คำตอบคือ “การใช้เพศหญิงดูนุ่มนวลมากกว่าเพศชายในการพูดคุยกับ Fan”
  • 137. 137 กำหนดตัวตนใน Facebook Page คำตอบคือน่าจะอยู่ที่ “บุคลิกภาพของแบรนด์” ที่เป็นตัวกำหนดเพศใน Facebook Page สมมติว่า Kbank Live ต้องการมอบคุณค่าคือ ข้อมูลทางการเงินแบบมืออาชีพ การใช้หญิงสาวจ๊ะจ๋าไปวันๆอาจจะไม่เหมาะ Chevrolet Thailand หากต้องการมอบคุณค่าคือ ความเชี่ยวชาญด้านเครื่องยนต์ การใช้เพศหญิงมาพูด อาจจะดูเป็นพริตตี้
  • 138. 138 กำหนดตัวตนใน Facebook Page ลีลาการพูด จำเป็นต้องสุภาพ เรียบร้อยกันไปหมดทุก Facebook Page ไหม หากแบรนด์เรา Sexy ก็พูดแบบสาวขี้เล่น หากแบรนด์เราดิบเถื่อน ก็พูดแบบเฮ้วๆ ไปไหนไปกัน หากแบรนด์ดูทรงภูมิ ก็พูดแบบนักวิชาการ สุภาพ หากแบรนด์สนุกสนาน ก็พูดแบบหยอกเย้ากระเซ้าแหย่ สิ่งสำคัญคือ บุคลิกภาพต้องสม่ำเสมอ อย่าแปรปรวน
  • 139. 139 กำหนดตัวตนใน Facebook Page ให้พูดโดยใช้แบรนด์ หรือ คน ดีกว่ากัน สำคัญที่หาก CEO คุณเด่น สามารถเชื่อมโยงไปถึง แบรนด์ได้ ก็น่าจะพูดด้วย CEO ได้ เช่น สมัยก่อน คุณตัน เห็นหน้าก็คือ โออิชิ จะทำ Facebook Page แล้วให้คุณตันมาพูดแทนแบรนด์ก็ไม่แปลก ดูใกล้ชิดมาก หรือหากเป็น SMEs การใช้เจ้าของมาพูดก็ดีกว่าแบรนด์ เช่น หมูทอดเจ๊จง แต่หากนอกเหนือจากนี้ ใช้แบรนด์พูดจะดีกว่า
  • 140. 140 การมีส่วนร่วมของลูกค้า การเปิดโอกาสให้ลูกค้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมที่แบรนด์จัดขึ้น ทำให้เกิดความคุ้นเคย จนกระทั่งกลายเป็นความภักดี (Brand Loyalty) ปกติแบรนด์ต่างๆ จะจัดอยู่เสมอ ที่เด่นมากคือ ซุปไก่สกัดตราแบรนด์ จะมีโครงการ Brand’s Summer Camp, โครงการแข่งขันเกมส์พัฒนาสมอง ตอกย้ำคุณค่าของแบรนด์ คือ ดื่มแล้วฉลาด
  • 141. 141 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ข้อได้เปรียบของ Facebook ต่อการจัดกิจกรรมแบบ Customer Engagement ความสามารถในการโต้ตอบ (Interactive) การจัดกิจกรรมแล้วให้ Fan ร่วมสนุก เช่น ประกวดภาพหรือคลิปวิดีโอ สร้างบทสนทนากับ Fan ได้อย่างต่อเนื่อง มี Application ต่างๆ โดยเฉพาะการใช้เกมส์ เช่น Coke เข้าไปอยู่ใน Café World บน Facebook ที่ผู้เล่นสามารถส่ง Coke ให้แก่ผู้อื่นเป็นของขวัญ
  • 143. 143 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ข้อได้เปรียบของ Facebook ต่อการจัดกิจกรรมแบบ Customer Engagement ความสามารถในการให้ข้อมูลข่าวสาร – แบรนด์สามารถให้ข้อมูลประชาสัมพันธ์ได้ง่าย ใส่ได้ทั้งรูปภาพและคลิปวิดีโอ ร่วมถึง Link ที่เกี่ยวข้อง ความสามารถในการบอกต่อ ความสำคัญของ Like และ Share
  • 144. 144 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ข้อได้เปรียบของ Facebook ต่อการจัดกิจกรรมแบบ Customer Engagement เสมือนเป็นบ้านสำหรับลูกค้าที่ภักดี เป็นสังคมที่คนคอเดียวกันเข้ามาพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสามารถแสดง Feedback ได้ เช่น Mo and Friend ที่จำหน่ายเสื้อผ้าบน Facebook บรรดาลูกค้าต่างใส่เสื้อผ้าที่ซื้อ แล้วนำมาถ่ายรูปอวดกัน กลายเป็นตัวกระตุ้นสำคัญสำหรับลูกค้าอื่นด้วย
