SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
Baixar para ler offline
หลักสู ตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2556
รหัสวิชา : 2501-2009
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร

คําอธิบาย
รายวิชา
แผ่นที : 1

เอกสารที

1

จุดประสงค์ รายวิชา เพือให้
1. เข้าใจหลักการและกระบวนการผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตรเบืองต้น
2. สามารถผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและขันตอนกระบวนการ โดยคํานึงถึง
ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยา
่
3. มีเจตคติทีดีตองานอาชีพเกษตร และมีกิจนิสัยในการทํางานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ซือสัตย์
มีความคิดสร้างสรรค์ ขยัน และอดทน
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู ้เบืองต้นเกียวกับหลักการและกระบวนการผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตร
2. วางแผน เตรี ยมการผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการ
3. ผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและกระบวนการ
4. ทดสอบคุณภาพของสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและกระบวนการ
5. ใช้ประโยชน์สารชีวภาพตามหลักการและกระบวนการ
คําอธิบายรายวิชา (เดิม)
ศึกษาและปฏิบติเกียวกับ ความสําคัญของสารชีวภาพ การจําแนกประเภทของสารชีวภาพ การทดสอบ
ั
คุณภาพของสารชีวภาพเพือการเกษตร การผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตร การเก็บรักษา การจัดจําหน่ายและ
นําไปใช้ประโยชน์
หลักสู ตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2556
รหัสวิชา : 2501-2009
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร 1 - 2 - 2

คําอธิบาย
รายวิชา
แผ่นที : 2

เอกสารที

1

จุดประสงค์ รายวิชา
1. เข้าใจหลักการและกระบวนการผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตรเบืองต้น
2. สามารถผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและขันตอนกระบวนการ โดยคํานึงถึง
ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยา
่
3. มีเจตคติทีดีตองานอาชีพเกษตร และมีกิจนิสัยในการทํางานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ซือสัตย์
มีความคิดสร้างสรรค์ ขยัน และอดทน
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู ้เบืองต้นเกียวกับหลักการและกระบวนการผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตร
2. วางแผน เตรี ยมการผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการ
3. ผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและกระบวนการ
4. ทดสอบคุณภาพของสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและกระบวนการ
5. ใช้ประโยชน์สารชีวภาพตามหลักการและกระบวนการ
คําอธิบายรายวิชา (ปรับปรุง)
ปฏิบติเกียวกับงานจําแนกประเภทสารชีวภาพเพือการเกษตร งานผลิตจุลินทรี ยขยาย
ั
์
งานผลิตสารชีวภาพทีใช้เป็ นปุ๋ ยหมักจุลินทรี ยแห้งจากมูลสัตว์ งานผลิตฮอร์โมนเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช
์
งานผลิตนําหมักชีวภาพ งานผลิตสารไล่แมลงศัตรู พืช งานตรวจสอบคุณภาพสารชีวภาพ งานใช้ประโยชน์
และเก็บรักษาสารชีวภาพ งานจัดจําหน่ายสารชีวภาพ และงานทําบัญชีรายรับรายจ่าย
ใบรายการงาน
(Job Listing Sheet)

หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
รหัสวิชา : 2501-2009
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร

รายการ
1 ปฏิบตเิ กียวกับงานจําแนกประเภทสารชีวภาพเพือการเกษตร
ั
2 งานผลิตขยายจุลนทรีย์
ิ
2.1 งานผลิตจุลนทรีย์ อี เอ็ม ขยาย
ิ
2.2 งานผลิตจุลนทรียทองถิน
ิ
์ ้
3 งานผลิตสารชีวภาพทีใช้เป็ นปุ๋ยหมักจุลนทรียแห้งจากมูลสัตว์
ิ
์
3.1 งานผลิตปุ๋ยหมักโบกาฉิ
3.2 งานผลิตปุ๋ยหมักโดยใช้สารเร่ง พด. 1
4 งานผลิตฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโตของพืช
ั
4.1 งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากฟกทองมะละกอและกล้วยนําว้า
4.2 งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากจากสับปะรด
5 งานผลิตนําหมัก
5.1 งานผลิตนําหมักจากเศษผัก
5.2 งานผลิตนําหมักจากเศษปลา
5.3 งานผลิตนําหมักชีวภาพจากนํานมดิบ
6 งานผลิตสารไล่แมลงศัตรูพช
ื
6.1 สูตรไล่แมลง (สุโตจู)
6.2 งานผลิตสารไล่แมลงศัตรู พืช (สูตรนํา)
7 งานตรวจสอบคุณภาพสารชีวภาพ
8 งานใช้ประโยชน์และเก็บรักษาสารชีวภาพ
9 งานจัดจําหน่ายสารชีวภาพ
10 งานทําบัญชีรายรับรายจ่าย
แหล่ งข้ อมูล
A
B
C
D

:
:
:
:

ความสําคัญในอาชีพ
ความถีในการทํางาน
ความสัมพันธ์ของรายวิชาในหลักสูตร
ทรัพยากรทีมีอยู่

เอกสารที

2

แผ่ นที : 1
แหล่งข้อมูล
A B C D
/

/

/
/

/
/

/
/

/
/

/
/

/
/

/
/

/
/

/
/

/
/

/
/

/
/

/
/
/
/
/
/
/
/
/
/

/
/
/
/
/
/
/
/
/
/

/
/
/
/
/
/
/
/
/
/

/
/
/
/
/
/
/
/
/
/

หมายเหตุ
หลักสู ตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
รหัสวิชา : 2501-2009
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
ส.ป.
1

งาน

Teaching Point

2

- การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
- ระเบียบการปฏิบติในการเรี ยน
ั
- งานจําแนกประเภทของสารชีวภาพเพือ - ขันตอนการผลิต
การเกษตร
- ขันตอนการจําแนก
งานผลิตจุลินทรี ย ์ อี เอ็ม ขยาย

3

งานผลิตจุลินทรี ยทองถิน
์ ้

- ขันตอนการผลิต

4

งานผลิตปุ๋ ยหมักโบกาฉิ

- ขันตอนการผลิต

5

งานผลิตปุ๋ ยหมักโดยใช้สารเร่ ง พด. 1

- ขันตอนการผลิต

6

งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากฟั กทอง
มะละกอและกล้วยนําว้า

- ขันตอนการผลิต

7

งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากสับปะรด

- ขันตอนการผลิต

8

งานผลิตนําหมักจากเศษผัก

- ขันตอนการผลิต

โครงการสอน
ต่อภาคเรี ยน
แผ่นที : 1
กิจกรรม

บรรยาย
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั

สื อ

เอกสารที

3

วัดผล

Power
point
แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์
แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั
ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์
แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์
แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั
หลักสู ตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ
รหัสวิชา : 2501-2009
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
ส.ป.

งาน

โครงการสอน
ต่อภาคเรี ยน
แผ่นที : 2

Teaching Point

9

งานผลิตนําหมักจากเศษปลา

- ขันตอนการผลิต

10

งานผลิตนําหมักชีวภาพจากนํานมดิบ

- ขันตอนการผลิต

11

งานผลิตสารไล่แมลง (สุโตจู)

- ขันตอนการผลิต

12

งานผลิตสารไล่แมลงศัตรู พืช (สูตรนํา) - ขันตอนการผลิต

13

งานตรวจสอบคุณภาพสารชีวภาพ

- ขันตอนงาน

ตรวจสอบคุณภาพ

กิจกรรม

สื อ

เอกสารที

3

วัดผล

บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
บรรยาย
อภิปราย
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั

แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์
แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์
แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์
แผ่นพับ
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์
เอกสาร
ของจริ ง
วัสดุ
อุปกรณ์
วัสดุ
อุปกรณ์

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

ทฤษฎี
ปฏิบติ
ั

14

งานใช้ประโยชน์สารชีวภาพ

- ขันตอนการใช้
ประโยชน์สารชีวภาพ

15

งานเก็บรักษาสารชีวภาพ

- ขันตอนการเก็บรักษา สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั
สารชีวภาพ

วัสดุ
อุปกรณ์

ปฏิบติ
ั

16

งานจัดจําหน่ายสารชีวภาพ

สาธิต
่
ปฏิบติงานกลุม
ั

วัสดุ
อุปกรณ์

ปฏิบติ
ั

17

งานทําบัญชีรายรับรายจ่าย

บรรยาย

ตัวอย่าง
สมุดบัญชี

ทฤษฎี

18

สอบปลายภาค เรี ยนที 1

-

-

- ขันตอนการจําหน่าย
- ขันตอนการทําบัญชี
-

-

ปฏิบติ
ั
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชื่อวิชา : สารชีวภาพเพื่อการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
ํ
งาน : งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากฟักทองมะละกอและกล้วยน้าว้า
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1
2
3
4
5
6
7
8

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์
เตรียมผลไม้
เตรียมกากน้ําตาล
เตรียมน้ําสะอาด
เตรียมจุลินทรีย์
ผสมวัสดุ
ตรวจสอบผลงาน
ทําความสะอาดและเก็บ เครื่องมือ อุปกรณ์

หมายเหตุ

A : ประสบการณ์
B : ผู้เชี่ยวชาญ
C : ผู้ชํานาญ
D : สังเกต
E : คู่มือการทํางาน

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน

เอกสารที่

4

แผ่นที่ : 6
A
/
/
/
/
/
/
/
/

แหล่งข้อมูล
B
C
D

E
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: งานผลิตฮอร์ โมนผลไม้ จากฟั กทองมะละกอและกล้ วยนําว้ า
หลังจากจบบทเรี ยนนีแล้ ว นักศึกษาสามารถทีจะ….
วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม (ทฤษฎี)
1.1 บอกชืออุปกรณ์และวัสดุในการผลิตฮอร์ โมนจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ู
1.2 บอกวิธีเขียนใบเบิกเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุได้ ถกต้ อง
ู
1.3 บอกสถานทีเบิกเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุได้ ถกต้ อง
ู
1.4 บอกวิธีตรวจสอบเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุได้ ถกต้ อง
ู
1.5 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุได้ ถกต้ อง
ู
2.1 บอกวิธีเลือกผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ู
2.2 บอกวิธีเตรี ยมมะละกอ ฟั กทอง กล้ วยนําว้ าได้ ถกต้ อง
ู
2.3 บอกวิธีหนผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ั
ู
2.4 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ู
3.1 บอกวิธีตวงกากนําตาลได้ ถกต้ อง
ู
3.2 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมกากนําตาลได้ ถกต้ อง
ู
4.1 บอกวิธีตวงนําสะอาดได้ ถกต้ อง
ู
4.2 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมนําสะอาดได้ ถกต้ อง
ู
5.1 บอกวิธีตวงจุลนทรี ย์ได้ ถกต้ อง
ิ
ู
5.2 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมจุลนทรี ย์ได้ ถกต้ อง
ิ
ู
6.1 บอกวิธีผสมนํา กากนําตาล และจุลนทรี ย์ได้ ถกต้ อง
ิ
ู
6.2 บอกวิธีเทชินผลไม้ สบลงในภาชนะได้ ถกต้ อง
ั
ู
6.3 บอกวิธีเขียนปายบันทึกข้ อมูลได้ ถกต้ อง
้
ู
6.4 บอกข้ อควรระวังในการผสมวัสดุได้ ถกต้ อง
ู
7.1 บอกวิธีตรวจสอบขันตอนการปฏิบติงานได้ ถกต้ อง
ั
ู
7.2 บอกวิธีตรวจสอบอัตราส่วนผสมได้ ถกต้ อง
ู
7.3 บอกวิธีตรวจสอบภาชนะได้ ถกต้ อง
ู
7.4 บอกข้ อควรระวังในการตรวจสอบผลงานได้ ถกต้ อง
ู
8.1 บอกวิธีทาความสะอาดเครื องมือและอุปกรณ์ได้ ถกต้ อง
ํ
ู
8.2 บอกวิธีเก็บอุปกรณ์เข้ าทีได้ ถกต้ อง
ู
8.3 บอกวิธีเก็บกวาดทําความสะอาดสถานทีได้ ถกต้ อง
ู
8.4 บอกข้ อควรระวังในการทําความสะอาด เครื องมือ และอุปกรณ์ได้ ถกต้ อง
ู
IS : ระดับทางสติปัญญา
R : พืนคืนความรู้
A : ประยุกต์ความรู้
T : ส่งถ่ายความรู้

ใบวัตถุประสงค์ ทฤษฎี เอกสารที
6
แผ่ นที : 6
ระดับ (IS)
R
A
/
/
/
/
/

/

/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/
/

T
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/1

1 การเตรี ยมอุปกรณ์และวัสดุในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้
1.1 อุปกรณ์และวัสดุในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ได้แก่

1. ถังพลาสติกพร้อมฝาปิ ด ความจุ 30 ลิตร
หน้ าที ใช้หมักส่วนผสม เช่น นํา กากนําตาล จุลินทรี ย ์
ตรวจสอบ ถังไม่แตก หรื อรัวซึม
ข้ อควรระวัง ล้างให้สะอาดก่อนใช้

ถังพลาสติก

2. กระบอกตวงของเหลว 1,000 มิลลิลิตร
หน้ าที ตวงจุลินทรี ยนา นําสะอาด และกากนําตาล
์ ํ
ตรวจสอบ มีขีดบอกระดับชัดเจน
ข้ อควรระวัง ใช้หน่วยการตวงให้ถูกต้องตามอัตราส่วน

