SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 28
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
6
สวนประกอบของชุดการสอน
ในชุดการสอนนี้จะมีวัสดุ-อุปกรณ ที่ประกอบไปดวยรายการดังตอไปนี้
1. คูมือครู
2. สมุดบันทึกการทํากิจกรรมศูนยการเรียน
3. ซองเอกสารประจําศูนยการเรียน
3.1 ศูนยการเรียนที่ 1 ความหมายของระบบสุริยะจักรวาล
3.2 ศูนยการเรียนที่ 2 ดวงอาทิตย
3.3 ศูนยการเรียนที่ 3 ดาวพุธ
3.4 ศูนยการเรียนที่ 4 ดาวศุกร
3.5 ศูนยการเรียนที่ 5 โลก
3.6 ศูนยการเรียนที่ 6 ดาวอังคาร
3.7 ศูนยการเรียนที่ 7 ดาวพฤหัสบดี
3.8 ศูนยการเรียนที่ 8 ดาวเสาร
3.9 ศูนยการเรียนที่ 9 ดาวยูเรนัส
3.10 ศูนยการเรียนที่ 10 ดาวเนปจูน
4. ในแตละซองเอกสารจะประกอบไปดวย บัตรคําสั่ง บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม และบัตรเฉลย
5. แผนการสอน
6. ใบบันทึกและประเมินผลการใชชุดการสอน
7. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
*** ครูควรตรวจสิ่งของเหลานี้ใหเรียบรอยกอนใชประกอบการสอน ***
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
7
คําชี้แจงสําหรับครูผูสอน
จุดมุงหมายของชุดการสอน
1. เพื่อใชสอนเนื้อหา บทเรียน ตามหลักสูตรของการศึกษาในระบบโรงเรียน
2. เพื่อเปนเครื่องมือชวยอํานวยความสะดวกในการสอนของครู
3. เพื่อใหการเรียนในหองเรียนเกิดประสิทธิภาพมาขึ้น เพราะนักเรียนสามารถ
เรียนไดอยางทั่วถึงทุกคน
4. เพื่อสรางความนาสนใจในบทเรียนใหมีมากขึ้น เปนการกระตุนใหผูเรียนเกิด
การเรียนรูในหองเรียน
5. ชุดการสอนนี้ทําใหนักเรียนมีทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห ในเรื่องที่กําลัง
ศึกษาอยูอยางเปนขั้นตอน
บทบาทของครูผูสอน
1. วางแผนการสอน เขียนแผนการสอน และเตรียมอุปกรณอื่น ๆ
2. สังเกต ใหความชวยเหลือ และแกไขที่ไมถูกตองขณะทํางานรวมกัน
3. บันทึกพัฒนาการของผูเรียนแตละคน โดยอาจบันทึกความเขาใจในเนื้อหาสาระ
ความสามารถตามคําสั่งที่กําหนดไว การทํางานใหเสร็จดวยตนเอง และดวย
การทํางานกลุมรวมกับคนอื่น ความเปนผูนําและผูตามที่ดี
4. อธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม โดยการเดินไปดูการทํากิจกรรมกลุมของผูเรียนตามศูนย
การเรียนตาง ๆ ตลอดจนเปนผูนําและผูสรุปเนื้อหาในบทเรียนนั้น ๆ ดวย
5. เตรียมอุปกรณ และสื่อการสอน ชุดการสอนเพิ่มเติม เพื่อใหสอดคลองกับ
สถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป และเพื่อใหบทเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
8
ขอคํานึงของครูผูสอน
ในการสอนโดยใชชุดการสอนในแตละศูนยการเรียนนั้น ครูตองเปลี่ยนทัศนคติให
เหมาะสม เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียนมีโอกาสเรียนรูดวยตนเองมากยิ่งขึ้น ทัศนคติที่ครูควร
คํานึงถึง มีดังตอไปนี้
1. สงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูดวยตนเองมากที่สุด พยายามลดบทบาทการ
เปนผูบอกของครูมาเปนผูถาม และคอยชวยเหลือดูแล
2. เปนผูมีใจกวางและใหคําชมนักเรียนที่ทําดี หรือทํากิจกรรมสําเร็จแมเพียง
เล็กนอย
3. สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูดวยการเคลื่อนไหวในขณะประกอบกิจกรรม
4. สนับสนุนใหนักเรียนรูจักการทํางานเปนทีม
5. คอยชวยเหลือใหนักเรียนเรียนรูตามความสามารถของตนเอง
บทบาทของนักเรียน
ครูตองกระตุนใหนักเรียนมีพฤติกรรมอันพึงประสงค ตอการเรียนดวยชุดการสอน
ดังตอไปนี้
1. ทําความเขาใจวิธีการเรียนดวยการใชชุดการสอน ที่แบงเปนศูนยการเรียน
2. พัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง โดยปฏิบัติตามคําสั่งที่ไดระบุไวในศูนยการเรียน
ใหครบถวนในแตละศูนยการเรียน
3. ตองสงเสริมใหผูเรียนรูจักและเรียนรูเกี่ยวกับการทํางานเปนทีม เปนผูนําและผู
ตามที่ดี
4. พัฒนาทักษะการประเมินของตนเอง และบันทึกความกาวหนาดวยตนเอง
5. ผูเรียนควรมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติกิจกรรมในแตละศูนยการเรียน
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
9
การจัดหองเรียน
ในการเรียนดวยการใชชุดการสอนนี้ จําเปนจะตองจัดสภาพหองเรียนใหเหมาะสม
เพื่อสรางบรรยากาศการเรียนรูใหเกิดขึ้นกับผูเรียน
การจัดหองเรียนอาจจัดเปน กลุมละ 4 คน จํานวน 10 กลุม (10 ศูนยการเรียนรู)
ผูเรียนจะสลับกันเรียนในแตละศูนยเวียนกันไปจนครบทุกศูนย โดยมีรูปแบบดังนี้ (อาจ
เปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม)
<< ตัวอยางการจัดสภาพหองเรียนใหเปนศูนยการเรียน
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
10
คํานิยาม
บัตรคําสั่ง คือ บัตรที่บอกใหผูเรียนในแตละศูนยการเรียนปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ
อยางเปนขั้นตอน ผูสอนและผูเรียนควรจะปฏิบัติตามอยางเครงครัดเพื่อใหการเรียนการสอน
ดวยชุดการสอนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
บัตรเนื้อหา คือ บัตรที่บรรจุเนื้อหา หรือรูปภาพประกอบ โดยปกติแลวจะจัดเรียง
เนื้อหาตามลําดับกอนหลัง
บัตรกิจกรรม คือ บัตรที่จะจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับ
เนื้อหาที่ผูเรียนไดศึกษาไปแลวในแตละศูนยการเรียน เชน บอกใหตอบคําถาม หรือเลนเกม
เปนตน
ศูนยการเรียน คือ หนวยการเรียนแตละหนวย เปนการใหนักเรียนศึกษาในหัวขอ
ยอย ๆ กอนตามลําดับความสนใจ จะมีการสลับหรือเวียนกลุมศูนยการเรียนไปตาม
ระยะเวลาที่กําหนดให เมื่อผูเรียนศึกษาในศูนยการเรียนหนึ่ง ๆ จบแลวก็สามารถไปศึกษาตอ
ในศูนยการเรียนอื่น ๆ ได ในที่นี้ศูนยการเรียนไดแบงเปน 10 ศูนย ผูเรียนในแตละศูนยจะ
กําหนดใหไมเกิน 4 คน ใชเวลาในแตละศูนยประมาณ 15 นาที
เรื่อง คือ สาระการเรียนรูที่จะใหผูเรียนไดศึกษาซึ่งไดแบงเปนหัวขอยอย ๆ ไวแลว
จํานวน 10 เรื่อง ในแตละเรื่องจะอยูในแตละศูนยการเรียน 1 เรื่องตอ 1 ศูนยการเรียน
หมายเลขบัตร คือ สิ่งที่จะบอกวาบัตรคําสั่ง บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม ที่มีอยูในแต
ละศูนยการเรียนทั้งหมดนั้น อยูในศูนยการเรียนรูใด เพื่อใหงายตอการจัดเก็บและปองกันการ
สลับหรือเปลี่ยนชุดบัตรตาง ๆ บัตรแตละบัตรจะสังเกตไดงายเพราะวาจะผูจัดทําใหใชสีที่
แตกตางกัน จึงงายตอการจัดเก็บไวเปนหมวดหมู
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
11
แนวทางการใชชุดการสอน