  • 145. 145 การมีส่วนร่วมของลูกค้า Customer Engagement ของ Brand ต่างๆ บน Facebook Air Asia จัดกิจกรรม “Friend get Friends” ไม่มีอะไรมากไปกว่า การชวนเพื่อนให้มาเป็น Fan ให้มากที่สุด Ford Fiesta – ถ่ายรูปคู่กับรถฟอร์ดเฟียสต้า ที่ไหนก็ได้ แล้วบรรยายความประทับใจ แล้วโหวต Office 2010 ให้ Fan โพสต์ภาพในออฟฟิศลงบน Wall แล้วชวนเพื่อนๆ มาคลิ๊กปุ่ม Like
  • 146. 146 การมีส่วนร่วมของลูกค้า บิดาของ Facebook Marketing “พระครูวิจิตรธรรมโชติ”
  • 147. 147 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ปัญหาของกิจกรรมการสร้าง Fan ไม่ตรงกลุ่มเป้าหมาย คือ ได้ Fan มาเยอะ แต่ใช่กลุ่มเป้าหมายที่ต้องการหรือเปล่า เช่น โรงแรม ใบหยก สกาย ให้ถ่ายรูปคู่กับโรงแรม อาจจะตัดแปะ กราฟฟิก ไดคัท ก็ได้ ให้โพสต์ผ่าน Wall แล้วเรียกเพื่อนๆ มากด Like เราต้องดูโครงสร้างของกลุ่มเป้าหมายของโรงแรมใบหยก แล้วที่ได้ Fan มานี้ตรงกลุ่มหรือเปล่า
  • 148. 148 การมีส่วนร่วมของลูกค้า ปัญหาของกิจกรรมการสร้าง Fan ขบวนการล่ารางวัล – มีพวกที่มุ่งแต่จะเอารางวัล ทำกันเป็นขบวนการ จนเกิดการร้องเรียนจาก Fan คนอื่นๆ แทนที่เราจะได้ภาพลักษณ์ที่ต้องการสร้าง กลับเสียชื่อไปก็มี คำถามว่า แล้วกิจกรรมทางการตลาดที่จัดขึ้นควรเป็นอย่างไร? “คุณค่า คุณค่า คุณค่า”
  • 149. 149 การมีส่วนร่วมของลูกค้า กรณี Facebook Page ของแชมพู โดฟ คุณค่าของ โดฟ คือ แชมพูสำหรับผมเสีย กิจกรรมทางการตลาด คือ “สาวผมเสีย สารภาพผิด” ให้บรรดาสาวๆ มาลงทะเบียนสารภาพผิดต่อเส้นผม จากนั้นเลือกเพื่อนมาร่วมสารภาพผิด ชวนได้ครั้งละไม่เกิน 5 คน แต่จะชวนกี่ครั้งก็ได้ ผู้ที่มีเพื่อนเข้ามาร่วมสารภาพผิดมากที่สุด ได้รางวัล นอกจากนี้ใน Facebook ยังมีเนื้อหาว่า ผมเสียเกิดจากอะไร และความรู้เกี่ยวกับการดูแลเส้นผม
  • 150. 150 การใช้ BETTER Model BETTER Model Brand Personality Emotional Connection Target Audience Two-Way Communication Exponential Element Reach
  • 151. 151 การใช้ BETTER Model BETTER Model – โรงเรียนกวดวิชา iEducation Target Audience – นักเรียนชั้น ม. 4-6 ใน กรุงเทพฯ Brand Personality – คนที่เก่ง มีความรู้ แต่เต็มไปด้วยความสนุกสนาน ไม่เคร่งขรึมมากเกินไป Emotional Connection – ขอแยกเป็นแบบในภาพรวม และส่วนที่ใช้กับ Facebook Page
  • 152. 152 การใช้ BETTER Model Emotional Connection ในภาพรวม รูป โรงเรียนทาสีสดใส โบร์ชัวร์ดีไซน์ทันสมัย หนังสือประกอบการเรียนสีสันสวยงาม และมีขำขันแทรก กลิ่น แผนกต้อนรับใช้กลิ่นสปา เสียง ในส่วนด้านหน้าเปิดเพลงสนุกสนาน แต่เบาๆ ไม่รบกวนการเรียน บางวิชาใช้เพลงเป็นสื่อการสอน มีห้องคาราโอเกะ สัมผัส จัดประกวดคาราโอเกะ สร้างสื่อการสอนออนไลน์