ถ้ วยตวง

เอกสารที
7.6
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/2

เอกสารที
7.6

่
3. มีด กลุมละ 1 เล่ม
หน้ าที หันและสับผลไม้สุก
ตรวจสอบ มีดต้องคม ด้ามไม่หลุด มีสภาพพร้อมใช้
ข้ อควรระวัง ไม่คุยหรื อเล่นกันขณะหันจะบาดมือ

มีด

่
4. เขียง กลุมละ 1 อัน
หน้ าที รองหันผลไม้สุก
ตรวจสอบ เขียงต้องสะอาด มีขนาดกว้างพอประมาณ
ข้ อควรระวัง ใช้เสร็ จแล้วต้องล้าง และผึงให้แ ห้ง ก่ อนเก็บ เพื อ
ป้ องกันเชือรา
เขียงไม้
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/3

เอกสารที
7.6

5. กาละมังพลาสติก
หน้ าที ใส่ชินผลไม้ทีหันแล้ว
ตรวจสอบ ไม่แตกหรื อรัว
ข้ อควรระวัง อย่าใส่ ของที มีนาหนักมากลงในกาละมัง อาจทําให้
ํ
แตกได้

กาละมังพลาสติก
6. ไม้พายคนส่วนผสม 1 ด้าม
หน้ าที คนส่วนผสมในถังหมัก
ตรวจสอบ ไม้พายต้องยาวถึงก้นถังเพือคนได้ทว
ั
ข้ อควรระวัง ก่อนใช้ตองล้างให้สะอาด
้

ไม้ พาย

7. ป้ ายบันทึกข้อมูล และปากกาเมจิก
หน้ าที บันทึกชือสารชีวภาพ และวันเดือนปี ทีผลิต
ตรวจสอบ ใช้วสดุ เช่น กระดาษแข็ง หรื อฟิ วเจอร์บอร์ด
ั
ข้ อควรระวัง เขียนชือสารชีวภาพให้ถูกต้องและแขวนทันทีเมือผลิต
เสร็ จ
ป้ าย ปากกาเมจิก
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/4

เอกสารที
7.6

8. ผลไม้สุก ได้แก่ กล้วยนําว้าสุ ก มะละกอสุก
และฟักทองแก่จด เมือผลไม้ถูกย่อยสลายโดยจุลินทรี ยหลายชนิด
ั
์
เช่น เชือแบคทีเรี ย Bacillus sp. ซึ งสามารถผลิตสารเร่ งการ
เจริ ญเติบโตของพืช เช่น ออกซิน จิบเบอเรลลิน และไซโตไคนิน
่ ั
เป็ นต้น ซึงปริ มาณของสารทีผลิตได้นีจะมากน้อยเพียงใดขึนอยูกบ
ชนิดของผลไม้ทีนํามาใช้ผลิต สารเหล่านีไปกระตุนการเจริ ญเติบโต
้
ของพืช ทําให้พืชให้ผลผลิตทีมีคุณภาพและมีปริ มาณมากขึน
กล้ วยนําว้ าสุ ก มะละกอสุ ก และฟักทอง

9. จุลินทรี ย ์ หรื อ Micro-organisms หมายถึง สิ งมีชีวตเซลล์
ิ
เดียวหรื อหลายเซลล์ ทีมีขนาดเล็กมากจนกระทัง
ไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่า ได้แก่ แบคทีเรี ย ไวรัส
้
โปรโตซัว เห็ด รา จุลินทรี ยเ์ หล่านีมีความสําคัญมากใน
่
ระบบนิเวศ มีชีวิตอยูได้โดยการใช้อินทรี ยวัตถุ โดยการ
ปล่อยเอ็นไซม์ออกมาภายนอกเซลล์ เมือย่อยสลาย
อินทรี ยวัตถุ แล้วจะได้สารประกอบทีเป็ นธาตุอาหารในรู ปที
พืชนําไปใช้ประโยชน์ได้
จุลนทรีย์นา
ิ
ํ

10. กากนําตาล หรื อ Molasses เป็ นวัสดุเหลือทิงจากกระบวนการ
ผลิตนําตาลทราย ของอุตสาหกรรมโรงงานนําตาล ซึงเป็ นวัสดุทีหา
ง่าย ราคาถูก นิยมนํามาใช้เป็ นวัตถุดิบผสมในกระบวนการหมัก
สารชีวภาพสูตรต่างๆเพือใช้เป็ นอาหารของจุลินทรี ย ์ ช่วยให้การย่อย
สลายของวัสดุหลักทีใช้ในการหมักดีขึน

กากนําตาล
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/5

เอกสารที
7.6

11. ข้อควรระวัง ในการเตรี ยมอุปกรณ์และวัสดุในการผลิตฮอร์ โมน
พืชจากผลไม้ อุปกรณ์ ทุกอย่างครบ และมีสภาพพร้ อมใช้ เช่ น มี ด
ควรลับให้คม ถังพลาสติกไม่แตกหรื อรัวซึม มีฝาปิ ด

1.2 วิธีเขียนใบเบิก และ สถานทีเก็บอุปกรณ์ มีดงนี
ั
1. นักศึกษาขอใบเบิกทีห้องพักครู เพือเขียนรายการอุปกรณ์ จํานวน
ลงชือผูเ้ บิก แล้วจึงส่งให้ครู ประจําวิชาลงชืออนุญาต
2. ครู เปิ ดห้องเก็บเครื องมือ ทีศูนย์เรี ยนรู ้เกษตรอินทรี ย ์ และจ่าย
เครื องมือตามรายการขอเบิก
3. เมือใช้เครื องมือเสร็ จแล้วทําความสะอาดให้เรี ยบร้อยจึงนํามาคืน
ครู ทายชัวโมง
้
4. ครู ตรวจสภาพเครื องมือ นับจํานวนให้ครบ พร้อมลงชือกํากับใน
ใบเบิก แล้วจึงเก็บเครื องมือ
5. หากเครื องมือสูญหายนักศึกษาต้องชดใช้ หรื อหักเงินประกันของ
นักศึกษา หรื อแจ้งผูปกครอง
้
6. ข้อควรระวังในการเขียนใบเบิก ควรตรวจสภาพและนับจํานวน
อุปกรณ์ให้ครบตามรายการเบิกทุกครังและคืนให้ครบจํานวน
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/6

เอกสารที
7.6

1.3 สถานทีเบิกเครื องมือ และอุปกรณ์
1. นักศึกษาเบิกเครื องมือ และอุปกรณ์ได้ทีศูนย์เรี ยนรู ้เกษตรอินทรี ย ์
2. ครู แจ้งเจ้าหน้าทีประจําศูนย์เรี ยนรู ้ เพือจ่ายเครื องมืออุปกรณ์แก่
นักศึกษา และอํานวยความสะดวกในคาบเรี ยน
3. ข้อควรระวัง ควรถนอมใช้เ ครื องมื อและอุ ปกรณ์ ใช้อย่า ง
ระมัดระวัง หากชํารุ ดต้องแจ้งครู ใช้เสร็ จแล้วเก็บเข้าทีทุกครัง และ
ไม่นาไปเป็ นสมบัติส่วนตัว
ํ

1.4 วิธีตรวจสอบเครื องมือ มีดงนี
ั
1. มีดหันและสับผลไม้ตองลับให้คมอยูเ่ สมอ
้
2. เขียงรองหันมีขนาดเหมาะสม และมีจานวนเพียงพอ
ํ
3. กระบอกตวงของเหลว 1,000 มิลลิลิตร มีระดับบอกปริ มาตร
ชัดเจน
4. ถังหมักพลาสติกมีฝาปิ ด ถังไม่แตกหรื อรัว
5. ไม้คนส่วนผสมมีความยาวถึงก้นถัง
่
6. ข้อควรระวัง เครื องมืออยูในสภาพพร้อมใช้งาน
1.5 บอกข้อควรระวังการเตรี ยมอุปกรณ์และวัสดุในการผลิต
ฮอร์โมนพืชจากผลไม้

1. เบิกอุปกรณ์และเครื องมือให้ครบ
่
2. ตรวจสอบให้อยูในสภาพพร้อมใช้ ถ้าชํารุ ดต้องแจ้งครู
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/7

เอกสารที
7.6

2 การเตรี ยมผลไม้
2.1 การเตรี ยมผลไม้ มีดงนี
ั
1. ล้างผลไม้ให้สะอาด ผึงไว้ในทีร่ มให้แห้ง
2. เลือกมะละกอและกล้วยนําว้าทีสุก ฟักทองแก่จด
ั
3. ชังนําหนักอย่างละ 2 กิโลกรัม เท่ากัน
4. ข้อควรระวัง เลือกผลไม้ทีแก่จด และชังผลไม้ตามนําหนักที
ั
กําหนด เพือให้ตรงตามอัตราส่วน

2.2 การหันผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชได้ มีดงนี
ั
1. หันผลไม้ไม่ตองปอกเปลือกตามขวาง หันชินใหญ่แล้วสับย่อย
้
รวมทังเปลือกและเมล็ดเข้าด้วยกัน
2. ข้อควรระวัง สับย่อยผลไม้ให้เป็ นชินเล็ก ๆ เพือย่นระยะเวลาใน
การหมัก

2.3 ข้อควรระวังในการเตรี ยมผลไม้ มีดงนี
ั
1. ข้อควรระวัง ควรเลือกผลไม้ทีไม่เป็ นโรคพืชมาผลิต เพราะจะ
เป็ นการแพร่ เชือโรคไปสู่พืชปลูก
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/8

เอกสารที
7.6

3 เตรี ยมกากนําตาล
วิธีตวงกากนําตาลตามอัตราส่วน มีดงนี
ั
1. ใช้ถวยตวง ตวงกากนําตาล 250 มิลลิลิตร
้
2. เทกากนําตาลทีตวงลงในถังหมักทีเตรี ยมไว้
3. ข้อควรระวัง ตวงกากนําตาลให้ถูกต้องตามอัตราส่วน ระมัดระวัง
ไม้ให้หก และล้างภาชนะให้สะอาดหลังใช้งาน

4 เตรี ยมนําสะอาด มีดงนี
ั
วิธีตวงนําสะอาดตามอัตราส่วน มีดงนี
ั
1. ตวงนําสะอาด โดยใช้ถวยตวง หรื อถังนําขนาด10 ลิตร
้
2. ข้อควรระวัง ตวงนําตามอัตราส่วน และนําต้องสะอาดไม่มีสิง
สกปรกเจือปน

5 เตรี ยมจุลินทรี ย ์
วิธีตวงจุลินทรี ยตามอัตราส่วน มีดงนี
์
ั

1. ตวงจุลินทรี ยนา โดยใช้ถวยตวงของเหลว
์ ํ
้
ตวงจุลินทรี ย ์ 250 ม.ล.
2. ข้อควรระวัง ตวงจุลินทรี ยไม่ให้หกเลอะ
์
จุลินทรี ยทีใช้ตองไม่หมดอายุ
์
้
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/9

เอกสารที
7.6

6 ผสมวัสดุ
6.1 วิธีคนส่วนผสมให้เข้ากัน มีดงนี
ั
1. คนส่วนผสมไปทางเดียวกัน ไม่คนกลับไปมา
2. ข้อควรระวังในการคนส่วนผสม คนให้กากนําตาลละลายจนหมด
ไม้พายต้องสะอาด

6.2 วิธีเทชินผลไม้สบลงในภาชนะ มีดงนี
ั
ั
1 เทอย่างระมัดระวังไม่ให้หกลงบนพืน
่
2 คนชินผลไม้สบให้อยูใต้ส่วนผสม
ั

6.3 วิธีเขียนป้ ายบันทึกข้อมูลวันทีผลิต มีดงนี
ั
1 เขียนป้ ายบันทึก
2 ข้อควรระวังในการเขียนป้ ายบันทึกข้อมูล มีดงนี
ั
- เขียนป้ ายบันทึกวัน เดือน ปี ทีผลิตให้ชดเจน
ั
- ติดป้ ายกับถังหมักหลังผลิตทันที
- ป้ ายบันทึกต้องเห็นชัดเจน ไม่ลบเลือน
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/10

เอกสารที
7.6

7 ตรวจสอบผลงาน
7.1 วิธีตรวจสอบขันตอนการปฏิบติงาน มีดงนี
ั
ั
1 ตรวจส่วนผสมขณะชังและตวง ให้ตรงตามอัตราส่วน
2. ตรวจการหันมะละกอ ฟักทองและกล้วย โดยหันทังเปลือกและ
เมล็ด แล้วใส่ลงในถังพลาสติก
3. ตรวจส่วนผสมจุลินทรี ยอีเอ็ม กากนําตาล และนําสะอาด
์
4. ตรวจดูส่วนผสมในถังหมักว่าคลุกเคล้าเข้ากันดีหรื อไม่
5. ตรวจสอบป้ ายบันทึก ว.ด.ป. ทีผลิต และระยะเวลาในการหมัก
6. ตรวจสอบการทําความสะอาดเครื องมือและสถานที

7.2 วิธีตรวจสอบอัตราส่วนผสม มีดงนี
ั

1.
2.
3.
4.
5.
6.