เพื่อใหการใชงานเปนไปตามวัตถุประสงคของการจัดทําชุดการสอน “ระบบสุริยะ
จักรวาล” จึงไดกําหนดแนวทางการใชงานดังนี้
1. ผูสอนควรตรวจสอบชุดการสอนใหคบถวนและอยูในสภาพที่พรอมจะใชงาน
2. การเตรียมหองเรียนนั้น อาจจัดตามแผนผังการจัดวางที่ไดกําหนดไวหรืออาจ
พิจารณาตามสภาพแวดลอมของแตละหองเรียน
3. การจัดกลุมผูเรียนใหเขาอยูในแตละศูนยผูสอนอาจเตรียมสลากไวลวงหนากอนเขา
สอน พอเขาสอนแลวใหผูเรียนจับสลากที่ไดเตรียมมา
4. วัสดุ-อุปการณในแตละศูนยผูจัดทําไดจัดทําเพียง 4 ชุด/ศูนยเทานั้น หากมีนักเรียน
มากขึ้นผูสอนอาจทําเพิ่มได โดยใชของเดิมเปนตัวอยาง
5. ในชั่วโมงสอน เมื่อจัดสภาพหอง และนักเรียนแลวครูจะเปนผูกําหนดวาศูนยการ
เรียนแตละศูนยจะใหเรียนเรื่องใด โดยวางซองเอกสารนั้นไวที่ศูนยการเรียนแลว
นักเรียนที่สนใจเรื่องนั้นก็จะมานั่งรวมกันเพื่อศึกษาตามเรื่องที่สนใจ
6. การจัดศูนยการเรียนนั้น ครูควรแนะนําผูเรียนวาไมควรเขาไปศึกษาเกิน 4 คน
เนื่องจากไดเตรียมเอกสารไวจํากัดจํานวน แตผูเรียนสามารถเรียนไดโดยวิธีการ
เวียนศูนยการเรียน
7. การเวียนศูนยการเรียนนั้น เพื่อความสนุกสนานครูอาจจะมีแผนที่ใหนักเรียนเดิน
ตามแผนที่ก็ได โดยกําหนดระยะเวลาใหไมควรเกิน 15 นาทีตอ 1 ศูนยการเรียน
8. หากระยะเวลาไมเพียงพอตอการเรียนดวยชุดการสอนครูอาจสรุปสําหรับชั่วโมงนี้
และกลาววาจะไดเรียนในชั่วโมงถัดไป
9. ครูควรกํากับดูแลใหผูเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามบัตรคําสั่งของแตละศูนยการเรียนโดย
เครงครัด และครูควรเปนผูใหการชวยเหลือ หรือคําแนะนําแกผูเรียนเปนระยะ ๆ เพื่อ
สรางบรรยากาศที่กระตุนการเรียนรู
10. ครูควรแนะนําใหนักเรียนเก็บสิ่งของเขาที่ใหเรียบรอยดวยหลังใชงานเสร็จแลว
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
12
แผนการจัดการเรียนรู
หนวยที่ 7 เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล วิชาโลก ดาราศาสตร และอวกาศ
ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
สาระสําคัญ
ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษเปนศูนยกลาง และมีดาวเคราะห (Planet)
เปนบริวารโคจรอยูโดยรอบ เมื่อสภาพแวดลอมเอื้ออํานวยตอการดํารงชีวิตสิ่งมีชีวิตก็จะ
เกิดขึ้นบนดาวเคราะหเหลานั้น
จุดประสงคการเรียนรู
- จุดประสงคทั่วไป
1. เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับองคประกอบและปรากฏการณของ
ระบบสุริยะ ที่มีความสัมพันธกันทําใหเกิดปรากฎการณตาง ๆ
- จุดประสงคเชิงพฤติกรรม
1. หลังจากที่นักเรียนไดศึกษาเรื่องนี้แลวสามารถอธิบายสวนประกอบของระบบ
สุริยะไดอยางถูกตอง
2. หลังจากที่นักเรียนไดเรียนเรื่องนี้แลวสามารถอธิบายความสําคัญของระบบสุริยะ
ไดอยางถูกตอง
3. หลังจากที่นักเรียนไดเรียนเรื่องนี้แลวสามารถบงชี้ไดถึงลักษณะเดนของดาว
เคราะหแตละดวงไดอยางถูกตอง
สาระการเรียนรู
1. ความหมายและสวนประกอบของระบบสุริยะ
2. เรื่องของดาวเคราะหในระบบสุริยะจักรวาล
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
13
กระบวนการจัดการเรียนรู
- ขั้นนํา
1. ครูแนะนําใหนักเรียนใหทราบเบื้องตนวา โลกของเราอยูในระบบสุริยะจักรวาลใด
2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนชวยกันบอกวาในระบบสุริยะจักรวาลนั้นจะประกอบไป
ดวยสิ่งใดบาง
- ขั้นสอน
1. ครูใหจัดกลุมใหนักเรียนออกเปน 10 กลุม กลุมละ 4 คน
2. ครูใหนักเรียนเลือกเรียนในศูนยการเรียนตามที่นักเรียนสนใจ แตตองไมซ้ํากัน
(กําหนด 1 ศูนยการเรียนตอ 1 กลุม)
3. ครูจะเปนผูกําหนดใหนักเรียนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ตามแตละศูนย
การเรียน โดยใชเวลา ไมเกิน 15 นาที (หรือตามแตจะเห็นสมควร)
4. ในศูนยการเรียน ใหนักเรียนศึกษาจากบัตรคําสั่งเพื่อนําไปสูการปฏิบัติในขั้น
ตอไป
5. ในขั้นตอนสุดทายของแตละศูนยการเรียน เมื่อนักเรียนทําบัตรกิจกรรมเสร็จแลว
ครูแจกบัตรเฉลยคําตอบใหนักเรียนไดไปตรวจคําตอบ
6. เมื่อนักเรียนตรวจคําตอบเสร็จแลว ครูจะใหผานการทํากิจกรรมในศูนยการเรียน
นั้น และอนุญาตใหนักเรียนไปศูนยการเรียนตอไปได
7. เมื่อนักเรียนศึกษาครบทุกศูนยการเรียนรูแลว ครูตองแนะนําใหนักเรียนเก็บ
สิ่งของตาง ๆ เขาที่ใหเรียบรอย
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
14
- ขั้นสรุป
1. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามขอสงสัย หากไมมีนักเรียนคนใดซักถาม ครูควร
สุมนักเรียนใหตอบคําถามงาย ๆ เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนไปแลว และเมื่อนักเรียนตอบ
คําถามไดถูกตองควรใหกําลังใจ ดวยการบอกนักเรียนคนอื่นปรบมือ และครูกลาว
คําชมเชย
2. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกถึงสิ่งที่ไดจาการศึกษาในแตละศูนยการเรียน
3. ใหครูสรุปเนื้อหาที่เรียน และกิจกรรมที่ไดฝกปฏิบัติไปแลวอีกครั้งหนึ่ง
4. นักเรียนและครูสรุปความรูที่ไดโดยครูตั้งคําถาม ดังนี้
* ความหมายและสวนประกอบของระบบสุริยะ มีวาอยางไร
* นักเรียนไดอะไรจากการศึกษาดาวเคราะหและดวงอาทิตย
สื่อการเรียนรู
1. ชุดการสอน จํานวน 1 ชุด (ประกอบดวย 10 ศูนยการเรียน)
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
15
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู
การวัดผล การประเมินผล
1. ดูจากการอภิปรายรวมกันของ
นักเรียนในแตละกลุม
1. นักเรียนสวนใหญรวมอภิปรายและแสดง
ความคิดเห็น แสดงพฤติกรรมที่บงบอกถึง
การมีมีสวนรวมของตนเองอยางเต็มที่
2. สังเกตพฤติกรรมการทํางานเปนทีม 2. สมาชิกกลุมมีความรวมมือรวมใจในการทํา
กิจกรรมรวมกัน
3. การทําบัตรกิจกรรมตาง ๆ 3. นักเรียนทําใบงานตาง ๆ ไดถูกตองตาม
เกณฑ
4. การตอบคําถามที่ครูไดถาม 4. นักเรียนไดตอบคําถามที่ครูไดถามอยาง
ถูกตอง แสดงถึงความเขาใจในเนื้อหาที่ได
เรียนไปแลว
5. การตรวจผลงานในสมุดบันทึก
กิจกรรม
5. ครูตรวจผลงานที่นักเรียนรวมกันทําและให
คะแนน
6. แบบประเมิน 6. ใหนักเรียนทําแบบประเมิน
กิจกรรมเสนอแนะ
กอนสอนครูควรเตรียมอุปกรณ เชน การจัดหองเรียนเพื่อเตรียมเปนศูนยการเรียน
วัสดุอุปกรณอื่น ๆ ที่จําเปนใหพรอม ครูควรชี้แจงเกี่ยวกับการทํางานรวมกันเปนกลุมหรือเปน
ทีม มีความรวมมือรวมใจในการแสดงความคิดเห็น การแสดงบทบาทหนาที่ที่กลุมกําหนด
การชวยเหลือในดานความรูและการอธิบายหรืออภิปราย การยอมรับความคิดเห็นของกลุม
มีความรับผิดชอบ การยอมรับความคิดเห็นของกลุม และทายที่สุดเรื่องการและรักษาเวลาใน