  • 153. 153 การใช้ BETTER Model Emotional Connection ใน Facebook Page รูป นำเสนอบรรยากาศโรงเรียนด้วยภาพและคลิปวิดีโอ เสนอภาพนักเรียน ความเป็นสังคมในโรงเรียน แนะนำตัวอาจารย์ในรูปแบบ Video เนื้อหาการสอนเป็นรูปแบบคลิปวิดีโอสั้นๆ เสียง คลิปวิดีโอผู้เข้าประกวดร้องเพลง คลิปสอนวิชาภาษาอังกฤษที่ใช้เพลงเป็นสื่อ สัมผัส การประกวดร้องเพลงคาราโอเกะ ประกวดภาพในหัวข้อ “ความทรงจำในวัยเรียน” แข่งขันตอบคำถาม
  • 154. 154 การใช้ BETTER Model Exponential Element – กระตุ้นให้เกิดการบอกต่อ โดยการใช้เครื่องมือ Like, Share และ News Feed เมื่อเนื้อหาเรามีคุณค่า ยอมเกิดการบอกต่อเอง แต่อาจจะใช้กิจกรรมเป็นตัวเร่งให้เกิดการบอกต่อ Reach – อาจจะใช้สื่ออื่นๆ เสริมเพื่อให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย เช่น Banner โบร์ชัวร์มี QR Code
  • 155. 155 ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง กับBETTER Model ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง ร้านตั้งอยู่ที่ จังหวัดเพชรบุรี เป็นร้านเก่าแก่ตั้งมาตั้งแต่ปี 2499 ปัจจุบันถือเป็นรุ่นที่ 3 จาก อากง อาเจ๊ก และแม่ Target Audience อายุ 15-35 ปี เป็นนักท่องเที่ยวจาก กรุงเทพฯ (T) Brand Personality “ความเอาใจใส่ต่อลูกค้าและความสนุกสนาน” ตามสโลแกน คือ หน้าไม่งอ รอไม่นาน (B)
  • 156. 156 ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง กับBETTER Model ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง Emotional Connection (ทั่วไป) มีโทรทัศน์ตั้งตรงกลางร้าน เปิดเพลงมิวสิควิดีโอ สร้างความเพลิดเพลิน ไม่ให้รู้สึกว่ารอนาน มีแบบสอบถามตั้งไว้บนโต๊ะ ให้กรอกว่ารู้สึกอย่างไรกับรสชาติของอาหาร รวมทั้งข้อมูล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ และ e-mail ส่ง SMS ขอบคุณผู้ที่มากิน ตอนเย็นวันนั้น และ SMS ในวันเกิด
  • 157. 157 ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง กับBETTER Model ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง Emotional Connection (Facebook) รูปและเสียง ภาพถ่ายเมนูอาหารที่หลากหลาย การทำให้ลูกค้ารู้สึกเป็นคนพิเศษ โดยการแสดงภาพใน Wall การจัดทำคลิปวิดีโอที่ให้ลูกค้ามีส่วนร่วมอย่างสนุกสนาน รสและกลิ่น จัดกิจกรรมแจกคูปองอาหาร เพื่อให้ลูกค้าได้มีโอกาสในการทดลองกิน สัมผัส การพูดคุยทักทาย และการจัดกิจกรรมทางการตลาด เช่น คลิปวิดีโอประกวดในหัวข้อ “ชวนเพื่อนกินก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง”
  • 158. 158 ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง กับBETTER Model ก๋วยเตี๋ยวเจ๊กเม้ง Two-way Communication (T) – มีการพูดคุยกับลูกค้าสม่ำเสมอ แต่ควรเน้นการตั้งคำถามเพื่อให้ Fan แสดงความคิดเห็น หรืออาจจะมีกิจกรรมที่เน้นการพูดคุยแลกเปลี่ยนระหว่าง Fan ด้วยกัน Exponential Element (E) – กระตุ้นให้เกิดการบอกต่อผ่าน Like Share ลูกค้าที่ส่งรูปมาทำการ Tag รูปให้เพื่อนๆ ได้รับรู้ด้วย Reach (R) เจ๊กเม้งมีการใช้สื่อ Twitter, Foursquare, YouTube, Flickr, QR Code, Google Map
  • 160. 160 Workshop – ICE Monster
  • 161. 161 Workshop – Wrangler