การทําฮอร์ โมนผลไม้
มะละกอสุก 2 กิโลกรัม
ฟักทองแก่จด 2 กิโลกรัม
ั
กล้วยนําว้าสุก 2 กิโลกรัม
จุลินทรี ย ์ EM. 1 แก้ว หรื อ 250 มิลลิลิตร
กากนําตาล 1 แก้ว หรื อ 250 มิลลิลิตร
นําสะอาด 1 ถัง หรื อ 10 ลิตร

1. นักศึกษาชังผลไม้ตามนําหนักทีกําหนด
2. นักศึกษาตวงกากนําตาล จุลินทรี ยนา และนําสะอาดตาม
์ ํ
อัตราส่วนทีกําหนด
3. ข้อควรระวัง ในการตรวจสอบอัตราส่วนผสม หากผลิตใน
ปริ มาณเพิมขึน ให้คานวณส่วนผสมโดยใช้อตราส่วนคงที ดังนี
ํ
ั
จุลินทรี ย ์ : กากนําตาล : นําสะอาด
250 มิลลิลิตร : 250 มิลลิลิตร : 10 ลิตร
2,500 มิลลิลิตร : 2,500 มิลลิลิตร: 100 ลิตร
5,000 มิลลิลิตร : 5,000 มิลลิลิตร: 200 ลิตร
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/11

7.3 วิธีตรวจสอบภาชนะมีดงนี
ั

1. ฝาปิ ดถังหมักต้องปิ ดสนิท
2. ภาชนะบรรจุไม่มีรอยแตกหรื อรัวซึม
3. มีป้ายชือสารชีวภาพ ฮอร์โมนพืชจากผลไม้ผนึกไว้

8 ทําความสะอาด และเก็บเครื องมือ อุปกรณ์
8.1 วิธีทาความสะอาดเครื องมือ อุปกรณ์ มีดงนี
ํ
ั

1. ล้างด้วยนํายาทําความสะอาด
2. ตรวจนับเครื องมือ และอุปกรณ์

เอกสารที
7.6
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ใบเนือหา
แผ่นที : 1/12

เอกสารที
7.6

8.2 บอกวิธีเก็บเครื องมืออุปกรณ์เก็บเข้าที มีดงนี
ั
1 ล้าง ผึงในทีร่ มให้แห้ง แล้วเก็บเข้าทีเดิม
2 จัดเก็บให้เป็ นระเบียบ และเป็ นประเภท เช่น เครื องชัง ถ้วยตวง
เขียง มีด ภาชนะ เป็ นต้น

8.3 ข้อควรระวัง ในการเก็บอุปกรณ์และทําความสะอาด
สถานที มีดงนี
ั
1 นับจํานวนให้ครบตรงตามใบเบิกก่อนเก็บเข้าที
2 เช็ดล้างเก็บกวาดเศษวัสดุ ทําความสะอาดสถานที
หลังปฏิบติงานทุกครัง
ั
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

รหัสวิชา 2501-2009

เรื อง งานผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้
คําชีแจง วงกลมล้อมรอบข้อคําตอบทีถูกต้องทีสุด
1. ข้อใดเป็ นอุปกรณ์ในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ก. มะละกอ
ค. จุลินทรี ยนา
์ ํ

ข. เขียง
ง. กากนําตาล

2. ข้อใดเป็ นวัสดุในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ก. ถังหมัก
ค. มีด
3. ข้อควรระวังในการเขียนใบเบิกอุปกรณ์คือ
ก. ตรวจสภาพและนับให้ครบ
ค. ให้ครู เขียนรายการเบิก
4. ข้อใดคือวิธีตรวจสอบเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุ
ก. ใช้ขนตวงของเหลว
ั
ค. มีดต้องคมอยูเ่ สมอ

ข. ฟักทอง
ง. ถ้วยตวง
ข. เบิกและคืนกับครู เท่านัน
ง. ต้องลงชือนักศึกษาทุกคน
ข. ใช้เขียงไม้เท่านัน
ง. ถังหมักไม่ตองมีฝาปิ ด
้

5. ข้อควรระวังในการเตรี ยมเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุคือ
ก. ดัดแปลงอุปกรณ์เพือใช้แทนกัน
ข. เครื องมือ อุปกรณ์ชารุ ดแต่ใช้ได้
ํ
ค. เครื องมือชํารุ ดแจ้งครู ภายหลัง
ง. เบิกเครื องมือ อุปกรณ์ให้ครบ
6. จงบอกวิธีเลือกผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืช
ก. ผลไม้ไม่เป็ นโรคพืช
ค. ผลไม้แก่และสะอาด

ข. ผลไม้มีนาหนักดี
ํ
ง. ผลไม้หาง่ายและมีเมล็ด

7. สถานทีเบิกเครื องมือ อุปกรณ์ ในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ควรมีลกษณะอย่างไร
ั
ก. เป็ นสถานทีมิดชิด
ข. เป็ นทีนัดพบ
ค. มีความสะดวกในการทํางาน
ง. เป็ นทีรับฝากสิ งของ
8. ผลไม้ชนิดใดทีนิยมใช้ผลิตฮอร์โมนพืช
ก. สับปะรด ส้มโอ น้อยหน่า
ค. นําอ้อย แตงโม ละมุด

ข. กล้วย มะละกอ ฟักทอง
ง. มะม่วง ส้ม สับปะรด

ใบทดสอบ
แผ่นที : 1/1

เอกสารที

8
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

รหัสวิชา 2501-2009

9. จงบอกวิธีเตรี ยมผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืช
ก. ชังนําหนักตรงตามอัตราส่วน
ค. เลือกผลไม้ทีเสี ยมาใช้ผลิต

ข. ล้างผลไม้และตากไว้ให้แห้ง
ง. เลือกผลใหญ่ทีสุด

10. การหันผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชควรหันอย่างไร
ก. หันและสับให้ละเอียด
ข. หันชินใหญ่เพือความรวดเร็ ว
ค. หันและสับเป็ นชินเล็กๆ
ง. หันทังเปลือกและเมล็ด
11. การเลือกผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชมีขอควรระวังคือ
้
ก. เลือกผลไม้ทีปราศจากโรค
ข. เลือกใช้ผลไม้ทีเน่าเสี ย
ค. เลือกผลไม้สีสวย
ง. เลือกผลไม้ทีกินได้
12. ใช้กากนําตาล 250 มล. ต่อนํา 10 ลิตร หากใช้นา 200 ลิตร ต้องใช้กากนําตาลเท่าใด
ํ
ก. 2,000 มล.
ข. 2,500 มล.
ค. 1,500 มล.
ง. 5,000 มล.
13. ข้อควรระวังในการตวงกากนําตาลคือข้อใด
ก. ล้างภาชนะทุกครัง
ค. ไม่ทาหกเลอะเทอะ
ํ

ข. เทอย่างระมัดระวัง
ง. อย่าให้แมลงวันตอม

14. นักศึกษาใช้ภาชนะใดตวงนําสะอาด จํานวน 100 ลิตร
ก. ถังนํา
ค. แก้ว

ข. ขัน
ง. ขวด

15. ข้อควรระวังในการเตรี ยมนําสะอาดคือ
ก. ห้ามใช้นาประปา
ํ
ค. ควรใช้นาบาดาล
ํ

ข. ไม่มีสิงสกปรกเจือปน
ง. ใช้นาดืมเท่านัน
ํ

16. ถ้านักศึกษาใช้อตราส่วน จุลินทรี ย ์ 250 มล. ต่อนํา 10 ลิตร ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ั
ก. ใช้จุลินทรี ย ์ 125 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร
ข. ใช้จุลินทรี ย ์ 1.25 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร
ค. ใช้จุลินทรี ย ์ 12.5 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร
ง. ใช้จุลินทรี ย ์ 1,250 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร
17. ข้อควรระวังในการเตรี ยมจุลินทรี ยคือ
์
ก. ตรวจดูวนหมดอายุ
ั
ค. ใส่ชุดป้ องกันกลิน

ข. หลีกเลียงการสัมผัส
ง. หลีกเลียงการสูดดม

ใบทดสอบ
แผ่นที : 1/2

เอกสารที

8
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

รหัสวิชา 2501-2009

18. หลังจากผสมนํากับกากนําตาลควรปฏิบติอย่างไร
ั
ก. เทชินผลไม้สบ
ั
ค. คนให้เข้ากัน

ใบทดสอบ
แผ่นที : 1/3

ข. ปล่อยให้ละลาย
ง. เปิ ดฝาถังทิงไว้

19. เมือเทชินผลไม้สบลงในถังหมักส่วนผสมแล้วควรปฏิบติอย่างไร
ั
ั
ก. ปิ ดฝาทันทีและเขียนป้ ายชือ
ข. ระวังหกลงบนพืน
่
ค. ระวังเกิดฟองอากาศ
ง. คนชินผลไม้สบให้อยูใต้ส่วนผสม
ั
20. นักศึกษาควรบันทึกข้อมูลใดลงบนป้ ายชือ
่
ก. ชือกลุมนักศึกษา
ค. ชือครู ประจําวิชา

ข. ชือสารชีวภาพและวันทีผลิต
ง. ชือ ชัน ทีอยู่

21. ข้อใดคือควรระวังในการผสมวัสดุ คือข้อใด
ก. ใช้มือคลุกเคล้าส่วนผสม
ค. ไม้พายต้องยาวเสมอถัง

ข. คนให้กากนําตาลละลาย
ง. วัสดุตองสะอาด
้

22. วิธีตรวจสอบขันตอนปฏิบติงานผลิตฮอร์โมนพืช คือข้อใด
ั
ก. ตรวจการปอกผลไม้และแยกเมล็ด
ข. ตรวจความสะอาด
ค. ตรวจปริ มาณนําตาล จุลินทรี ยและนํา
์
ง. ตรวจการชังและตวงตามอัตราส่วน
23. ข้อควรระวัง ในการตรวจสอบอัตราส่วนผสม คือข้อใด
ก. ห้ามใช้ผลไม้อืนจากทีกําหนด
ค. ประมาณส่วนผสมได้ไม่ตองชัง
้

ข. ต้องถามครู ทุกขันตอน
ง. เพิมปริ มาณโดยใช้อตราส่วนคงที
ั

24. ข้อใดคือ วิธีตรวจสอบภาชนะผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้
ก. ตรวจป้ ายชือนักศึกษา
ข. ตรวจฝาถังแล้วปิ ดให้สนิท
ค. ปิ ดพลาสติกกันอากาศเข้า
ง. อุดรอยแตกหรื อรัวซึม
25. วิธีทาความสะอาดเครื องมือ และอุปกรณ์ คือข้อใด
ํ
ก. ล้างแล้วเก็บเข้าที
ข. นับแล้วตรวจล้าง
ค. ล้างแล้ววางผึงแดด
ง. ล้างด้วยนํายาทําความสะอาด
26. วิธีเก็บอุปกรณ์เข้าที คือข้อใด
ก. จัดอุปกรณ์ก่อนเก็บ
ค. ต่างคนต่างเก็บ

ข. แบ่งเป็ นประเภท
ง. ล้าง ผึงแล้วเก็บเข้าที

27. ข้อควรระวัง ในการเก็บอุปกรณ์และทําความสะอาดสถานที คือข้อใด
ก. ตรวจนับให้ครบแล้วเก็บกวาด
ข. ทําความสะอาดสถานทีแล้วเก็บอุปกรณ์
ค. ทําความสะอาดสัปดาห์ละครัง
ง. อุปกรณ์หายไม่ตองชดใช้
้

เอกสารที

8
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

รหัสวิชา 2501-2009

เรือง งานผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้
คําชีแจง ให้นกศึกษาตรวจสอบคําตอบเทียบกับแบบทดสอบ
ั
1. ข้อใดเป็ นอุปกรณ์ในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ก. มะละกอ
ค. จุลินทรี ยนา
์ ํ

ข. เขียง
ง. กากนําตาล

2. ข้อใดเป็ นวัสดุในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

ก. ถังหมัก
ค. มีด

ข. ฟักทอง
ง. ถ้วยตวง

3. ข้อควรระวังในการเขียนใบเบิกอุปกรณ์คือ
ก. ตรวจสภาพและนับให้ครบ
ค. ให้ครู เขียนรายการเบิก

ข. เบิกและคืนกับครู เท่านัน
ง. ต้องลงชือนักศึกษาทุกคน

4. ข้อใดคือวิธีตรวจสอบเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุ
ก. ใช้ขนตวงของเหลว
ั
ค. มีดต้องคมอยูเ่ สมอ

ข. ใช้เขียงไม้เท่านัน
ง. ถังหมักไม่ตองมีฝาปิ ด
้

5. ข้อควรระวังในการเตรี ยมเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุคือ
ก. ดัดแปลงอุปกรณ์เพือใช้แทนกัน
ข. เครื องมือ อุปกรณ์ชารุ ดแต่ใช้ได้
ํ
ค. เครื องมือชํารุ ดแจ้งครู ภายหลัง
ง. เบิกเครื องมือ อุปกรณ์ให้ครบ
6. จงบอกวิธีเลือกผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืช
ก. ผลไม้ไม่เป็ นโรคพืช
ค. ผลไม้แก่และสะอาด

ข. ผลไม้มีนาหนักดี
ํ
ง. ผลไม้หาง่ายและมีเมล็ด

7. สถานทีเบิกเครื องมือ อุปกรณ์ ในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ควรมีลกษณะอย่างไร
ั
ก. เป็ นสถานทีมิดชิด
ข. เป็ นทีนัดพบ
ค. มีความสะดวกในการทํางาน
ง. เป็ นทีรับฝากสิ งของ
8. ผลไม้ชนิดใดทีนิยมใช้ผลิตฮอร์โมนพืช
ก. สับปะรด ส้มโอ น้อยหน่า
ค. นําอ้อย แตงโม ละมุด