การทําใบงานแตละชิ้น
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
16
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู
ผลการสอน ปญหาและอุปสรรค แนวทางแกไข
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
17
-เนื้อหา-
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะ
คือ ระบบดาวที่มีดาวฤกษเปน
ศูนยกลาง และมีดาวเคราะห (Planet) เปน
บริวารโคจรอยูโดยรอบ เมื่อสภาพแวดลอม
เอื้ออํานวย ตอการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะ
เกิดขึ้นบนดาวเคราะหเหลานั้น หรือ บริวารของ
ดาวเคราะหเองที่เรียกวาดวงจันทร (Satellite)
นักดาราศาสตรเชื่อวา ในบรรดาดาวฤกษ
ทั้งหมดกวาแสนลานดวงในกาแลกซี่ทางชางเผือก ตองมีระบบสุริยะที่เอื้ออํานวยชีวิตอยาง
ระบบสุริยะที่โลกของเราเปนบริวารอยูอยางแนนอน เพียงแตวาระยะทางไกลมากเกินกวา
ความสามารถในการติดตอจะทําไดถึง
ที่โลกของเราอยูเปนระบบที่ประกอบดวย ดวงอาทิตย (The sun) เปนศูนยกลาง มีดาว
เคราะห (Planets) 9 ดวง ที่เราเรียกกันวา ดาวนพเคราะห ( นพ แปลวา เกา) เรียงตามลําดับ
จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน
และยังมีดวงจันทรบริวารของ ดวงเคราะหแตละดวง (Moon of sattelites) ยกเวนเพียง สอง
ดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร ที่ไมมีบริวาร ดาวเคราะหนอย (Minor planets) ดาวหาง
(Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุมฝุนและกาซ ซึ่งเคลื่อนที่อยูในวงโคจร
ภายใตอิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย ขนาดของระบบสุริยะ กวางใหญไพศาลมาก เมื่อ
เทียบระยะทาง ระหวางโลกกับดวงอาทิตย ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ลานกิโลเมตร
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
18
หรือ 1au. (astronomy unit) หนวยดาราศาสตร ระบบสุริยะของเรามีขนาดใหญโตมากเมื่อ
เทียบกับโลกที่เราอาศัยอยู แตมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับกาแล็กซีของเราหรือ กาแล็กซีทาง
ชางเผือก ระบบสุริยะตั้งอยูในบริเวณ วงแขนของกาแล็กซีทางชางเผือก (Milky Way) ซึ่ง
เปรียบเสมือนวง ลอยักษที่หมุนอยูในอวกาศ โดยระบบสุริยะ จะอยูหางจาก
จุดศูนยกลางของกาแล็กซีทางชางเผือกประมาณ 30,000 ปแสง ดวงอาทิตย จะใช
เวลาประมาณ 225 ลานป ในการเคลื่อน ครบรอบจุดศูนยกลาง ของกาแล็กซี ทางชางเผือก
ครบ 1 รอบ นักดาราศาสตรจึงมี ความเห็นรวมกันวา เทหวัตถุทั้ง มวลในระบบสุริยะไมวาจะ
เปนดาวเคราะหทุกดวง ดวงจันทรของ ดาวเคราะห ดาวเคราะหนอย ดาวหาง และอุกกาบาต
เกิดขึ้นมาพรอมๆกัน มีอายุเทากันตามทฤษฎีจุดกําเนิดของระบบ สุริยะ และจาการนํา เอา
หิน จากดวงจันทรมา วิเคราะหการสลายตัว ของสารกัมมันตภาพรังสี ทําใหทราบวาดวง
จันทรมี อายุประมาณ 4,600 ลานป ในขณะเดียวกัน นักธรณีวิทยาก็ไดคํานวณ หาอายุของ
หินบนผิวโลก จากการสลายตัว ของอตอม อะตอมยูเรเนียม และสารไอโซโทป ของธาตุตะกั่ว
ทําใหนักวิทยาศาสตรเชื่อวา โลก ดวงจันทร อุกกาบาต มีอายุประมาณ 4,600 ลานป และ
อายุของ ระบบสุริยะ นับตั้งแตเริ่มเกิดจากฝุนละอองกาซ ในอวกาศ จึงมีอายุไมเกิน 5000
ลานป ในบรรดาสมาชิกของระบบสุริยะซึ่งประกอบดวย ดวงอาทิตย ดาวเคราะห ดาวเคราะห
นอย ดวงจันทร ของดาวเคราะหดาวหาง อุกกาบาต สะเก็ดดาว รวมทั้งฝุนละองกาซ อีก
มากมาย นั้นดวงอาทิตยและดาวเคราะห 9 ดวง จะไดรับความสนใจมากที่สุดจากนักดารา
ศาสตร
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
19
ดวงอาทิตย (The Sun)
ดวงอาทิตยเปนดาวฤกษศูนยกลางของ
ระบบสุริยะ เนื้อสารสวนใหญของระบบสุริยะอยูที่
ดวงอาทิตย คือ มีมากถึง 99.87% ดวงอาทิตย
สรางพลังงานขึ้นมาเองโดยการเปลี่ยนเนื้อสาร
เปนพลังงานตามสมการของไอนสไตน E = mc2
(E คือพลังงาน, m คือ เนื้อสาร, และ c คือ
อัตราเร็วของแสงสวางในอวกาศซึ่งมีคาประมาณ
300,000 กิโลเมตรตอวินาที) บริเวณที่เนื้อสาร
กลายเปนพลังงาน คือ แกนกลางซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 15 ลานองศาเซลเซียส ณ แกนกลางของ
ดวงอาทิตยมีระเบิดไฮโดรเจนจํานวนมาก กําลังระเบิดเปนปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรที่ผิวของ
ดวงอาทิตยมีอุณหภูมิประมาณ 5,700 องศาเซลเซียส หรือประมาณ 6,000 เคลวิน ดวง
อาทิตยจึงถูกจัดเปนดาวฤกษสีเหลือง มีอายุประมาณ 5,000 ลานป เปนดาวฤกษหลัก อยู
ในชวงกลางของชีวิต ในอีก 5,000 ลานป ดวงอาทิตยจะจบ ชีวิตลงดวยการขยายตัวแตจะไม
ระเบิด เพราะแรงโนมถวงมีมากกวาแรงดัน ในที่สุด ดวงอาทิตยจะยุบตัวลงอยางสงบ
กลายเปนดาวขนาดเล็ก เรียกวา ดาวแคระขาว การถายทอดพลังงานจากแกนกลางสูผิวตอง
ผานชั้นที่อยูเหนือแกนกลางที่ เรียกวา แถบการแผรังสี ซึ่งเปนแถบที่กวางไกลมากเหนือแถบ
การแผรังสีคือ แถบการพา โดยการหมุนเวียนของกาซรอน จุดบนดวงอาทิตย ผิวของดวง
อาทิตยที่เราสังเกตไดเรียกวา โฟโทสเฟยร ความรอนและแสงสวาง ตลอดทั้งพลังงานในชวง
คลื่นอื่น ๆ แผกระจายจากดวงอาทิตยสูอวกาศ โดยการแผรังสีบนผิวระดับโฟโทสเฟยรมี
บริเวณที่อุณหภูมิต่ํากวาขางเคียง จนสังเกตเห็นเปน จุดดํา เรียกวา จุดบนดวงอาทิตย จุด
เหลานี้ไมใชลักษณะที่มีอยูอยางถาวร เกิดแลว มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางและขนาดเปนกลุม
จุด (spot groups)
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
20
จุดบนดวงอาทิตยมีประโยชนในการวัดอัตราการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย ซึ่ง
พบวามีคาบ 27.3 วัน (อัตราการหมุนรอบตัวเอง ณ บริเวณเสนศูนยสูตรของดวงอาทิตยยาว
24.6 วันตอรอบนักดาราศาสตรชาวอังกฤษไดตรวจสอบขอมูลเกา ๆ เกี่ยวกับจุดบนดวง
อาทิตย และพบวาระหวางป พ.ศ. 2188-2258 เปนชวงที่ดวงอาทิตยไมคอยมีจุดเลย จึงไมมี
ปซึ่งมีจุดมากและปซึ่งมีจุดนอย การศึกษาตอมาทําใหเชื่อวา ชวงเวลาดังกลาว ดวงอาทิตยมี
บรรยากาศที่เรียกวา คอโรนา นอยหรือไมมีเลย
ดาวพุธ (Mercury)
ดาวพุธเปนดาวเคราะหดวงที่อยูใกล
ดวงอาทิตยที่สุด จึงเคลื่อนรอบดวงอาทิตยเร็ว
ที่สุด โดยใชเวลาเพียง 87.969 วันในการโคจร
รอบดวงอาทิตย 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบตัวเอง
ในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย
คือ จากทิศตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบ
ตัวเองรอบละ 58.6461 วัน เมื่อพิจารณาจาก
คาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการ
เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย จะพบวาระยะเวลา
กลางวัน ถึงกลางคืนบนดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะอุณหภูมิที่
ผิวของดาวพุธชวงที่อยูใกลดวงอาทิตย ที่สูงสุดถึง 700 เคลวิน (ประมาณ 427 องศา
เซลเซียส) สูงพอที่จะละลายสังกะสีได แตในเวลากลางคืนอุณหภูมิลดต่ําลงเปน 50 เคลวิน
(-183 องศาเซลเซียส) ต่ําพอที่จะทําใหกาซ คริปตอนแข็งตัว การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิบน
พื้นผิวดาวพุธจึงรุนแรง คือรอนจัดในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลากลางคืนทั้งนี้เพราะไมมี
บรรยากาศที่จะดูดกลืนความรอนอยางเชนโลก
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
21
ปจจุบันนักดาราศาสตรพบรองรอยของบรรยากาศ และพบน้ําแข็งบริเวณขั้ว ซึ่งอาจ
เกิดจากการชนของดาวหางบนดาวพุธ และอาจเปนผูกอกําเนิด ออกซิเจน และไฮโดรเจนบน
ดาวพุธ
ปรากฏการณบนฟาเกี่ยวกับดาวพุธ เห็นอยูใกลขอบฟาเสมอ สาเหตุเปนเพราะวง
โคจรของดาวพุธเล็กกวา วงโคจรของโลก ดาวพุธจึงปรากฏหางจากดวงอาทิตยไดอยางมาก
ไมเกิน 28 องศา นั่นหมายความวา ถาอยูทางทิศตะวันออกของดวงอาทิตย จะเห็นทางทิศ
ตะวันตกในเวลาหัวค่ํา แตถาอยูทางตะวันตกของดวงอาทิตย จะขึ้นกอนดวงอาทิตย จึงเห็น
ทางทิศตะวันออกในเวลารุงอรุณ และเห็นเปนเสี้ยวในกลองโทรทรรศน เนื่องจากดาวพุธไม
หันดานสวางทั้งหมดมาทางโลก
แตจะหันดานสวางเพียงบางสวนคลายดวงจันทรขางขึ้นหรือขางแรม หันดานสวางมาทางโลก
ถาดาวพุธหันดานสวางทั้งหมดมาทางโลก เราจะมองไมเห็น เพราะดาวพุธอยูไปทางเดียวกัน
กับดวงอาทิตย เห็นเปนจุดดําเล็กๆ บนพื้นผิวดวงอาทิตย
ดาวศุกร (Venus)
ดาวศุกรเปนดาวเคราะหที่อยูหางดวง
อาทิตยเปนลําดับที่ 2 มีขนาดเล็กกวาโลก
เล็กนอย จึงไดชื่อวาเปนดาวฝาแฝดกับโลก เปน
ดาวเคราะหที่ปรากฏสวางที่สุด สวางรองจาก
ดวงอาทิตยและดวงจันทร ถาเห็นทางทิศ
ตะวันตกในเวลาค่ําเรียกวา ดาวประจําเมือง
และถาเห็นทางทิศตะวันออกในเวลากอน
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
22
รุงอรุณ เรียกวา ดาวประกายพรึก ดาวศุกรเปนดาวเคราะหที่เกิดปรากฏการณเรือนกระจก
อยางรุนแรง เพราะมีบรรยากาศหนาทึบดวยคารบอนไดออกไซด ดาวศุกรจึงรอนมาก
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยสูงกวาดาวพุธลักษณะพิเศษของดาวศุกรคือ หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช
เวลานานกวาการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย 1 รอบ และถาเราอยูบนดาวศุกรเวลา 1 วัน จะไม
ยาวเทากับเวลาที่ดาวศุกรหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกรไมเหมือนดาว
เคราะหดวงใดๆ นอกจากนี้ดาวศุกรยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุนจากทิศตะวันออกไปทิศ
ตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกรจึงหมุน
สวนทางกับดาวเคราะหดวงอื่น และหมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย ดาวศุกร
หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วัน แต 1 วันของดาวศุกรยาวนานเทากับ 117 วันของโลก เพราะ
ตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจนถึงดวงอาทิตยตกยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาวศุกรเคลื่อนรอบดวง
อาทิตยรอบละ 225 วัน 1 ปของดาวศุกรจึงยาวนาน 225 วันของโลก
ดาวศุกรเปนดาวเคราะหที่เกิดปรากฏการณเรือนกระจกบนพื้นผิวรุนแรงมาก ทั้งนี้
เพราะดาวศุกรมีกาซที่ชวยดูดกลืนความรอนจากดวงอาทิตยไดมาก และ มีปริมาณสูง กาซ
ดังกลาวคือ คารบอนไดออกไซด นอกจากนี้ยังมีไอของกรดกํามะถันทําใหดาวศุกรรอนทั้ง
กลางวันและกลางคืน ตอนกลางวันอุณหภูมิสูงถึง 477 องศาเซลเซียส บนพื้นผิวดาวศุกรมี
รองลึกคลายทางน้ําไหล แตเปนรองที่เกิดจากการไหลของลาวาภูเขาไฟ ไมใชเกิดจากน้ํา
อยางเชนบนโลกการสํารวจดาวศุกรโดยยานอวกาศ ยานอวกาศลําแรกที่ถายภาพเมฆดาว
ศุกรได คือยานอวกาศของสหรัฐอเมริกา ชื่อยานมารีเนอร 10 เมื่อ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2517
ยานอวกาศลําแรกที่ไดถายภาพพื้นผิวดาวศุกรได คือยานอวกาศเวเนรา 9 ของรัสเซีย ซึ่งลง
สัมผัสพื้นผิวของดาวศุกรเมื่อ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2518
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
23
โลก (Earth)
โลกหมุนรอบดวงอาทิตยเปนวงโคจรซึ่งใช
เวลา 365 1/4 วัน เพื่อใหครบ 1 รอบ ปฏิทินแตละป
มี 365 วัน ซึ่งหมายความวาจะมี 1/4 ของวันที่เหลือ
ในแตละป ซึ่งทุกๆปสี่ปจะมีวันพิเศษ คือจะมี 366
วัน กลาวคือเดือนกุมภาพันธจะมี 29 วัน แทนที่จะมี
28 วันเหมือนปกติ ตามที่เคปเลอรคนพบวงโคจร
ของโลกไมเปนวงกลม ในเดือนธันวาคมมันจะอยู
ใกลดวงอาทิตยมากกวาเดือนมิถุนายน ซึ่งมันจะอยู
หางไกลจากดวงอาทิตยมากที่สุด โลกจะเอียงไปตามเสนแกน ในเดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือ
จะเอียงไปทางดวงอาทิตยดังนั้น ซีกโลกเหนือจะเปนฤดูรอนและซีกโลกใตจะเปนฤดูหนาว ใน
เดือนธันวาคมจะเอียงจากดวงอาทิตย ทําใหซีกโลกเหนือเปนฤดูหนาวและซีกโลกใตเปนฤดู
รอน ในเดือนมีนาคมและกันยายน ซีกโลกทั้งสองไมเอียงไปยังดวงอาทิตย กลางวันและ
กลางคืนจึงมีความยาวเทากัน ในเดือนมีนาคม ซีกโลกเหนือจะเปนฤดูใบไมผลิ และซีกโลกใต
เปนฤดูใบไมรวง ในเดือนกันยายน สถานการณจะกลับกัน
ดาวเคราะหดวงอื่นๆ จะมีฤดูกาลเปนของตนเองและระยะของการโคจร ความยาว
ของปดาวเคราะหเปนเวลาที่มันหมุนรอบดวงอาทิตยหนึ่งรอบ ถาคุณอยูบนดาวพุธ ปของคุณ
จะมีเพียง 88 วันของโลก บนดาวพลูโต ซึ่งเปนดาวเคราะหที่อยูนอกสุดหนึ่งปจะเทากับ 24
วันบนโลก
ขอมูลเกี่ยวกับโลก
โลกมีอายุประมาณ 4,700 ป โลกไมไดมีรูปรางกลมโดยสิ้นเชิง เสนรอบวงที่เสนศูนย
สูตรยาว 40,077 กิโลเมตร (24,903 ไมล) และที่ขั้วโลกยาว 40,009 กิโลเมตร (24,861 ไมล)
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
24
ดวงจันทรเปนบริวารของโลก
โคจรรอบโลกทุกๆ 27 วัน 8 ชั่งโมง และขณะเดียวกันก็หมุนรอบแกนตัวเองไดครบ
หนึ่งรอบพอดีดวย ทําใหเรามองเห็นดวงจันทรดานเดียว ไมวาจะมองจากสวนไหนของโลก
สวนอีกครึ่งหนึ่ง มนุษยเพิ่งจะไดเห็นภาพ เมื่อสามารถสงยานอวกาศไปในอวกาศได บน