ข. กล้วย มะละกอ ฟักทอง
ง. มะม่วง ส้ม สับปะรด

ใบเฉลยแบบทดสอบ
แผ่นที : 1/1

เอกสารที

9
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

รหัสวิชา 2501-2009

9. จงบอกวิธีเตรี ยมผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืช
ก. ชังนําหนักตรงตามอัตราส่วน
ค. เลือกผลไม้ทีเสี ยมาใช้ผลิต

ข. ล้างผลไม้และตากไว้ให้แห้ง
ง. เลือกผลใหญ่ทีสุด

10. การหันผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชควรหันอย่างไร
ก. หันและสับให้ละเอียด
ข. หันชินใหญ่เพือความรวดเร็ ว
ค. หันและสับเป็ นชินเล็กๆ
ง. หันทังเปลือกและเมล็ด
11. การเลือกผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชมีขอควรระวังคือ
้
ก. เลือกผลไม้ทีปราศจากโรค
ข. เลือกใช้ผลไม้ทีเน่าเสี ย
ค. เลือกผลไม้สีสวย
ง. เลือกผลไม้ทีกินได้
12. ใช้กากนําตาล 250 มล. ต่อนํา 10 ลิตร หากใช้นา 200 ลิตร ต้องใช้กากนําตาลเท่าใด
ํ
ข. 2,00 มิลลิลิตร
ก. 2,000 มิลลิลิตร
ค. 1,500 มิลลิลิตร
ง. 5,000 มิลลิลิตร
13. ข้อควรระวังในการตวงกากนําตาลคือข้อใด
ก. ล้างภาชนะทุกครัง
ค. ไม่ทาหกเลอะเทอะ
ํ

ข. เทอย่างระมัดระวัง
ง. อย่าให้แมลงวันตอม

14. นักศึกษาใช้ภาชนะใดตวงนําสะอาด จํานวน 100 ลิตร
ก. ถังนํา
ค. แก้ว

ข. ขัน
ง. ขวด

15. ข้อควรระวังในการเตรี ยมนําสะอาดคือ
ก. ห้ามใช้นาประปา
ํ
ค. ควรใช้นาบาดาล
ํ

ข. ไม่มีสิงสกปรกเจือปน
ง. ใช้นาดืมเท่านัน
ํ

16. ถ้านักศึกษาใช้อตราส่วน จุลินทรี ย ์ 250 มล. ต่อนํา 10 ลิตร ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ั
ก. ใช้จุลินทรี ย ์ 125 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร
ข. ใช้จุลินทรี ย ์ 1.25 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร
ค. ใช้จุลินทรี ย ์ 12.5 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร
ง. ใช้จุลินทรี ย ์ 1,250 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร
17. ข้อควรระวังในการเตรี ยมจุลินทรี ยคือ
์
ก. ตรวจดูวนหมดอายุ
ั
ค. ใส่ชุดป้ องกันกลิน

ข. หลีกเลียงการสัมผัส
ง. หลีกเลียงการสูดดม

ใบเฉลยแบบทดสอบ
แผ่นที : 1/2

เอกสารที

9
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

รหัสวิชา 2501-2009

18. หลังจากผสมนํากับกากนําตาลควรปฏิบติอย่างไร
ั
ก. เทชินผลไม้สบ
ั
ค. คนให้เข้ากัน

ใบเฉลยแบบทดสอบ
แผ่นที : 1/3

ข. ปล่อยให้ละลาย
ง. เปิ ดฝาถังทิงไว้

19. เมือเทชินผลไม้สบลงในถังหมักส่วนผสมแล้วควรปฏิบติอย่างไร
ั
ั
ก. ปิ ดฝาทันทีและเขียนป้ ายชือ
ข. ระวังหกลงบนพืน
่
ง. คนให้อยูใต้ส่วนผสม
ค. ระวังเกิดฟองอากาศ
20. นักศึกษาควรบันทึกข้อมูลใดลงบนป้ ายชือ
่
ก. ชือกลุมนักศึกษา
ค. ชือครู ประจําวิชา

ข. ชือสารชีวภาพและวันทีผลิต
ง. ชือ ชัน ทีอยู่

21. ข้อใดคือควรระวังในการผสมวัสดุ คือข้อใด
ก. ใช้มือคลุกเคล้าส่วนผสม
ค. ไม้พายต้องยาวเสมอถัง

ข. คนให้กากนําตาลละลาย
ง. วัสดุตองสะอาด
้

22. วิธีตรวจสอบขันตอนปฏิบติงานผลิตฮอร์โมนพืช คือข้อใด
ั
ก. ตรวจการปอกผลไม้และแยกเมล็ด
ข. ตรวจความสะอาด
ค. ตรวจปริ มาณนําตาล จุลินทรี ยและนํา
์
ง. ตรวจการชังและตวงตามอัตราส่วน
23. ข้อควรระวัง ในการตรวจสอบอัตราส่วนผสม คือข้อใด
ก. ห้ามใช้ผลไม้อืนจากทีกําหนด
ค. ประมาณส่วนผสมได้ไม่ตองชัง
้

ข. ต้องถามครู ทุกขันตอน
ง. เพิมปริ มาณโดยใช้อตราส่วนคงที
ั

24. ข้อใดคือ วิธีตรวจสอบภาชนะผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้
ก. ตรวจป้ ายชือนักศึกษา
ข. ตรวจฝาถังแล้วปิ ดให้สนิท
ค. ปิ ดพลาสติกกันอากาศเข้า
ง. อุดรอยแตกหรื อรัวซึม
25. วิธีทาความสะอาดเครื องมือ และอุปกรณ์ คือข้อใด
ํ
ก. ล้างแล้วเก็บเข้าที
ข. นับแล้วตรวจล้าง
ค. ล้างแล้ววางผึงแดด
ง. ล้างด้วยนํายาทําความสะอาด
26. วิธีเก็บอุปกรณ์เข้าที คือข้อใด
ก. จัดอุปกรณ์ก่อนเก็บ
ค. ต่างคนต่างเก็บ

ข. แบ่งเป็ นประเภท
ง. ล้าง ผึงแล้วเก็บเข้าที

27. ข้อควรระวัง ในการเก็บอุปกรณ์และทําความสะอาดสถานที คือข้อใด
ก. ตรวจนับให้ครบแล้วเก็บกวาด
ข. ทําความสะอาดสถานทีแล้วเก็บอุปกรณ์
ค. ทําความสะอาดสัปดาห์ละครัง
ง. อุปกรณ์หายไม่ตองชดใช้
้

เอกสารที

9
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
งาน
: ผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้

รหัสวิชา 2501-2009

ใบวัตถุประสงค์ ปฏิบติ
ั

เอกสารที

10

แผ่ นที : 1/1

หลังจากจบบทเรี ยนนีแล้ ว นักศึกษาสามารถทีจะ….
วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม (ปฏิบต)
ั ิ
1 เตรี ยมเครื องมือและอุปกรณ์ในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ู
2 เตรี ยมผลไม้ ในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ู
3 เตรี ยมกากนําตาลในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ู
4 เตรี ยมนําสะอาดในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ู
5 เตรี ยมจุลนทรี ย์ในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ิ
ู
6 ผสมวัสดุในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ู
7 ตรวจสอบความเรียบร้ อยในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง
ู
8 ทําความสะอาด และเก็บเครื องมือ อุปกรณ์ได้ ถกต้ อง
ู

PS : ระดับทางทักษะฝี มือ
I : เลืยนแบบ
C : ทําถูกต้ อง
A : ชํานาญ

ระดับ (PS)
I
C
A
/
/
/
/
/
/
/
/
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้

รหัส 2501-2009

่
คําสัง…1 ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ กลุมละ 1 ถัง (20 ลิตร)

คําสังย่ อย
1. ทําขันตอนที 1 - 2 แล้วหยุดตรวจก่อนจึงทําขันที 3 ต่อ
2. ทําขันตอนที 3 - 5 แล้วหยุดตรวจแล้วจึงทําขันที 6 ต่อ
ลําดับขันตอนการปฏิบัตงาน
ิ
เครืองมือ/อุปกรณ์
1 เตรี ยมเครื องมือและอุปกรณ์
1. ถังพลาสติกพร้อมฝาปิ ด ความจุ 30 ลิตร
2 เตรี ยมผลไม้
2. กระบอกตวงของเหลว 1,000 มิลลิลิตร
่
3 เตรี ยมกากนําตาล
3. มีด กลุมละ 1 เล่ม
่
4 เตรี ยมนําสะอาด
4. เขียง กลุมละ 1 อัน
5 เตรี ยมจุลินทรี ย ์
5. ผ้าพลาสติกปูพืนหรื อถุงปุ๋ ย
6 ผสมวัสดุ
6. ไม้พายคนส่วนผสม 1 ด้าม
7 ตรวจสอบผลงาน
7. ป้ ายบันทึกข้อมูล ปากกาเมจิก และทีเย็บกระดาษ
8. ทําความสะอาด และเก็บเครื องมือ อุปกรณ์
เวลา 30 นาที

วัสดุ
1. มะละกอสุก 2 กิโลกรัม
2. กล้วยนําว้าสุก 2 กิโลกรัม
3 ฟักทองแก่จด 2 กิโลกรัม
ั
4. จุลินทรี ยนา 250 มิลลิลิตร
์ ํ
5. กากนําตาล 250 มิลลิลิตร
6. นําสะอาด 10 ลิตร

ใบสังงาน
แผ่นที : 1

เอกสารที

12
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชื่อวิชา : สารชีวภาพเพื่อการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้
ชื่อ.......…………………………………นามสกุล………...……….…………………แผนก………..……………….
วัน/เดือน/ปี…………………………………………………………………….………………………………………..
ผลการประเมิน
จุดประเมิน
ผ่าน
ไม่ผ่าน
1. ลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์
1.2 เตรียมผลไม้
1.3 เตรียมกากน้าตาล
ํ
1.4 เตรียมน้ําสะอาด
1.5 เตรียมจุลินทรีย์น้ํา
1.6 ผสมวัสดุ
1.7 ตรวจสอบผลงาน
1.8 ทําความสะอาด และเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์
2. คุณภาพของผลงาน
2.1 ที่วัดได้
- นักศึกษาผลิตฮอร์โมนเร่งการเจริญของพืชจากผลไม้ได้ กลุม
่
ละ 10 ลิตร
- ส่วนผสมถูกต้องตามอัตราส่วน
- ปิดฝาเรียบร้อย
- มีป้ายชื่อฮอร์โมนพืชจากผลไม้และวันเดือนปีทผลิต
ี่

ใบประเมินผลปฏิบัติฯ
แผ่นที่ : 1

หมายเหตุ

เอกสารที่

13
สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์
ชื่อวิชา : สารชีวภาพเพื่อการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009
งาน
: ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้
ชื่อนักศึกษา…………………………………...…………………………………………แผนก……………………….
วัน/เดือน/ปี ……………………………………………………………………………………………………………..
ผลการประเมิน
จุดประเมิน
ดีมาก
ดี
พอใช้

ใบประเมินผลปฏิบัติฯ

เอกสารที่

13

แผ่นที่ : 2

แก้ไข

หมายเหตุ

2. คุณภาพผลงาน
2.2 วัดไม่ได้
- ความสวยงาม
- ความเรียบร้อย
- ความประณีต
3. เจตคติ (กิจนิสยฯ) ในการทํางาน
ั
- ความรับผิดชอบ
- ความสะอาด
- ความปลอดภัย

เริ่มปฏิบัติงานเวลา……….น. เสร็จเวลา………..น.
สรุปผลการประเมิน

รวมเวลาปฏิบติงาน……….ชั่วโมง………..นาที
ั

ผ่าน
ไม่ผ่าน เนื่องจาก………………………………………………………………..
ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......................
.............................................................................................................................
ผู้ประเมิน…………………………………..
2นำเสนอสื่อ1 13

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาenksodsoon
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันPaew Tongpanya
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมApichaya Savetvijit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สดตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สดNattakorn Sunkdon
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”Utai Sukviwatsirikul
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Thanaphat Tachaphan
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นtumetr1
 
7 วิธีเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
7 วิธีเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน7 วิธีเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
7 วิธีเย็บผ้าขั้นพื้นฐานssuser7a8406
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์kaoijai
 

Mais procurados (20)

การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
เรื่อง การจัดทำระบบคุณภาพในโรงงานอุตสาหกรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สดตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
ตัวอย่างแผนธุรกิจรับจัดดอกไม้สด
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 
ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok ตัวอย่าง Addie ok
ตัวอย่าง Addie ok
 
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
Ch.05 แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (Guidelines for Packaging Design)
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่นความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
ความรู้ทั่วไปและอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น
 
7 วิธีเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
7 วิธีเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน7 วิธีเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
7 วิธีเย็บผ้าขั้นพื้นฐาน
 
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเคน คีน ไคน์
 

Semelhante a 2นำเสนอสื่อ1 13

แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13Piboon Yasotorn
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชาPiboon Yasotorn
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชาPiboon Yasotorn
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาPiboon Yasotorn
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6Aungkana Na Na
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นschool
 
แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7juckit009
 
แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2juckit009
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดstampmin
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPatpeps
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54Lao-puphan Pipatsak
 

Semelhante a 2นำเสนอสื่อ1 13 (20)

แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 6
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้นคำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
คำอธิบายรายวิชา ม.ต้น
 
แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7แผนการเรียนรู้เกษตร7
แผนการเรียนรู้เกษตร7
 
แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2แผนการเรียนรู้เกษตร2
แผนการเรียนรู้เกษตร2
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพดโครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
โครงงานเครื่องหยอดเมล็ดข้าวโพด
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
K11
K11K11
K11
 
K11
K11K11
K11
 
K11 2
K11 2K11 2
K11 2
 
K11 2
K11 2K11 2
K11 2
 
K11 2
K11 2K11 2
K11 2
 

Mais de Piboon Yasotorn

2นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 132นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 13Piboon Yasotorn
 
3นำเสนอสื่อ 5,11
3นำเสนอสื่อ 5,113นำเสนอสื่อ 5,11
3นำเสนอสื่อ 5,11Piboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิมPiboon Yasotorn
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11Piboon Yasotorn
 
ตารางการฝึกอบรม
ตารางการฝึกอบรมตารางการฝึกอบรม
ตารางการฝึกอบรมPiboon Yasotorn
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพPiboon Yasotorn
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัยPiboon Yasotorn
 

Mais de Piboon Yasotorn (14)

2นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 132นำเสนอสื่อ1 13
2นำเสนอสื่อ1 13
 
3นำเสนอสื่อ 5,11
3นำเสนอสื่อ 5,113นำเสนอสื่อ 5,11
3นำเสนอสื่อ 5,11
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม1สื่อวิชาเดิม
1สื่อวิชาเดิม
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
แบบฟอร์มปฏิบัติ 5,11
 
ตารางการฝึกอบรม
ตารางการฝึกอบรมตารางการฝึกอบรม
ตารางการฝึกอบรม
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพโครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
โครงการความหลากหลายทางชีวภาพ
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัย
 

2นำเสนอสื่อ1 13

  • 1. หลักสู ตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2556 รหัสวิชา : 2501-2009 ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร คําอธิบาย รายวิชา แผ่นที : 1 เอกสารที 1 จุดประสงค์ รายวิชา เพือให้ 1. เข้าใจหลักการและกระบวนการผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตรเบืองต้น 2. สามารถผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและขันตอนกระบวนการ โดยคํานึงถึง ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยา ่ 3. มีเจตคติทีดีตองานอาชีพเกษตร และมีกิจนิสัยในการทํางานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ซือสัตย์ มีความคิดสร้างสรรค์ ขยัน และอดทน สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู ้เบืองต้นเกียวกับหลักการและกระบวนการผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตร 2. วางแผน เตรี ยมการผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการ 3. ผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและกระบวนการ 4. ทดสอบคุณภาพของสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและกระบวนการ 5. ใช้ประโยชน์สารชีวภาพตามหลักการและกระบวนการ คําอธิบายรายวิชา (เดิม) ศึกษาและปฏิบติเกียวกับ ความสําคัญของสารชีวภาพ การจําแนกประเภทของสารชีวภาพ การทดสอบ ั คุณภาพของสารชีวภาพเพือการเกษตร การผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตร การเก็บรักษา การจัดจําหน่ายและ นําไปใช้ประโยชน์
  • 2. หลักสู ตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ 2556 รหัสวิชา : 2501-2009 ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร 1 - 2 - 2 คําอธิบาย รายวิชา แผ่นที : 2 เอกสารที 1 จุดประสงค์ รายวิชา 1. เข้าใจหลักการและกระบวนการผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตรเบืองต้น 2. สามารถผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและขันตอนกระบวนการ โดยคํานึงถึง ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศวิทยา ่ 3. มีเจตคติทีดีตองานอาชีพเกษตร และมีกิจนิสัยในการทํางานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ซือสัตย์ มีความคิดสร้างสรรค์ ขยัน และอดทน สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู ้เบืองต้นเกียวกับหลักการและกระบวนการผลิตและใช้สารชีวภาพเพือการเกษตร 2. วางแผน เตรี ยมการผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการ 3. ผลิตสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและกระบวนการ 4. ทดสอบคุณภาพของสารชีวภาพเพือการเกษตรตามหลักการและกระบวนการ 5. ใช้ประโยชน์สารชีวภาพตามหลักการและกระบวนการ คําอธิบายรายวิชา (ปรับปรุง) ปฏิบติเกียวกับงานจําแนกประเภทสารชีวภาพเพือการเกษตร งานผลิตจุลินทรี ยขยาย ั ์ งานผลิตสารชีวภาพทีใช้เป็ นปุ๋ ยหมักจุลินทรี ยแห้งจากมูลสัตว์ งานผลิตฮอร์โมนเร่ งการเจริ ญเติบโตของพืช ์ งานผลิตนําหมักชีวภาพ งานผลิตสารไล่แมลงศัตรู พืช งานตรวจสอบคุณภาพสารชีวภาพ งานใช้ประโยชน์ และเก็บรักษาสารชีวภาพ งานจัดจําหน่ายสารชีวภาพ และงานทําบัญชีรายรับรายจ่าย
  • 3. ใบรายการงาน (Job Listing Sheet) หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ รหัสวิชา : 2501-2009 ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รายการ 1 ปฏิบตเิ กียวกับงานจําแนกประเภทสารชีวภาพเพือการเกษตร ั 2 งานผลิตขยายจุลนทรีย์ ิ 2.1 งานผลิตจุลนทรีย์ อี เอ็ม ขยาย ิ 2.2 งานผลิตจุลนทรียทองถิน ิ ์ ้ 3 งานผลิตสารชีวภาพทีใช้เป็ นปุ๋ยหมักจุลนทรียแห้งจากมูลสัตว์ ิ ์ 3.1 งานผลิตปุ๋ยหมักโบกาฉิ 3.2 งานผลิตปุ๋ยหมักโดยใช้สารเร่ง พด. 1 4 งานผลิตฮอร์โมนเร่งการเจริญเติบโตของพืช ั 4.1 งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากฟกทองมะละกอและกล้วยนําว้า 4.2 งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากจากสับปะรด 5 งานผลิตนําหมัก 5.1 งานผลิตนําหมักจากเศษผัก 5.2 งานผลิตนําหมักจากเศษปลา 5.3 งานผลิตนําหมักชีวภาพจากนํานมดิบ 6 งานผลิตสารไล่แมลงศัตรูพช ื 6.1 สูตรไล่แมลง (สุโตจู) 6.2 งานผลิตสารไล่แมลงศัตรู พืช (สูตรนํา) 7 งานตรวจสอบคุณภาพสารชีวภาพ 8 งานใช้ประโยชน์และเก็บรักษาสารชีวภาพ 9 งานจัดจําหน่ายสารชีวภาพ 10 งานทําบัญชีรายรับรายจ่าย แหล่ งข้ อมูล A B C D : : : : ความสําคัญในอาชีพ ความถีในการทํางาน ความสัมพันธ์ของรายวิชาในหลักสูตร ทรัพยากรทีมีอยู่ เอกสารที 2 แผ่ นที : 1 แหล่งข้อมูล A B C D / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / หมายเหตุ
  • 4. หลักสู ตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ รหัสวิชา : 2501-2009 ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร ส.ป. 1 งาน Teaching Point 2 - การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน - ระเบียบการปฏิบติในการเรี ยน ั - งานจําแนกประเภทของสารชีวภาพเพือ - ขันตอนการผลิต การเกษตร - ขันตอนการจําแนก งานผลิตจุลินทรี ย ์ อี เอ็ม ขยาย 3 งานผลิตจุลินทรี ยทองถิน ์ ้ - ขันตอนการผลิต 4 งานผลิตปุ๋ ยหมักโบกาฉิ - ขันตอนการผลิต 5 งานผลิตปุ๋ ยหมักโดยใช้สารเร่ ง พด. 1 - ขันตอนการผลิต 6 งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากฟั กทอง มะละกอและกล้วยนําว้า - ขันตอนการผลิต 7 งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากสับปะรด - ขันตอนการผลิต 8 งานผลิตนําหมักจากเศษผัก - ขันตอนการผลิต โครงการสอน ต่อภาคเรี ยน แผ่นที : 1 กิจกรรม บรรยาย บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั สื อ เอกสารที 3 วัดผล Power point แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ ทฤษฎี ปฏิบติ ั ทฤษฎี ปฏิบติ ั แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ ทฤษฎี ปฏิบติ ั แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ ทฤษฎี ปฏิบติ ั แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ ทฤษฎี ปฏิบติ ั ทฤษฎี ปฏิบติ ั ทฤษฎี ปฏิบติ ั ทฤษฎี ปฏิบติ ั
  • 5. หลักสู ตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพ รหัสวิชา : 2501-2009 ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร ส.ป. งาน โครงการสอน ต่อภาคเรี ยน แผ่นที : 2 Teaching Point 9 งานผลิตนําหมักจากเศษปลา - ขันตอนการผลิต 10 งานผลิตนําหมักชีวภาพจากนํานมดิบ - ขันตอนการผลิต 11 งานผลิตสารไล่แมลง (สุโตจู) - ขันตอนการผลิต 12 งานผลิตสารไล่แมลงศัตรู พืช (สูตรนํา) - ขันตอนการผลิต 13 งานตรวจสอบคุณภาพสารชีวภาพ - ขันตอนงาน ตรวจสอบคุณภาพ กิจกรรม สื อ เอกสารที 3 วัดผล บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั บรรยาย อภิปราย สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ แผ่นพับ ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ เอกสาร ของจริ ง วัสดุ อุปกรณ์ วัสดุ อุปกรณ์ ทฤษฎี ปฏิบติ ั ทฤษฎี ปฏิบติ ั ทฤษฎี ปฏิบติ ั ทฤษฎี ปฏิบติ ั ทฤษฎี ปฏิบติ ั 14 งานใช้ประโยชน์สารชีวภาพ - ขันตอนการใช้ ประโยชน์สารชีวภาพ 15 งานเก็บรักษาสารชีวภาพ - ขันตอนการเก็บรักษา สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั สารชีวภาพ วัสดุ อุปกรณ์ ปฏิบติ ั 16 งานจัดจําหน่ายสารชีวภาพ สาธิต ่ ปฏิบติงานกลุม ั วัสดุ อุปกรณ์ ปฏิบติ ั 17 งานทําบัญชีรายรับรายจ่าย บรรยาย ตัวอย่าง สมุดบัญชี ทฤษฎี 18 สอบปลายภาค เรี ยนที 1 - - - ขันตอนการจําหน่าย - ขันตอนการทําบัญชี - - ปฏิบติ ั
  • 6. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชื่อวิชา : สารชีวภาพเพื่อการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 ํ งาน : งานผลิตฮอร์โมนผลไม้จากฟักทองมะละกอและกล้วยน้าว้า ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1 2 3 4 5 6 7 8 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ เตรียมผลไม้ เตรียมกากน้ําตาล เตรียมน้ําสะอาด เตรียมจุลินทรีย์ ผสมวัสดุ ตรวจสอบผลงาน ทําความสะอาดและเก็บ เครื่องมือ อุปกรณ์ หมายเหตุ A : ประสบการณ์ B : ผู้เชี่ยวชาญ C : ผู้ชํานาญ D : สังเกต E : คู่มือการทํางาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน เอกสารที่ 4 แผ่นที่ : 6 A / / / / / / / / แหล่งข้อมูล B C D E
  • 7. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : งานผลิตฮอร์ โมนผลไม้ จากฟั กทองมะละกอและกล้ วยนําว้ า หลังจากจบบทเรี ยนนีแล้ ว นักศึกษาสามารถทีจะ…. วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม (ทฤษฎี) 1.1 บอกชืออุปกรณ์และวัสดุในการผลิตฮอร์ โมนจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง ู 1.2 บอกวิธีเขียนใบเบิกเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุได้ ถกต้ อง ู 1.3 บอกสถานทีเบิกเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุได้ ถกต้ อง ู 1.4 บอกวิธีตรวจสอบเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุได้ ถกต้ อง ู 1.5 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุได้ ถกต้ อง ู 2.1 บอกวิธีเลือกผลไม้ ได้ ถกต้ อง ู 2.2 บอกวิธีเตรี ยมมะละกอ ฟั กทอง กล้ วยนําว้ าได้ ถกต้ อง ู 2.3 บอกวิธีหนผลไม้ ได้ ถกต้ อง ั ู 2.4 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมผลไม้ ได้ ถกต้ อง ู 3.1 บอกวิธีตวงกากนําตาลได้ ถกต้ อง ู 3.2 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมกากนําตาลได้ ถกต้ อง ู 4.1 บอกวิธีตวงนําสะอาดได้ ถกต้ อง ู 4.2 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมนําสะอาดได้ ถกต้ อง ู 5.1 บอกวิธีตวงจุลนทรี ย์ได้ ถกต้ อง ิ ู 5.2 บอกข้ อควรระวังในการเตรี ยมจุลนทรี ย์ได้ ถกต้ อง ิ ู 6.1 บอกวิธีผสมนํา กากนําตาล และจุลนทรี ย์ได้ ถกต้ อง ิ ู 6.2 บอกวิธีเทชินผลไม้ สบลงในภาชนะได้ ถกต้ อง ั ู 6.3 บอกวิธีเขียนปายบันทึกข้ อมูลได้ ถกต้ อง ้ ู 6.4 บอกข้ อควรระวังในการผสมวัสดุได้ ถกต้ อง ู 7.1 บอกวิธีตรวจสอบขันตอนการปฏิบติงานได้ ถกต้ อง ั ู 7.2 บอกวิธีตรวจสอบอัตราส่วนผสมได้ ถกต้ อง ู 7.3 บอกวิธีตรวจสอบภาชนะได้ ถกต้ อง ู 7.4 บอกข้ อควรระวังในการตรวจสอบผลงานได้ ถกต้ อง ู 8.1 บอกวิธีทาความสะอาดเครื องมือและอุปกรณ์ได้ ถกต้ อง ํ ู 8.2 บอกวิธีเก็บอุปกรณ์เข้ าทีได้ ถกต้ อง ู 8.3 บอกวิธีเก็บกวาดทําความสะอาดสถานทีได้ ถกต้ อง ู 8.4 บอกข้ อควรระวังในการทําความสะอาด เครื องมือ และอุปกรณ์ได้ ถกต้ อง ู IS : ระดับทางสติปัญญา R : พืนคืนความรู้ A : ประยุกต์ความรู้ T : ส่งถ่ายความรู้ ใบวัตถุประสงค์ ทฤษฎี เอกสารที 6 แผ่ นที : 6 ระดับ (IS) R A / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / / T
  • 8. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/1 1 การเตรี ยมอุปกรณ์และวัสดุในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ 1.1 อุปกรณ์และวัสดุในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ได้แก่ 1. ถังพลาสติกพร้อมฝาปิ ด ความจุ 30 ลิตร หน้ าที ใช้หมักส่วนผสม เช่น นํา กากนําตาล จุลินทรี ย ์ ตรวจสอบ ถังไม่แตก หรื อรัวซึม ข้ อควรระวัง ล้างให้สะอาดก่อนใช้ ถังพลาสติก 2. กระบอกตวงของเหลว 1,000 มิลลิลิตร หน้ าที ตวงจุลินทรี ยนา นําสะอาด และกากนําตาล ์ ํ ตรวจสอบ มีขีดบอกระดับชัดเจน ข้ อควรระวัง ใช้หน่วยการตวงให้ถูกต้องตามอัตราส่วน ถ้ วยตวง เอกสารที 7.6
  • 9. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/2 เอกสารที 7.6 ่ 3. มีด กลุมละ 1 เล่ม หน้ าที หันและสับผลไม้สุก ตรวจสอบ มีดต้องคม ด้ามไม่หลุด มีสภาพพร้อมใช้ ข้ อควรระวัง ไม่คุยหรื อเล่นกันขณะหันจะบาดมือ มีด ่ 4. เขียง กลุมละ 1 อัน หน้ าที รองหันผลไม้สุก ตรวจสอบ เขียงต้องสะอาด มีขนาดกว้างพอประมาณ ข้ อควรระวัง ใช้เสร็ จแล้วต้องล้าง และผึงให้แ ห้ง ก่ อนเก็บ เพื อ ป้ องกันเชือรา เขียงไม้
  • 10. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/3 เอกสารที 7.6 5. กาละมังพลาสติก หน้ าที ใส่ชินผลไม้ทีหันแล้ว ตรวจสอบ ไม่แตกหรื อรัว ข้ อควรระวัง อย่าใส่ ของที มีนาหนักมากลงในกาละมัง อาจทําให้ ํ แตกได้ กาละมังพลาสติก 6. ไม้พายคนส่วนผสม 1 ด้าม หน้ าที คนส่วนผสมในถังหมัก ตรวจสอบ ไม้พายต้องยาวถึงก้นถังเพือคนได้ทว ั ข้ อควรระวัง ก่อนใช้ตองล้างให้สะอาด ้ ไม้ พาย 7. ป้ ายบันทึกข้อมูล และปากกาเมจิก หน้ าที บันทึกชือสารชีวภาพ และวันเดือนปี ทีผลิต ตรวจสอบ ใช้วสดุ เช่น กระดาษแข็ง หรื อฟิ วเจอร์บอร์ด ั ข้ อควรระวัง เขียนชือสารชีวภาพให้ถูกต้องและแขวนทันทีเมือผลิต เสร็ จ ป้ าย ปากกาเมจิก