พื้นผิวดวงจันทรรอนมากในบริเวณที่ถูกแสงอาทิตย และเย็นจัดในบริเวณเงามืด ที่พื้นผิวของ
ดวงจันทรมีปลองหลุมมากมาย เปนหมื่นๆหลุม ตั้งแตหลุมเล็กไปจนถึงหลุมใหญมีภูเขาไฟ
และทะเลทรายแหงแลง ขอมูลที่นาสนใจเกี่ยวกับดวงจันทร
เสนผาศูนยกลาง 3,476 กิโลเมตร
มวล 0.012 เทาของโลก
ความหนาแนน 3.3 เทาของน้ํา
ระยะหางจากโลกโดยเฉลี่ย 384,400 กิโลเมตร
ระยะที่อยูใกลที่สุด 365,400 กิโลเมตร
ระยะหางมากที่สุด 406,700 กิโลเมตร
เวลาหมุนรอบตัวเอง 27.32 วัน (นับแบบดาราคติ)
เวลาหมุนรอบโลก 29.53 วัน (นับแบบจันทรคติ)
เอียงทํามุมกับเสนอีคลิปติค 5 องศา
เอียงทํามุมกับแกนตัวเอง 6 1/2 องศา วัฏจักรของดวงจันทร
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
25
เราทราบแลววา ถานับเดือนทางจันทรคติ แลวดวงจันทรจะโคจรรอบโลกหนึ่งรอบ
กินเวลา 29 1/2 วัน ถาเรานับจุดเริ่มตนของดวงจันทรที่วันเดือนดับ (New moon) เปนชวงที่
ดวงจันทร อยูเปนเสนตรงระหวางโลกกับดวงอาทิตย ทําใหดวงจันทรทึบแสง คนบนโลกจึง
มองไมเห็นดวงจันทร แลวก็เปนวันขางขึ้นทีละนอย เราจะเห็นดวงจันทรสวางเปนเสี้ยวทาง
ขอบฟาตะวันตก และจะเห็นดวงจันทรขึ้นสูงจากขอบฟาทิศตะวันตก ไปทางทิศตะวันออก
พรอมกับมีเสี้ยวสวางมากขึ้น พอถึงชวงวันขึ้น 7-8 ค่ํา ดวงจันทรจะสวางครึ่งซีกอยูตรงกลาง
ทองฟาพอดี (Quarter) วันตอมาจะเพิ่มเสี้ยวสวางเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งวันขึ้น 14-15 ค่ํา
ดวงจันทรจะมาอยูตรงเสน ระหวางดวงอาทิตยและโลก ทําใหดวงจันทรเกิดสวางเต็มดวง
(Full moon) หลังจากนั้นดวงจันทรกลายเปนขางแรม ดวงจันทรจะขึ้นชาไปเรื่อยๆ จนหายไป
ในทองฟาจะเห็นเดือนดับ แลวก็เริ่มตนใหม เปนเชนนี้ไปเรื่อยๆ การเกิดขางขึ้นขางแรม
เนื่องจากดวงจันทรโคจรรอบโลก 1 รอบ เทากับมันโคจรรอบตัวเอง 1 รอบพอดี ซึ่งใชเวลา
ประมาณ 1 เดือน ดังนั้นเราจึงเห็นดวงจันทรเพียงซีกเดียวตลอดเวลา
ดาวอังคาร (Mars)
ดาวอังคารเปนดาวเคราะหที่อยูหางจาก
ดวงอาทิตยเปนอันดับที่ 4 ในบรรดาดาวเคราะห
ทั้งหมด ดาวอังคารมีขนาดเสนผานศูนยกลาง
ประมาณ 0.5 เทาของโลก ดาวอังคารมีโครงสราง
ภายในประกอบดวย แกนกลางที่เปนของแข็ง มีรัศมี
ประมาณ 1,700 กิโลเมตร หอหุมดวยชั้นแมนเทิลที่
เปนหินเหลวหนืด หนาประมาณ 1,600 กิโลเมตร
และมีเปลือกแข็ง เชนเดียวกับโลก
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
26
เราสังเกตเห็นดาวอังคารเปนสีแดง เพราะมีพื้นผิวที่ประกอบไปดวยออกไซดของ
เหล็ก หรือ สนิมเหล็กนั่นเอง พื้นผิวดาวอังคารเต็มไปดวย หุบเหวตางๆ มากมาย หุบเหว
ขนาดใหญชื่อ หุบเหวมาริเนอริส มีความยาวถึง 4,000 กิโลเมตร กวาง 600 กิโลเมตร และลึก
8 กิโลเมตร นอกจากนี้ดาวอังคารยังมีภูเขาไฟที่สูงที่สุดในระบบสุริยะชื่อ ภูเขาไฟโอลิมปส ที่
มีความสูงถึง 25 กิโลเมตร และมีฐานที่แผออกไปเปนรัศมี 300 กิโลเมตร
ดาวอังคารมีบรรยากาศที่เบาบางมาก ประกอบดวยคารบอนไดออกไซดเปนสวน
ใหญ กาซเหลานี้เกิดจาก การระเหิดของน้ําแข็งแหง (คารบอนไดออกไซดแข็ง) ที่ปกคลุมอยู
ทั่วไปบนพื้นผิวดาวอังคาร โดยเฉพาะที่บริเวณขั้วเหนือและขั้วใตของดาว มีน้ําแข็งปกคลุมอยู
ตลอดเวลา
ดาวอังคารเปนดาวเคราะหที่เปนที่ชื่นชอบของผูแตงนิยายวิทยาศาสตร ตั้งแตเมื่อ
หลายสิบปที่ผานมา เมื่อเริ่มมีการสังเกตดาวอังคารผานกลองโทรทรรศน และพบรูปราง
พื้นผิวที่คลายกับคลองสงน้ําของมนุษยดาวอังคาร (ถามีสิ่งมีชีวิตอยูจริงบนดาวอังคาร) แต
หลังจากที่องคการนาซาไดสงยานไปสํารวจดาวอังคารอยางตอเนื่อง ทําใหเราทราบวา
ลักษณะดังกลาวเปนเพียงรองรอยที่เกิดขึ้นในธรรมชาติดาวอังคารมีบริวารขนาดเล็ก 2 ดวง
มีชื่อวา โฟบัส และดีมอส ดวงจันทรทั้งสองดวงมีรูปราง ไมสมมาตร และมีขนาดเล็กกวา 25
กิโลเมตร นักดาราศาสตรจึงสันนิษฐานวา อาจเปนวัตถุในแถบดาวเคราะหนอยที่ถูกแรงโนม
ถวงของดาวอังคาร ดึงดูดใหโคจรรอบ
โครงสรางของดาวอังคาร
ดาวอังคารเปนดาวเคราะหที่มีเนื้อแข็ง (solid planet) มีแกน (core) ที่มีลักษณะ
เปนโลหะ ปกคลุมดวยเนื้อดาว (mantle) ที่มีลักษณะเปนหิน 1 ชั้น และมีเปลือก
ชั้นนอก (outer crust) อยูอีกชั้นหนึ่ง ดาวอังคารมีทะเลทรายกวางใหญไพศาลมากมายที่
ดาษดาดวยทรายและหินตาง ๆ ที่มีสีคอนขางแดง มีภูเขาไฟที่สูงกวายอดเขาเอเวอเรสต
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
27
(Mount Everest) หลายเทาอยูหลายลูก มีหุบเขาขนาดมหิมาที่เกิดจาการแปรสันฐานทาง
ธรณีวิทยา มีหลุมภูเขาไฟ (volcanic craters) และหลุมขนาดเล็กที่เกิดขึ้นจากการกระแทก
ของลูกอุกาบาตตาง ๆ ดวย
ดาวพฤหัสบดี (Jupiter)
ดาวพฤหัสบดี เปนเทหวัตถุที่มีความ
สวางมากเปนอันดับที่ 4 ของทองฟา (รองจาก
ดวงอาทิตย ดวงจันทร และ ดาวศุกร แต
บางครั้ง ดาวอังคาร อาจสวางกวา) และเปนที่
รูจักกันมาตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร การ
คนพบดวงจันทรบริวารทั้งสี่ของกาลิเลโอ อัน
ไดแก ไอโอ ยูโรปา แกนีมีด และ คัลลิสโต ดวง
จันทรทั้งสี่ดวงจึงไดชื่อวาเปน "ดวงจันทรกาลิเลียน" (Galilean moons)
ดาวพฤหัสบดีเปนดาวเคราะหกาซ โดยที่ไมมีพื้นผิวเปนของแข็ง แตเต็มไปดวยกาซ
ซึ่งมีความหนาแนนสูง กดทับกันลึกลงไป เมื่อเรามองดูดาวเคราะหเหลานี้ สิ่งที่เรามองเห็นคือ
บรรยากาศชั้นยอดเมฆ (ซึ่งมีความหนาแนนเบาบางกวา 1 หนวยบรรยากาศ) จุดแดงใหญ
เปนที่รูจักมานานกวา 300 ป จุดแดงใหญมีรูปวงรี แผออกไปเปนบริเวณกวางถึง 25,000
กิโลเมตร ใหญพอที่จะบรรจุโลกได 2 ใบ จุดแดงใหญนี้เปนพายุที่เกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศของ
ดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีอายุมากกวา 300 ป และยังไมทราบวาพายุนี้จะจางหายไปเมื่อไร
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
28
วงแหวนของดาวพฤหัสบดี
จากการสํารวจของยานวอยเอเจอร 1 ทําใหเราทราบวาดาวพฤหัสบดีมีวงแหวน
เชนเดียวกับดาวเสาร แตมีขนาดเล็ก และบางกวามาก ประกอบไปดวยเศษหินและฝุนที่มี
ขนาดเล็ก และไมมีน้ําแข็งเปนองคประกอบ จึงทําใหมันไมสวางมากนัก (หินและฝุนสะทอน
แสงอาทิตยไดไมดีเทากับน้ําแข็ง)
ดวงจันทรบริวารหลักของดาวพฤหัสบดี
ปจจุบันพบวาดาวพฤหัสมีดวงจันทรอยูอยางนอย 39 ดวง แตมีเพียง 4 ดวง ที่เปนดวง
จันทรขนาดใหญ และมีรูปรางเปนทรงกลม ไดแก ไอโอ ยุโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ดวง
จันทรไอโอและยุโรปาเปนดวงจันทรที่มีอายุนอยและมีหลุมอุกกาบาตอยูไมมากนัก
โดยเฉพาะดวงจันทรไอโอที่ยังมีการครุกรุนของภูเขาไฟอยูที่พื้นผิว สวนดวงจันทรแกนีมีดและ
คัลลิสโตนั้น เปนดวงจันทรที่มีขนาดใหญและมีอายุมากกวา มีพื้นผิวที่เต็มไปดวยหลุม
อุกกาบาตอยูมากมาย
โครงสรางดาวพฤหัสบดี
ภายในของดาวเคราะหนี้ประกอบดวยแกน (core) ที่เปนกอนหินเล็ก หุมโดยรอบดวย
แกนอีกอันหนึ่งที่ใหญกวาซึ่งเปนไฮโดรเจนที่แข็งเหมือนโลหะ (metallic hydrogen) ถัด
ออกมาเปนชั้นของไฮโดรเจนเหลว (liquid hydrogen) และนอกสุดเปนกาซตาง ๆ ที่ประกอบ
กันเปนชั้นบรรยากาศ (atmosphere) ที่คอนขางจางมาก สวนประกอบโดยรวมของดาว
พฤหัสบดีมีดังนี้ รอยละ 90 เปนไฮโดรเจน รอยละ 5 เปนฮีเลียม รอยละ 3 เปนมีเทนกับ
แอมโมเนีย และที่เหลือเปนสารประกอบทางเคมีชนิดตาง ๆ บรรยากาศประกอบขึ้นดวยชั้น
หมูเมฆที่หนาแนนมากซึ่งกอใหเกิดแถบหลายแถบ (band) ที่มีสีจางและสีเขมอันเปน
ลักษณะเฉพาะขึ้น
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
29
ดาวเสาร (Saturn)
ดาวเสารเปนดาวเคราะหที่รูจักกันมา
ตั้งแตกอนยุคประวัติศาสตร กาลิเลโอไดใช
กลองสองทางไกล สังเกตดาวเสารเปนครั้งแรก
เมื่อป พ.ศ. 2153 และพบลักษณะที่เปนวงรี
คลายกับเปนดาวเคราะหที่มีหูสองขาง
จนกระทั่งในป พ.ศ.2202 คริสเตียน ฮอยเกนส
พบวาเปนวงแหวนของดาวเสาร เปนที่เชื่อกันวาดาวเสารเปนดาวเคราะหเพียงดวงเดียว ใน
ระบบสุริยะ ที่มีวงแหวน จนกระทั่งเมื่อไมกี่สิบปมานี้เอง ที่ไดมีการคนพบวงแหวนบางๆ รอบ
ดาวยูเรนัส ดาวพฤหัสบดี และดาวเนปจูนโครงสรางภายในของดาวเสาร มีลักษณะ
คลายคลึงกับของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีแกนกลางที่เปนหินแข็ง หอหุมดวยแมนเทิลชั้นใน ที่เปน
โลหะไฮโดรเจน และแมนเทิลชั้นนอกที่เปน ไฮโดรเจน และฮีเลียมเหลวแถบที่มีความเขม
ตางๆ กันที่ปรากฏบนดาวเสาร เกิดจากการหมุนรอบตัวเองที่เร็วมากของดาว ทําใหเกิดการ
หมุนวนของชั้นบรรยากาศ ที่มีอุณหภูมิแตกตางกัน จึงปรากฏเปนแถบเขมและจาง สลับกัน
วงแหวนดาวเสาร
จากภาพวงแหวนดาวเสาร ดูคลายกับวาจะมีลักษณะเปนแผน แทที่จริงแลว
ประกอบดวยอนุภาคจํานวนมหาศาล ซึ่งมีวงโคจรอิสระ และมีขนาดตั้งแตเซนติเมตร ไปจน
หลายรอยเมตร สวนใหญจะประกอบดวยน้ําแข็ง ปะปนอยูกับเศษหินเคลือบน้ําแข็ง วงแหวน
ของดาวเสารนั้นบางมาก แมจะมีขนาดเสนผานศูนยกลางยาวถึง 250,000 กิโลเมตร แตมี
ความหนาไมถึง 1.5 กิโลเมตร วงแหวนแตละชั้นมีชื่อเรียกตามอักษรภาษาอังกฤษ เชน วง
แหวนสวาง (A และ B) และวงสลัว (C) สามารถมองเห็นไดจากโลก ชองระหวางวงแหวน A
และ B รูจักในนาม "ชองแคบแคสสินี" (Cassini division ) เรายังไมทราบถึง ตนกําเนิดของ
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
30
วงแหวนดาวเสาร และบริวารเล็กๆ แมวาจะมีวงแหวนมาตั้งแตการฟอรมตัว ของดาวเคราะห
ในยุคเริ่มแรก แตระบบของวงแหวนขาดเสถียรภาพ และเปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการ
รอบๆ ขาง บางทีมันอาจกําเนิดจากการแตกสลายของบริวารที่มีขนาดใหญกวา
ดวงจันทรบริวารของดาวเสาร
ดาวเสารมีดวงจันทรบริวารอยางนอย 30 ดวง ดวงจันทรบริวารที่มีขนาดใหญที่สุด
คือ "ไททัน" (Titan) มีขนาดใหญหวาดาวพุธ ไททันมีชั้นบรรยากาศที่ประกอบดวย กาซ
ไนโตรเจนเปนสวนใหญ คลายคลึงกับชั้นบรรยากาศของโลก ดังนั้นนักดาราศาสตรจึงสนใจที่
จะศึกษาดวงจันทรไททันอยางละเอียด เพื่อที่จะไดนํามาเปรียบเทียบกับโลก
ดวงจันทรบริวารที่มีขนาดรองจากไททันไดแก รี ดิโอนี ไออาเพตุส เททิส เอนเซลาดุส และ
มิมาส ซึ่งสวนใหญประกอบดวย น้ําแข็งและมีหินผสมอยูเล็กนอย
โครงสรางของดาวเสาร
ดาวเคราะหดวงนี้ประกอบดวยแกน (core) ที่เปนกอนหินเล็ก ซึ่งมีขนาดใหญกวา
แกนของดาวพฤหัสบดี ถัดออกมาเปนชั้นของไอโดรเจนที่แข็งเหมือนโลหะ (metallic
hydrogen) ถัดออกมาเปนชั้นของไฮโดรเจนเชิงโมเลกุลที่เปนของเหลว (liquid molacular
hydrogen) อีกชั้นหนึ่งรอยละ 94 ของดาวเคราะหดวงนี้เปนไฮโดรเจน และกวารอยละ
5 เล็กนอยเปนฮีเลียม สวนที่เหลือเปนธาตุและสารประกอบตาง ๆ ทางเคมีในปริมาณที่นอย
มาก ที่พื้นผิวของดาวเสารมีพายุใหญเกิดขึ้น ซึ่งหลายลูกมีความเร็วลมถึง 1,100 ไมล
(1,800 กิโลเมตรตอชั่วโมง)
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
31
ดาวยูเรนัส (Uranus)
ยูเรนัสเปนดาวเคราะหดวงแรกซึ่งถูก
คนพบในยุคใหม โดย วิลเลี่ยม เฮอสเชล เมื่อวันที่
13 มีนาคม พ.ศ.2324 ยานวอยเอเจอร 2 เปน
ยานอวกาศลําแรกที่ไปสํารวจดาวยูเรนัส ในป
พ.ศ. 2529 องคประกอบหลักของดาวยูเรนัสเปน
หินและ น้ําแข็ง หลากหลายชนิด มีไฮโดรเจน
เพียง 15% กับฮีเลียมอีกเล็กนอย (ไมเหมือนกับ
ดาวพฤหัสบดีและ ดาวเสาร ซึ่งมีไฮโดรเจนเปนสวนใหญ) แกนของดาวยูเรนัสและเนปจูน มี
ลักษณะที่คลายคลึงกับแกนของดาวพฤหัสบดีและดาวเสารคือ หอหุมดวย โลหะไฮโดรเจน
เหลว แตแกนของดาวยูเรนัสไมมีแกนหิน ดังเชน ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร
บรรยากาศของดาวยูเรนัสประกอบดวยไฮโดรเจน 83%, ฮีเลียม 15% และมีเทน 2%
เนื่องจากกาซมีเทนในบรรยากาศชั้นบน ดูดกลืนแสงสีแดง และสะทอนแสงสีน้ําเงิน ดาว
ยูเรนัสจึงปรากฏเปนสีน้ําเงิน บรรยากาศของดาวยูเรนัส อาจจะมีแถบสีดังเชนดาวพฤหัสบดี
เชนเดียวกับดาวกาซดวงอื่น แถบเมฆของดาวยูเรนัสเคลื่อนที่เร็วมากดาวเคราะหสวนใหญมี
แกนหมุนรอบตัวเองคอนขางจะตั้งฉากกับระนาบสุริยะวิถี แตแกนหมุนรอบตัวเองของดาว
ยูเรนัส กลับเกือบขนานกับสุริยะวิถี ในชวงที่ยานวอยเอเจอรเดินทางไปถึง ยูเรนัสกําลังหันขั้ว
ใตชี้ไปยังดวงอาทิตย เปนผลใหบริเวณขั้วใตไดรับพลังงานจากดวงอาทิตย มากกวาบริเวณ
เสนศูนยสูตร อุณหภูมิบนดาวยูเรนัสมีลักษณะตรงกันขามกับดาวเคราะหดวงอื่น กลาวคือ
อุณหภูมิบริเวณขั้วดาวจะสูงกวาบริเวณเสนศูนยสูตรเสมอ
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
32
วงแหวน
ดาวยูเรนัสมีวงแหวนเชนเดียวกับดาวเคราะหกาซดวงอื่นๆ วงแหวนของดาวยูเรนัสมี
ความสวางไมมากนัก เชนเดียวกับวงแหวนของดาวพฤหัสบดี เพราะประกอบดวยอนุภาคซึ่ง
มีขนาดเล็กมากดังฝุนผง ไปจนใหญถึง 10 เมตร ดาวยูเรนัสนับเปนดาวเคราะหดวงแรก ที่ถูก
คนพบวามีวงแหวนลอมรอบ เชนเดียวกับดาวเสาร ซึ่งเปนการคนพบที่สําคัญ ที่ทําใหเรา
ทราบวา ดาวเคราะหกาซทุกดวงจะมีวงแหวนลอมรอบอยู มิใชเพียงเฉพาะดาวเสารเทานั้น
ดวงจันทรบริวาร
ดาวยูเรนัสมีดวงจันทรบริวาร ซึ่งประกอบไปดวยดวงจันทรขนาดใหญอยูหลายดวง อัน