  • 11. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/4 เอกสารที 7.6 8. ผลไม้สุก ได้แก่ กล้วยนําว้าสุ ก มะละกอสุก และฟักทองแก่จด เมือผลไม้ถูกย่อยสลายโดยจุลินทรี ยหลายชนิด ั ์ เช่น เชือแบคทีเรี ย Bacillus sp. ซึ งสามารถผลิตสารเร่ งการ เจริ ญเติบโตของพืช เช่น ออกซิน จิบเบอเรลลิน และไซโตไคนิน ่ ั เป็ นต้น ซึงปริ มาณของสารทีผลิตได้นีจะมากน้อยเพียงใดขึนอยูกบ ชนิดของผลไม้ทีนํามาใช้ผลิต สารเหล่านีไปกระตุนการเจริ ญเติบโต ้ ของพืช ทําให้พืชให้ผลผลิตทีมีคุณภาพและมีปริ มาณมากขึน กล้ วยนําว้ าสุ ก มะละกอสุ ก และฟักทอง 9. จุลินทรี ย ์ หรื อ Micro-organisms หมายถึง สิ งมีชีวตเซลล์ ิ เดียวหรื อหลายเซลล์ ทีมีขนาดเล็กมากจนกระทัง ไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่า ได้แก่ แบคทีเรี ย ไวรัส ้ โปรโตซัว เห็ด รา จุลินทรี ยเ์ หล่านีมีความสําคัญมากใน ่ ระบบนิเวศ มีชีวิตอยูได้โดยการใช้อินทรี ยวัตถุ โดยการ ปล่อยเอ็นไซม์ออกมาภายนอกเซลล์ เมือย่อยสลาย อินทรี ยวัตถุ แล้วจะได้สารประกอบทีเป็ นธาตุอาหารในรู ปที พืชนําไปใช้ประโยชน์ได้ จุลนทรีย์นา ิ ํ 10. กากนําตาล หรื อ Molasses เป็ นวัสดุเหลือทิงจากกระบวนการ ผลิตนําตาลทราย ของอุตสาหกรรมโรงงานนําตาล ซึงเป็ นวัสดุทีหา ง่าย ราคาถูก นิยมนํามาใช้เป็ นวัตถุดิบผสมในกระบวนการหมัก สารชีวภาพสูตรต่างๆเพือใช้เป็ นอาหารของจุลินทรี ย ์ ช่วยให้การย่อย สลายของวัสดุหลักทีใช้ในการหมักดีขึน กากนําตาล
  • 12. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/5 เอกสารที 7.6 11. ข้อควรระวัง ในการเตรี ยมอุปกรณ์และวัสดุในการผลิตฮอร์ โมน พืชจากผลไม้ อุปกรณ์ ทุกอย่างครบ และมีสภาพพร้ อมใช้ เช่ น มี ด ควรลับให้คม ถังพลาสติกไม่แตกหรื อรัวซึม มีฝาปิ ด 1.2 วิธีเขียนใบเบิก และ สถานทีเก็บอุปกรณ์ มีดงนี ั 1. นักศึกษาขอใบเบิกทีห้องพักครู เพือเขียนรายการอุปกรณ์ จํานวน ลงชือผูเ้ บิก แล้วจึงส่งให้ครู ประจําวิชาลงชืออนุญาต 2. ครู เปิ ดห้องเก็บเครื องมือ ทีศูนย์เรี ยนรู ้เกษตรอินทรี ย ์ และจ่าย เครื องมือตามรายการขอเบิก 3. เมือใช้เครื องมือเสร็ จแล้วทําความสะอาดให้เรี ยบร้อยจึงนํามาคืน ครู ทายชัวโมง ้ 4. ครู ตรวจสภาพเครื องมือ นับจํานวนให้ครบ พร้อมลงชือกํากับใน ใบเบิก แล้วจึงเก็บเครื องมือ 5. หากเครื องมือสูญหายนักศึกษาต้องชดใช้ หรื อหักเงินประกันของ นักศึกษา หรื อแจ้งผูปกครอง ้ 6. ข้อควรระวังในการเขียนใบเบิก ควรตรวจสภาพและนับจํานวน อุปกรณ์ให้ครบตามรายการเบิกทุกครังและคืนให้ครบจํานวน
  • 13. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/6 เอกสารที 7.6 1.3 สถานทีเบิกเครื องมือ และอุปกรณ์ 1. นักศึกษาเบิกเครื องมือ และอุปกรณ์ได้ทีศูนย์เรี ยนรู ้เกษตรอินทรี ย ์ 2. ครู แจ้งเจ้าหน้าทีประจําศูนย์เรี ยนรู ้ เพือจ่ายเครื องมืออุปกรณ์แก่ นักศึกษา และอํานวยความสะดวกในคาบเรี ยน 3. ข้อควรระวัง ควรถนอมใช้เ ครื องมื อและอุ ปกรณ์ ใช้อย่า ง ระมัดระวัง หากชํารุ ดต้องแจ้งครู ใช้เสร็ จแล้วเก็บเข้าทีทุกครัง และ ไม่นาไปเป็ นสมบัติส่วนตัว ํ 1.4 วิธีตรวจสอบเครื องมือ มีดงนี ั 1. มีดหันและสับผลไม้ตองลับให้คมอยูเ่ สมอ ้ 2. เขียงรองหันมีขนาดเหมาะสม และมีจานวนเพียงพอ ํ 3. กระบอกตวงของเหลว 1,000 มิลลิลิตร มีระดับบอกปริ มาตร ชัดเจน 4. ถังหมักพลาสติกมีฝาปิ ด ถังไม่แตกหรื อรัว 5. ไม้คนส่วนผสมมีความยาวถึงก้นถัง ่ 6. ข้อควรระวัง เครื องมืออยูในสภาพพร้อมใช้งาน 1.5 บอกข้อควรระวังการเตรี ยมอุปกรณ์และวัสดุในการผลิต ฮอร์โมนพืชจากผลไม้ 1. เบิกอุปกรณ์และเครื องมือให้ครบ ่ 2. ตรวจสอบให้อยูในสภาพพร้อมใช้ ถ้าชํารุ ดต้องแจ้งครู
  • 14. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/7 เอกสารที 7.6 2 การเตรี ยมผลไม้ 2.1 การเตรี ยมผลไม้ มีดงนี ั 1. ล้างผลไม้ให้สะอาด ผึงไว้ในทีร่ มให้แห้ง 2. เลือกมะละกอและกล้วยนําว้าทีสุก ฟักทองแก่จด ั 3. ชังนําหนักอย่างละ 2 กิโลกรัม เท่ากัน 4. ข้อควรระวัง เลือกผลไม้ทีแก่จด และชังผลไม้ตามนําหนักที ั กําหนด เพือให้ตรงตามอัตราส่วน 2.2 การหันผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชได้ มีดงนี ั 1. หันผลไม้ไม่ตองปอกเปลือกตามขวาง หันชินใหญ่แล้วสับย่อย ้ รวมทังเปลือกและเมล็ดเข้าด้วยกัน 2. ข้อควรระวัง สับย่อยผลไม้ให้เป็ นชินเล็ก ๆ เพือย่นระยะเวลาใน การหมัก 2.3 ข้อควรระวังในการเตรี ยมผลไม้ มีดงนี ั 1. ข้อควรระวัง ควรเลือกผลไม้ทีไม่เป็ นโรคพืชมาผลิต เพราะจะ เป็ นการแพร่ เชือโรคไปสู่พืชปลูก
  • 15. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/8 เอกสารที 7.6 3 เตรี ยมกากนําตาล วิธีตวงกากนําตาลตามอัตราส่วน มีดงนี ั 1. ใช้ถวยตวง ตวงกากนําตาล 250 มิลลิลิตร ้ 2. เทกากนําตาลทีตวงลงในถังหมักทีเตรี ยมไว้ 3. ข้อควรระวัง ตวงกากนําตาลให้ถูกต้องตามอัตราส่วน ระมัดระวัง ไม้ให้หก และล้างภาชนะให้สะอาดหลังใช้งาน 4 เตรี ยมนําสะอาด มีดงนี ั วิธีตวงนําสะอาดตามอัตราส่วน มีดงนี ั 1. ตวงนําสะอาด โดยใช้ถวยตวง หรื อถังนําขนาด10 ลิตร ้ 2. ข้อควรระวัง ตวงนําตามอัตราส่วน และนําต้องสะอาดไม่มีสิง สกปรกเจือปน 5 เตรี ยมจุลินทรี ย ์ วิธีตวงจุลินทรี ยตามอัตราส่วน มีดงนี ์ ั 1. ตวงจุลินทรี ยนา โดยใช้ถวยตวงของเหลว ์ ํ ้ ตวงจุลินทรี ย ์ 250 ม.ล. 2. ข้อควรระวัง ตวงจุลินทรี ยไม่ให้หกเลอะ ์ จุลินทรี ยทีใช้ตองไม่หมดอายุ ์ ้
  • 16. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/9 เอกสารที 7.6 6 ผสมวัสดุ 6.1 วิธีคนส่วนผสมให้เข้ากัน มีดงนี ั 1. คนส่วนผสมไปทางเดียวกัน ไม่คนกลับไปมา 2. ข้อควรระวังในการคนส่วนผสม คนให้กากนําตาลละลายจนหมด ไม้พายต้องสะอาด 6.2 วิธีเทชินผลไม้สบลงในภาชนะ มีดงนี ั ั 1 เทอย่างระมัดระวังไม่ให้หกลงบนพืน ่ 2 คนชินผลไม้สบให้อยูใต้ส่วนผสม ั 6.3 วิธีเขียนป้ ายบันทึกข้อมูลวันทีผลิต มีดงนี ั 1 เขียนป้ ายบันทึก 2 ข้อควรระวังในการเขียนป้ ายบันทึกข้อมูล มีดงนี ั - เขียนป้ ายบันทึกวัน เดือน ปี ทีผลิตให้ชดเจน ั - ติดป้ ายกับถังหมักหลังผลิตทันที - ป้ ายบันทึกต้องเห็นชัดเจน ไม่ลบเลือน
  • 17. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/10 เอกสารที 7.6 7 ตรวจสอบผลงาน 7.1 วิธีตรวจสอบขันตอนการปฏิบติงาน มีดงนี ั ั 1 ตรวจส่วนผสมขณะชังและตวง ให้ตรงตามอัตราส่วน 2. ตรวจการหันมะละกอ ฟักทองและกล้วย โดยหันทังเปลือกและ เมล็ด แล้วใส่ลงในถังพลาสติก 3. ตรวจส่วนผสมจุลินทรี ยอีเอ็ม กากนําตาล และนําสะอาด ์ 4. ตรวจดูส่วนผสมในถังหมักว่าคลุกเคล้าเข้ากันดีหรื อไม่ 5. ตรวจสอบป้ ายบันทึก ว.ด.ป. ทีผลิต และระยะเวลาในการหมัก 6. ตรวจสอบการทําความสะอาดเครื องมือและสถานที 7.2 วิธีตรวจสอบอัตราส่วนผสม มีดงนี ั 1. 2. 3. 4. 5. 6. การทําฮอร์ โมนผลไม้ มะละกอสุก 2 กิโลกรัม ฟักทองแก่จด 2 กิโลกรัม ั กล้วยนําว้าสุก 2 กิโลกรัม จุลินทรี ย ์ EM. 1 แก้ว หรื อ 250 มิลลิลิตร กากนําตาล 1 แก้ว หรื อ 250 มิลลิลิตร นําสะอาด 1 ถัง หรื อ 10 ลิตร 1. นักศึกษาชังผลไม้ตามนําหนักทีกําหนด 2. นักศึกษาตวงกากนําตาล จุลินทรี ยนา และนําสะอาดตาม ์ ํ อัตราส่วนทีกําหนด 3. ข้อควรระวัง ในการตรวจสอบอัตราส่วนผสม หากผลิตใน ปริ มาณเพิมขึน ให้คานวณส่วนผสมโดยใช้อตราส่วนคงที ดังนี ํ ั จุลินทรี ย ์ : กากนําตาล : นําสะอาด 250 มิลลิลิตร : 250 มิลลิลิตร : 10 ลิตร 2,500 มิลลิลิตร : 2,500 มิลลิลิตร: 100 ลิตร 5,000 มิลลิลิตร : 5,000 มิลลิลิตร: 200 ลิตร
  • 18. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/11 7.3 วิธีตรวจสอบภาชนะมีดงนี ั 1. ฝาปิ ดถังหมักต้องปิ ดสนิท 2. ภาชนะบรรจุไม่มีรอยแตกหรื อรัวซึม 3. มีป้ายชือสารชีวภาพ ฮอร์โมนพืชจากผลไม้ผนึกไว้ 8 ทําความสะอาด และเก็บเครื องมือ อุปกรณ์ 8.1 วิธีทาความสะอาดเครื องมือ อุปกรณ์ มีดงนี ํ ั 1. ล้างด้วยนํายาทําความสะอาด 2. ตรวจนับเครื องมือ และอุปกรณ์ เอกสารที 7.6
  • 19. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ใบเนือหา แผ่นที : 1/12 เอกสารที 7.6 8.2 บอกวิธีเก็บเครื องมืออุปกรณ์เก็บเข้าที มีดงนี ั 1 ล้าง ผึงในทีร่ มให้แห้ง แล้วเก็บเข้าทีเดิม 2 จัดเก็บให้เป็ นระเบียบ และเป็ นประเภท เช่น เครื องชัง ถ้วยตวง เขียง มีด ภาชนะ เป็ นต้น 8.3 ข้อควรระวัง ในการเก็บอุปกรณ์และทําความสะอาด สถานที มีดงนี ั 1 นับจํานวนให้ครบตรงตามใบเบิกก่อนเก็บเข้าที 2 เช็ดล้างเก็บกวาดเศษวัสดุ ทําความสะอาดสถานที หลังปฏิบติงานทุกครัง ั
  • 20. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ รหัสวิชา 2501-2009 เรื อง งานผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ คําชีแจง วงกลมล้อมรอบข้อคําตอบทีถูกต้องทีสุด 1. ข้อใดเป็ นอุปกรณ์ในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ก. มะละกอ ค. จุลินทรี ยนา ์ ํ ข. เขียง ง. กากนําตาล 2. ข้อใดเป็ นวัสดุในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ก. ถังหมัก ค. มีด 3. ข้อควรระวังในการเขียนใบเบิกอุปกรณ์คือ ก. ตรวจสภาพและนับให้ครบ ค. ให้ครู เขียนรายการเบิก 4. ข้อใดคือวิธีตรวจสอบเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุ ก. ใช้ขนตวงของเหลว ั ค. มีดต้องคมอยูเ่ สมอ ข. ฟักทอง ง. ถ้วยตวง ข. เบิกและคืนกับครู เท่านัน ง. ต้องลงชือนักศึกษาทุกคน ข. ใช้เขียงไม้เท่านัน ง. ถังหมักไม่ตองมีฝาปิ ด ้ 5. ข้อควรระวังในการเตรี ยมเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุคือ ก. ดัดแปลงอุปกรณ์เพือใช้แทนกัน ข. เครื องมือ อุปกรณ์ชารุ ดแต่ใช้ได้ ํ ค. เครื องมือชํารุ ดแจ้งครู ภายหลัง ง. เบิกเครื องมือ อุปกรณ์ให้ครบ 6. จงบอกวิธีเลือกผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืช ก. ผลไม้ไม่เป็ นโรคพืช ค. ผลไม้แก่และสะอาด ข. ผลไม้มีนาหนักดี ํ ง. ผลไม้หาง่ายและมีเมล็ด 7. สถานทีเบิกเครื องมือ อุปกรณ์ ในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ควรมีลกษณะอย่างไร ั ก. เป็ นสถานทีมิดชิด ข. เป็ นทีนัดพบ ค. มีความสะดวกในการทํางาน ง. เป็ นทีรับฝากสิ งของ 8. ผลไม้ชนิดใดทีนิยมใช้ผลิตฮอร์โมนพืช ก. สับปะรด ส้มโอ น้อยหน่า ค. นําอ้อย แตงโม ละมุด ข. กล้วย มะละกอ ฟักทอง ง. มะม่วง ส้ม สับปะรด ใบทดสอบ แผ่นที : 1/1 เอกสารที 8
  • 21. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ รหัสวิชา 2501-2009 9. จงบอกวิธีเตรี ยมผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืช ก. ชังนําหนักตรงตามอัตราส่วน ค. เลือกผลไม้ทีเสี ยมาใช้ผลิต ข. ล้างผลไม้และตากไว้ให้แห้ง ง. เลือกผลใหญ่ทีสุด 10. การหันผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชควรหันอย่างไร ก. หันและสับให้ละเอียด ข. หันชินใหญ่เพือความรวดเร็ ว ค. หันและสับเป็ นชินเล็กๆ ง. หันทังเปลือกและเมล็ด 11. การเลือกผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชมีขอควรระวังคือ ้ ก. เลือกผลไม้ทีปราศจากโรค ข. เลือกใช้ผลไม้ทีเน่าเสี ย ค. เลือกผลไม้สีสวย ง. เลือกผลไม้ทีกินได้ 12. ใช้กากนําตาล 250 มล. ต่อนํา 10 ลิตร หากใช้นา 200 ลิตร ต้องใช้กากนําตาลเท่าใด ํ ก. 2,000 มล. ข. 2,500 มล. ค. 1,500 มล. ง. 5,000 มล. 13. ข้อควรระวังในการตวงกากนําตาลคือข้อใด ก. ล้างภาชนะทุกครัง ค. ไม่ทาหกเลอะเทอะ ํ ข. เทอย่างระมัดระวัง ง. อย่าให้แมลงวันตอม 14. นักศึกษาใช้ภาชนะใดตวงนําสะอาด จํานวน 100 ลิตร ก. ถังนํา ค. แก้ว ข. ขัน ง. ขวด 15. ข้อควรระวังในการเตรี ยมนําสะอาดคือ ก. ห้ามใช้นาประปา ํ ค. ควรใช้นาบาดาล ํ ข. ไม่มีสิงสกปรกเจือปน ง. ใช้นาดืมเท่านัน ํ 16. ถ้านักศึกษาใช้อตราส่วน จุลินทรี ย ์ 250 มล. ต่อนํา 10 ลิตร ข้อใดกล่าวถูกต้อง ั ก. ใช้จุลินทรี ย ์ 125 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร ข. ใช้จุลินทรี ย ์ 1.25 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร ค. ใช้จุลินทรี ย ์ 12.5 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร ง. ใช้จุลินทรี ย ์ 1,250 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร 17. ข้อควรระวังในการเตรี ยมจุลินทรี ยคือ ์ ก. ตรวจดูวนหมดอายุ ั ค. ใส่ชุดป้ องกันกลิน ข. หลีกเลียงการสัมผัส ง. หลีกเลียงการสูดดม ใบทดสอบ แผ่นที : 1/2 เอกสารที 8
  • 22. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ รหัสวิชา 2501-2009 18. หลังจากผสมนํากับกากนําตาลควรปฏิบติอย่างไร ั ก. เทชินผลไม้สบ ั ค. คนให้เข้ากัน ใบทดสอบ แผ่นที : 1/3 ข. ปล่อยให้ละลาย ง. เปิ ดฝาถังทิงไว้ 19. เมือเทชินผลไม้สบลงในถังหมักส่วนผสมแล้วควรปฏิบติอย่างไร ั ั ก. ปิ ดฝาทันทีและเขียนป้ ายชือ ข. ระวังหกลงบนพืน ่ ค. ระวังเกิดฟองอากาศ ง. คนชินผลไม้สบให้อยูใต้ส่วนผสม ั 20. นักศึกษาควรบันทึกข้อมูลใดลงบนป้ ายชือ ่ ก. ชือกลุมนักศึกษา ค. ชือครู ประจําวิชา ข. ชือสารชีวภาพและวันทีผลิต ง. ชือ ชัน ทีอยู่ 21. ข้อใดคือควรระวังในการผสมวัสดุ คือข้อใด ก. ใช้มือคลุกเคล้าส่วนผสม ค. ไม้พายต้องยาวเสมอถัง ข. คนให้กากนําตาลละลาย ง. วัสดุตองสะอาด ้ 22. วิธีตรวจสอบขันตอนปฏิบติงานผลิตฮอร์โมนพืช คือข้อใด ั ก. ตรวจการปอกผลไม้และแยกเมล็ด ข. ตรวจความสะอาด ค. ตรวจปริ มาณนําตาล จุลินทรี ยและนํา ์ ง. ตรวจการชังและตวงตามอัตราส่วน 23. ข้อควรระวัง ในการตรวจสอบอัตราส่วนผสม คือข้อใด ก. ห้ามใช้ผลไม้อืนจากทีกําหนด ค. ประมาณส่วนผสมได้ไม่ตองชัง ้ ข. ต้องถามครู ทุกขันตอน ง. เพิมปริ มาณโดยใช้อตราส่วนคงที ั 24. ข้อใดคือ วิธีตรวจสอบภาชนะผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ก. ตรวจป้ ายชือนักศึกษา ข. ตรวจฝาถังแล้วปิ ดให้สนิท ค. ปิ ดพลาสติกกันอากาศเข้า ง. อุดรอยแตกหรื อรัวซึม 25. วิธีทาความสะอาดเครื องมือ และอุปกรณ์ คือข้อใด ํ ก. ล้างแล้วเก็บเข้าที ข. นับแล้วตรวจล้าง ค. ล้างแล้ววางผึงแดด ง. ล้างด้วยนํายาทําความสะอาด 26. วิธีเก็บอุปกรณ์เข้าที คือข้อใด ก. จัดอุปกรณ์ก่อนเก็บ ค. ต่างคนต่างเก็บ ข. แบ่งเป็ นประเภท ง. ล้าง ผึงแล้วเก็บเข้าที 27. ข้อควรระวัง ในการเก็บอุปกรณ์และทําความสะอาดสถานที คือข้อใด ก. ตรวจนับให้ครบแล้วเก็บกวาด ข. ทําความสะอาดสถานทีแล้วเก็บอุปกรณ์ ค. ทําความสะอาดสัปดาห์ละครัง ง. อุปกรณ์หายไม่ตองชดใช้ ้ เอกสารที 8
  • 23. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ รหัสวิชา 2501-2009 เรือง งานผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ คําชีแจง ให้นกศึกษาตรวจสอบคําตอบเทียบกับแบบทดสอบ ั 1. ข้อใดเป็ นอุปกรณ์ในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ก. มะละกอ ค. จุลินทรี ยนา ์ ํ ข. เขียง ง. กากนําตาล 2. ข้อใดเป็ นวัสดุในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ก. ถังหมัก ค. มีด ข. ฟักทอง ง. ถ้วยตวง 3. ข้อควรระวังในการเขียนใบเบิกอุปกรณ์คือ ก. ตรวจสภาพและนับให้ครบ ค. ให้ครู เขียนรายการเบิก ข. เบิกและคืนกับครู เท่านัน ง. ต้องลงชือนักศึกษาทุกคน 4. ข้อใดคือวิธีตรวจสอบเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุ ก. ใช้ขนตวงของเหลว ั ค. มีดต้องคมอยูเ่ สมอ ข. ใช้เขียงไม้เท่านัน ง. ถังหมักไม่ตองมีฝาปิ ด ้ 5. ข้อควรระวังในการเตรี ยมเครื องมือ อุปกรณ์ และวัสดุคือ ก. ดัดแปลงอุปกรณ์เพือใช้แทนกัน ข. เครื องมือ อุปกรณ์ชารุ ดแต่ใช้ได้ ํ ค. เครื องมือชํารุ ดแจ้งครู ภายหลัง ง. เบิกเครื องมือ อุปกรณ์ให้ครบ 6. จงบอกวิธีเลือกผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืช ก. ผลไม้ไม่เป็ นโรคพืช ค. ผลไม้แก่และสะอาด ข. ผลไม้มีนาหนักดี ํ ง. ผลไม้หาง่ายและมีเมล็ด 7. สถานทีเบิกเครื องมือ อุปกรณ์ ในการผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ควรมีลกษณะอย่างไร ั ก. เป็ นสถานทีมิดชิด ข. เป็ นทีนัดพบ ค. มีความสะดวกในการทํางาน ง. เป็ นทีรับฝากสิ งของ 8. ผลไม้ชนิดใดทีนิยมใช้ผลิตฮอร์โมนพืช ก. สับปะรด ส้มโอ น้อยหน่า ค. นําอ้อย แตงโม ละมุด ข. กล้วย มะละกอ ฟักทอง ง. มะม่วง ส้ม สับปะรด ใบเฉลยแบบทดสอบ แผ่นที : 1/1 เอกสารที 9
  • 24. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ รหัสวิชา 2501-2009 9. จงบอกวิธีเตรี ยมผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืช ก. ชังนําหนักตรงตามอัตราส่วน ค. เลือกผลไม้ทีเสี ยมาใช้ผลิต ข. ล้างผลไม้และตากไว้ให้แห้ง ง. เลือกผลใหญ่ทีสุด 10. การหันผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชควรหันอย่างไร ก. หันและสับให้ละเอียด ข. หันชินใหญ่เพือความรวดเร็ ว ค. หันและสับเป็ นชินเล็กๆ ง. หันทังเปลือกและเมล็ด 11. การเลือกผลไม้เพือผลิตฮอร์โมนพืชมีขอควรระวังคือ ้ ก. เลือกผลไม้ทีปราศจากโรค ข. เลือกใช้ผลไม้ทีเน่าเสี ย ค. เลือกผลไม้สีสวย ง. เลือกผลไม้ทีกินได้ 12. ใช้กากนําตาล 250 มล. ต่อนํา 10 ลิตร หากใช้นา 200 ลิตร ต้องใช้กากนําตาลเท่าใด ํ ข. 2,00 มิลลิลิตร ก. 2,000 มิลลิลิตร ค. 1,500 มิลลิลิตร ง. 5,000 มิลลิลิตร 13. ข้อควรระวังในการตวงกากนําตาลคือข้อใด ก. ล้างภาชนะทุกครัง ค. ไม่ทาหกเลอะเทอะ ํ ข. เทอย่างระมัดระวัง ง. อย่าให้แมลงวันตอม 14. นักศึกษาใช้ภาชนะใดตวงนําสะอาด จํานวน 100 ลิตร ก. ถังนํา ค. แก้ว ข. ขัน ง. ขวด 15. ข้อควรระวังในการเตรี ยมนําสะอาดคือ ก. ห้ามใช้นาประปา ํ ค. ควรใช้นาบาดาล ํ ข. ไม่มีสิงสกปรกเจือปน ง. ใช้นาดืมเท่านัน ํ 16. ถ้านักศึกษาใช้อตราส่วน จุลินทรี ย ์ 250 มล. ต่อนํา 10 ลิตร ข้อใดกล่าวถูกต้อง ั ก. ใช้จุลินทรี ย ์ 125 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร ข. ใช้จุลินทรี ย ์ 1.25 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร ค. ใช้จุลินทรี ย ์ 12.5 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร ง. ใช้จุลินทรี ย ์ 1,250 ลิตร ต่อนํา 500 ลิตร 17. ข้อควรระวังในการเตรี ยมจุลินทรี ยคือ ์ ก. ตรวจดูวนหมดอายุ ั ค. ใส่ชุดป้ องกันกลิน ข. หลีกเลียงการสัมผัส ง. หลีกเลียงการสูดดม ใบเฉลยแบบทดสอบ แผ่นที : 1/2 เอกสารที 9
  • 25. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ รหัสวิชา 2501-2009 18. หลังจากผสมนํากับกากนําตาลควรปฏิบติอย่างไร ั ก. เทชินผลไม้สบ ั ค. คนให้เข้ากัน ใบเฉลยแบบทดสอบ แผ่นที : 1/3 ข. ปล่อยให้ละลาย ง. เปิ ดฝาถังทิงไว้ 19. เมือเทชินผลไม้สบลงในถังหมักส่วนผสมแล้วควรปฏิบติอย่างไร ั ั ก. ปิ ดฝาทันทีและเขียนป้ ายชือ ข. ระวังหกลงบนพืน ่ ง. คนให้อยูใต้ส่วนผสม ค. ระวังเกิดฟองอากาศ 20. นักศึกษาควรบันทึกข้อมูลใดลงบนป้ ายชือ ่ ก. ชือกลุมนักศึกษา ค. ชือครู ประจําวิชา ข. ชือสารชีวภาพและวันทีผลิต ง. ชือ ชัน ทีอยู่ 21. ข้อใดคือควรระวังในการผสมวัสดุ คือข้อใด ก. ใช้มือคลุกเคล้าส่วนผสม ค. ไม้พายต้องยาวเสมอถัง ข. คนให้กากนําตาลละลาย ง. วัสดุตองสะอาด ้ 22. วิธีตรวจสอบขันตอนปฏิบติงานผลิตฮอร์โมนพืช คือข้อใด ั ก. ตรวจการปอกผลไม้และแยกเมล็ด ข. ตรวจความสะอาด ค. ตรวจปริ มาณนําตาล จุลินทรี ยและนํา ์ ง. ตรวจการชังและตวงตามอัตราส่วน 23. ข้อควรระวัง ในการตรวจสอบอัตราส่วนผสม คือข้อใด ก. ห้ามใช้ผลไม้อืนจากทีกําหนด ค. ประมาณส่วนผสมได้ไม่ตองชัง ้ ข. ต้องถามครู ทุกขันตอน ง. เพิมปริ มาณโดยใช้อตราส่วนคงที ั 24. ข้อใดคือ วิธีตรวจสอบภาชนะผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ก. ตรวจป้ ายชือนักศึกษา ข. ตรวจฝาถังแล้วปิ ดให้สนิท ค. ปิ ดพลาสติกกันอากาศเข้า ง. อุดรอยแตกหรื อรัวซึม 25. วิธีทาความสะอาดเครื องมือ และอุปกรณ์ คือข้อใด ํ ก. ล้างแล้วเก็บเข้าที ข. นับแล้วตรวจล้าง ค. ล้างแล้ววางผึงแดด ง. ล้างด้วยนํายาทําความสะอาด 26. วิธีเก็บอุปกรณ์เข้าที คือข้อใด ก. จัดอุปกรณ์ก่อนเก็บ ค. ต่างคนต่างเก็บ ข. แบ่งเป็ นประเภท ง. ล้าง ผึงแล้วเก็บเข้าที 27. ข้อควรระวัง ในการเก็บอุปกรณ์และทําความสะอาดสถานที คือข้อใด ก. ตรวจนับให้ครบแล้วเก็บกวาด ข. ทําความสะอาดสถานทีแล้วเก็บอุปกรณ์ ค. ทําความสะอาดสัปดาห์ละครัง ง. อุปกรณ์หายไม่ตองชดใช้ ้ เอกสารที 9
  • 26. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร งาน : ผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ รหัสวิชา 2501-2009 ใบวัตถุประสงค์ ปฏิบติ ั เอกสารที 10 แผ่ นที : 1/1 หลังจากจบบทเรี ยนนีแล้ ว นักศึกษาสามารถทีจะ…. วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม (ปฏิบต) ั ิ 1 เตรี ยมเครื องมือและอุปกรณ์ในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง ู 2 เตรี ยมผลไม้ ในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง ู 3 เตรี ยมกากนําตาลในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง ู 4 เตรี ยมนําสะอาดในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง ู 5 เตรี ยมจุลนทรี ย์ในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง ิ ู 6 ผสมวัสดุในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง ู 7 ตรวจสอบความเรียบร้ อยในงานผลิตฮอร์ โมนพืชจากผลไม้ ได้ ถกต้ อง ู 8 ทําความสะอาด และเก็บเครื องมือ อุปกรณ์ได้ ถกต้ อง ู PS : ระดับทางทักษะฝี มือ I : เลืยนแบบ C : ทําถูกต้ อง A : ชํานาญ ระดับ (PS) I C A / / / / / / / /
  • 27. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชือวิชา : สารชีวภาพเพือการเกษตร งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ รหัส 2501-2009 ่ คําสัง…1 ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ กลุมละ 1 ถัง (20 ลิตร) คําสังย่ อย 1. ทําขันตอนที 1 - 2 แล้วหยุดตรวจก่อนจึงทําขันที 3 ต่อ 2. ทําขันตอนที 3 - 5 แล้วหยุดตรวจแล้วจึงทําขันที 6 ต่อ ลําดับขันตอนการปฏิบัตงาน ิ เครืองมือ/อุปกรณ์ 1 เตรี ยมเครื องมือและอุปกรณ์ 1. ถังพลาสติกพร้อมฝาปิ ด ความจุ 30 ลิตร 2 เตรี ยมผลไม้ 2. กระบอกตวงของเหลว 1,000 มิลลิลิตร ่ 3 เตรี ยมกากนําตาล 3. มีด กลุมละ 1 เล่ม ่ 4 เตรี ยมนําสะอาด 4. เขียง กลุมละ 1 อัน 5 เตรี ยมจุลินทรี ย ์ 5. ผ้าพลาสติกปูพืนหรื อถุงปุ๋ ย 6 ผสมวัสดุ 6. ไม้พายคนส่วนผสม 1 ด้าม 7 ตรวจสอบผลงาน 7. ป้ ายบันทึกข้อมูล ปากกาเมจิก และทีเย็บกระดาษ 8. ทําความสะอาด และเก็บเครื องมือ อุปกรณ์ เวลา 30 นาที วัสดุ 1. มะละกอสุก 2 กิโลกรัม 2. กล้วยนําว้าสุก 2 กิโลกรัม 3 ฟักทองแก่จด 2 กิโลกรัม ั 4. จุลินทรี ยนา 250 มิลลิลิตร ์ ํ 5. กากนําตาล 250 มิลลิลิตร 6. นําสะอาด 10 ลิตร ใบสังงาน แผ่นที : 1 เอกสารที 12
  • 28. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชื่อวิชา : สารชีวภาพเพื่อการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ชื่อ.......…………………………………นามสกุล………...……….…………………แผนก………..………………. วัน/เดือน/ปี…………………………………………………………………….……………………………………….. ผลการประเมิน จุดประเมิน ผ่าน ไม่ผ่าน 1. ลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ 1.2 เตรียมผลไม้ 1.3 เตรียมกากน้าตาล ํ 1.4 เตรียมน้ําสะอาด 1.5 เตรียมจุลินทรีย์น้ํา 1.6 ผสมวัสดุ 1.7 ตรวจสอบผลงาน 1.8 ทําความสะอาด และเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ 2. คุณภาพของผลงาน 2.1 ที่วัดได้ - นักศึกษาผลิตฮอร์โมนเร่งการเจริญของพืชจากผลไม้ได้ กลุม ่ ละ 10 ลิตร - ส่วนผสมถูกต้องตามอัตราส่วน - ปิดฝาเรียบร้อย - มีป้ายชื่อฮอร์โมนพืชจากผลไม้และวันเดือนปีทผลิต ี่ ใบประเมินผลปฏิบัติฯ แผ่นที่ : 1 หมายเหตุ เอกสารที่ 13
  • 29. สาขาวิชา : เกษตรศาสตร์ ชื่อวิชา : สารชีวภาพเพื่อการเกษตร รหัสวิชา 2501-2009 งาน : ผลิตฮอร์โมนพืชจากผลไม้ ชื่อนักศึกษา…………………………………...…………………………………………แผนก………………………. วัน/เดือน/ปี …………………………………………………………………………………………………………….. ผลการประเมิน จุดประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ใบประเมินผลปฏิบัติฯ เอกสารที่ 13 แผ่นที่ : 2 แก้ไข หมายเหตุ 2. คุณภาพผลงาน 2.2 วัดไม่ได้ - ความสวยงาม - ความเรียบร้อย - ความประณีต 3. เจตคติ (กิจนิสยฯ) ในการทํางาน ั - ความรับผิดชอบ - ความสะอาด - ความปลอดภัย เริ่มปฏิบัติงานเวลา……….น. เสร็จเวลา………..น. สรุปผลการประเมิน รวมเวลาปฏิบติงาน……….ชั่วโมง………..นาที ั ผ่าน ไม่ผ่าน เนื่องจาก……………………………………………………………….. ข้อเสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………....................... ............................................................................................................................. ผู้ประเมิน…………………………………..