ไดแก มิรันดา แอเรียล อัมเบรียล ไททาเนีย และ โอเบรอน
ดาวเนปจูน (Neptune)
ดาวเนปจูนถูกคนพบ หลังจากการ
คนพบดาวยูเรนัส โดยนักดาราศาสตรพบวาวง
โคจรของดาวยูเรนัสมิไดเปนไปตามกฏของนิว
ตัน จึงทําใหเกิดการพยากรณวา จะตองมีดาว
เคราะหอีกดวงหนึ่งที่อยูไกลถัดออกไป
มารบกวนวงโคจรของดาวยูเรนัส เนปจูนถูก
เยี่ยมเยือนโดยยานอวกาศเพียงลําเดียวคือ
วอยเอเจอร 2 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.2532, เกือบทุกอยางที่เรารูเกี่ยวกับดาวเนปจูน มา
จากการเยี่ยมเยือนในครั้งนี้ เนื่องจากวงโคจรของ ดาวพลูโต เปนวงรีมาก ในบางครั้งมันจะ
ตัดกับวงโคจรของเนปจูน ทําใหเนปจูนเปนดาวเคราะหซึ่งอยูไกลที่สุดในบางป
ดาวเนปจูนมีองคประกอบคลายคลึงกับดาวยูเรนัส เชน รูปแบบของน้ําแข็ง มีไฮโดรเจน 15%
>> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล
33
และฮีเลียมจํานวนเล็กนอย ดาวเนปจูนแตกตางกับดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร ตรงที่ไมมี
การแบงชั้นภายในที่ชัดเจน เรารูเพียงวามีแกนกลางที่มีขนาดเล็ก (มีมวลประมาณเทาโลก)
ดาวเนปจูนเปนดาวเคราะหสีน้ําเงินเชนเดียวกับดาวยูเรนัส เพราะในชั้นบรรยากาศมีกาซ
มีเทน เปนองคประกอบอยูดวย
วงแหวน
ดาวเนปจูนมีวงแหวน 4 วง และมีความสวางไมมากนัก เพราะประกอบดวยอนุภาค
ที่เปนผงฝุนขนาดเล็ก จนถึงขนาดประมาณ 10 เมตร เชนเดียวกับวงแหวนของดาวพฤหัสและ
ดาวยูเรนัส ภาพถายจากยานวอยเอเจอรแสดงใหเห็นถึงวงแหวนหลัก 2 วง และวงแหวน
บางๆ อยูระหวางวงแหวนทั้งสอง
ดวงจันทรบริวาร
ดาวเนปจูนมีดวงจันทรบริวารที่คนพบแลว 8 ดวง โดยมีดวงจันทรชื่อ "ทายตัน" (Triton)
เปนบริวารที่มีขนาดใหญที่สุด ในบรรดาดวงจันทรบริวารทั้ง 8 ดวง ทายตันมีวงโคจรที่สวน
ทางกับการหมุนรอบตัวเองของดาวเนปจูน นักดาราศาสตรคาดวา ทายตันจะโคจรเขาใกล
ดาวเนปจูนเรื่อยๆ และพุงเขาชนดาวเนปจูนในที่สุด (อาจใชเวลาถึงเกือบ 100 ลานป)
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados (7)

Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
A
AA
A
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
184 bb10
184 bb10184 bb10
184 bb10
 

Destaque (6)

Chapter 4 pump
Chapter 4 pumpChapter 4 pump
Chapter 4 pump
 
00ของไหล01
00ของไหล0100ของไหล01
00ของไหล01
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
เฉลยข้อสอบฟูอิด
เฉลยข้อสอบฟูอิดเฉลยข้อสอบฟูอิด
เฉลยข้อสอบฟูอิด
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 

Semelhante a 468201 hand book

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนwatdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2thkitiya
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
3. ชุดที่-3-เนื้อหาการหารแบบลงตัวและการหารแบบไม่ลงตัว
3. ชุดที่-3-เนื้อหาการหารแบบลงตัวและการหารแบบไม่ลงตัว3. ชุดที่-3-เนื้อหาการหารแบบลงตัวและการหารแบบไม่ลงตัว
3. ชุดที่-3-เนื้อหาการหารแบบลงตัวและการหารแบบไม่ลงตัวbipooh pooh
 

Semelhante a 468201 hand book (20)

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
แผนการจัดการเรียนเรียนรู้การงานอาชีพ ป.6 2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
Astroplan11
Astroplan11Astroplan11
Astroplan11
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
3. ชุดที่-3-เนื้อหาการหารแบบลงตัวและการหารแบบไม่ลงตัว
3. ชุดที่-3-เนื้อหาการหารแบบลงตัวและการหารแบบไม่ลงตัว3. ชุดที่-3-เนื้อหาการหารแบบลงตัวและการหารแบบไม่ลงตัว
3. ชุดที่-3-เนื้อหาการหารแบบลงตัวและการหารแบบไม่ลงตัว
 

468201 hand book

  • 1. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 6 สวนประกอบของชุดการสอน ในชุดการสอนนี้จะมีวัสดุ-อุปกรณ ที่ประกอบไปดวยรายการดังตอไปนี้ 1. คูมือครู 2. สมุดบันทึกการทํากิจกรรมศูนยการเรียน 3. ซองเอกสารประจําศูนยการเรียน 3.1 ศูนยการเรียนที่ 1 ความหมายของระบบสุริยะจักรวาล 3.2 ศูนยการเรียนที่ 2 ดวงอาทิตย 3.3 ศูนยการเรียนที่ 3 ดาวพุธ 3.4 ศูนยการเรียนที่ 4 ดาวศุกร 3.5 ศูนยการเรียนที่ 5 โลก 3.6 ศูนยการเรียนที่ 6 ดาวอังคาร 3.7 ศูนยการเรียนที่ 7 ดาวพฤหัสบดี 3.8 ศูนยการเรียนที่ 8 ดาวเสาร 3.9 ศูนยการเรียนที่ 9 ดาวยูเรนัส 3.10 ศูนยการเรียนที่ 10 ดาวเนปจูน 4. ในแตละซองเอกสารจะประกอบไปดวย บัตรคําสั่ง บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม และบัตรเฉลย 5. แผนการสอน 6. ใบบันทึกและประเมินผลการใชชุดการสอน 7. แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน *** ครูควรตรวจสิ่งของเหลานี้ใหเรียบรอยกอนใชประกอบการสอน ***
  • 2. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 7 คําชี้แจงสําหรับครูผูสอน จุดมุงหมายของชุดการสอน 1. เพื่อใชสอนเนื้อหา บทเรียน ตามหลักสูตรของการศึกษาในระบบโรงเรียน 2. เพื่อเปนเครื่องมือชวยอํานวยความสะดวกในการสอนของครู 3. เพื่อใหการเรียนในหองเรียนเกิดประสิทธิภาพมาขึ้น เพราะนักเรียนสามารถ เรียนไดอยางทั่วถึงทุกคน 4. เพื่อสรางความนาสนใจในบทเรียนใหมีมากขึ้น เปนการกระตุนใหผูเรียนเกิด การเรียนรูในหองเรียน 5. ชุดการสอนนี้ทําใหนักเรียนมีทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห ในเรื่องที่กําลัง ศึกษาอยูอยางเปนขั้นตอน บทบาทของครูผูสอน 1. วางแผนการสอน เขียนแผนการสอน และเตรียมอุปกรณอื่น ๆ 2. สังเกต ใหความชวยเหลือ และแกไขที่ไมถูกตองขณะทํางานรวมกัน 3. บันทึกพัฒนาการของผูเรียนแตละคน โดยอาจบันทึกความเขาใจในเนื้อหาสาระ ความสามารถตามคําสั่งที่กําหนดไว การทํางานใหเสร็จดวยตนเอง และดวย การทํางานกลุมรวมกับคนอื่น ความเปนผูนําและผูตามที่ดี 4. อธิบายเนื้อหาเพิ่มเติม โดยการเดินไปดูการทํากิจกรรมกลุมของผูเรียนตามศูนย การเรียนตาง ๆ ตลอดจนเปนผูนําและผูสรุปเนื้อหาในบทเรียนนั้น ๆ ดวย 5. เตรียมอุปกรณ และสื่อการสอน ชุดการสอนเพิ่มเติม เพื่อใหสอดคลองกับ สถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป และเพื่อใหบทเรียนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 3. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 8 ขอคํานึงของครูผูสอน ในการสอนโดยใชชุดการสอนในแตละศูนยการเรียนนั้น ครูตองเปลี่ยนทัศนคติให เหมาะสม เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียนมีโอกาสเรียนรูดวยตนเองมากยิ่งขึ้น ทัศนคติที่ครูควร คํานึงถึง มีดังตอไปนี้ 1. สงเสริมใหผูเรียนเกิดการเรียนรูดวยตนเองมากที่สุด พยายามลดบทบาทการ เปนผูบอกของครูมาเปนผูถาม และคอยชวยเหลือดูแล 2. เปนผูมีใจกวางและใหคําชมนักเรียนที่ทําดี หรือทํากิจกรรมสําเร็จแมเพียง เล็กนอย 3. สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูดวยการเคลื่อนไหวในขณะประกอบกิจกรรม 4. สนับสนุนใหนักเรียนรูจักการทํางานเปนทีม 5. คอยชวยเหลือใหนักเรียนเรียนรูตามความสามารถของตนเอง บทบาทของนักเรียน ครูตองกระตุนใหนักเรียนมีพฤติกรรมอันพึงประสงค ตอการเรียนดวยชุดการสอน ดังตอไปนี้ 1. ทําความเขาใจวิธีการเรียนดวยการใชชุดการสอน ที่แบงเปนศูนยการเรียน 2. พัฒนาการเรียนรูดวยตนเอง โดยปฏิบัติตามคําสั่งที่ไดระบุไวในศูนยการเรียน ใหครบถวนในแตละศูนยการเรียน 3. ตองสงเสริมใหผูเรียนรูจักและเรียนรูเกี่ยวกับการทํางานเปนทีม เปนผูนําและผู ตามที่ดี 4. พัฒนาทักษะการประเมินของตนเอง และบันทึกความกาวหนาดวยตนเอง 5. ผูเรียนควรมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติกิจกรรมในแตละศูนยการเรียน
  • 4. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 9 การจัดหองเรียน ในการเรียนดวยการใชชุดการสอนนี้ จําเปนจะตองจัดสภาพหองเรียนใหเหมาะสม เพื่อสรางบรรยากาศการเรียนรูใหเกิดขึ้นกับผูเรียน การจัดหองเรียนอาจจัดเปน กลุมละ 4 คน จํานวน 10 กลุม (10 ศูนยการเรียนรู) ผูเรียนจะสลับกันเรียนในแตละศูนยเวียนกันไปจนครบทุกศูนย โดยมีรูปแบบดังนี้ (อาจ เปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม) << ตัวอยางการจัดสภาพหองเรียนใหเปนศูนยการเรียน
  • 5. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 10 คํานิยาม บัตรคําสั่ง คือ บัตรที่บอกใหผูเรียนในแตละศูนยการเรียนปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ อยางเปนขั้นตอน ผูสอนและผูเรียนควรจะปฏิบัติตามอยางเครงครัดเพื่อใหการเรียนการสอน ดวยชุดการสอนเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ บัตรเนื้อหา คือ บัตรที่บรรจุเนื้อหา หรือรูปภาพประกอบ โดยปกติแลวจะจัดเรียง เนื้อหาตามลําดับกอนหลัง บัตรกิจกรรม คือ บัตรที่จะจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับ เนื้อหาที่ผูเรียนไดศึกษาไปแลวในแตละศูนยการเรียน เชน บอกใหตอบคําถาม หรือเลนเกม เปนตน ศูนยการเรียน คือ หนวยการเรียนแตละหนวย เปนการใหนักเรียนศึกษาในหัวขอ ยอย ๆ กอนตามลําดับความสนใจ จะมีการสลับหรือเวียนกลุมศูนยการเรียนไปตาม ระยะเวลาที่กําหนดให เมื่อผูเรียนศึกษาในศูนยการเรียนหนึ่ง ๆ จบแลวก็สามารถไปศึกษาตอ ในศูนยการเรียนอื่น ๆ ได ในที่นี้ศูนยการเรียนไดแบงเปน 10 ศูนย ผูเรียนในแตละศูนยจะ กําหนดใหไมเกิน 4 คน ใชเวลาในแตละศูนยประมาณ 15 นาที เรื่อง คือ สาระการเรียนรูที่จะใหผูเรียนไดศึกษาซึ่งไดแบงเปนหัวขอยอย ๆ ไวแลว จํานวน 10 เรื่อง ในแตละเรื่องจะอยูในแตละศูนยการเรียน 1 เรื่องตอ 1 ศูนยการเรียน หมายเลขบัตร คือ สิ่งที่จะบอกวาบัตรคําสั่ง บัตรเนื้อหา บัตรกิจกรรม ที่มีอยูในแต ละศูนยการเรียนทั้งหมดนั้น อยูในศูนยการเรียนรูใด เพื่อใหงายตอการจัดเก็บและปองกันการ สลับหรือเปลี่ยนชุดบัตรตาง ๆ บัตรแตละบัตรจะสังเกตไดงายเพราะวาจะผูจัดทําใหใชสีที่ แตกตางกัน จึงงายตอการจัดเก็บไวเปนหมวดหมู
  • 6. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 11 แนวทางการใชชุดการสอน เพื่อใหการใชงานเปนไปตามวัตถุประสงคของการจัดทําชุดการสอน “ระบบสุริยะ จักรวาล” จึงไดกําหนดแนวทางการใชงานดังนี้ 1. ผูสอนควรตรวจสอบชุดการสอนใหคบถวนและอยูในสภาพที่พรอมจะใชงาน 2. การเตรียมหองเรียนนั้น อาจจัดตามแผนผังการจัดวางที่ไดกําหนดไวหรืออาจ พิจารณาตามสภาพแวดลอมของแตละหองเรียน 3. การจัดกลุมผูเรียนใหเขาอยูในแตละศูนยผูสอนอาจเตรียมสลากไวลวงหนากอนเขา สอน พอเขาสอนแลวใหผูเรียนจับสลากที่ไดเตรียมมา 4. วัสดุ-อุปการณในแตละศูนยผูจัดทําไดจัดทําเพียง 4 ชุด/ศูนยเทานั้น หากมีนักเรียน มากขึ้นผูสอนอาจทําเพิ่มได โดยใชของเดิมเปนตัวอยาง 5. ในชั่วโมงสอน เมื่อจัดสภาพหอง และนักเรียนแลวครูจะเปนผูกําหนดวาศูนยการ เรียนแตละศูนยจะใหเรียนเรื่องใด โดยวางซองเอกสารนั้นไวที่ศูนยการเรียนแลว นักเรียนที่สนใจเรื่องนั้นก็จะมานั่งรวมกันเพื่อศึกษาตามเรื่องที่สนใจ 6. การจัดศูนยการเรียนนั้น ครูควรแนะนําผูเรียนวาไมควรเขาไปศึกษาเกิน 4 คน เนื่องจากไดเตรียมเอกสารไวจํากัดจํานวน แตผูเรียนสามารถเรียนไดโดยวิธีการ เวียนศูนยการเรียน 7. การเวียนศูนยการเรียนนั้น เพื่อความสนุกสนานครูอาจจะมีแผนที่ใหนักเรียนเดิน ตามแผนที่ก็ได โดยกําหนดระยะเวลาใหไมควรเกิน 15 นาทีตอ 1 ศูนยการเรียน 8. หากระยะเวลาไมเพียงพอตอการเรียนดวยชุดการสอนครูอาจสรุปสําหรับชั่วโมงนี้ และกลาววาจะไดเรียนในชั่วโมงถัดไป 9. ครูควรกํากับดูแลใหผูเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามบัตรคําสั่งของแตละศูนยการเรียนโดย เครงครัด และครูควรเปนผูใหการชวยเหลือ หรือคําแนะนําแกผูเรียนเปนระยะ ๆ เพื่อ สรางบรรยากาศที่กระตุนการเรียนรู 10. ครูควรแนะนําใหนักเรียนเก็บสิ่งของเขาที่ใหเรียบรอยดวยหลังใชงานเสร็จแลว
  • 7. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 12 แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่ 7 เรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล วิชาโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร สาระสําคัญ ระบบสุริยะ คือระบบดาวที่มีดาวฤกษเปนศูนยกลาง และมีดาวเคราะห (Planet) เปนบริวารโคจรอยูโดยรอบ เมื่อสภาพแวดลอมเอื้ออํานวยตอการดํารงชีวิตสิ่งมีชีวิตก็จะ เกิดขึ้นบนดาวเคราะหเหลานั้น จุดประสงคการเรียนรู - จุดประสงคทั่วไป 1. เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับองคประกอบและปรากฏการณของ ระบบสุริยะ ที่มีความสัมพันธกันทําใหเกิดปรากฎการณตาง ๆ - จุดประสงคเชิงพฤติกรรม 1. หลังจากที่นักเรียนไดศึกษาเรื่องนี้แลวสามารถอธิบายสวนประกอบของระบบ สุริยะไดอยางถูกตอง 2. หลังจากที่นักเรียนไดเรียนเรื่องนี้แลวสามารถอธิบายความสําคัญของระบบสุริยะ ไดอยางถูกตอง 3. หลังจากที่นักเรียนไดเรียนเรื่องนี้แลวสามารถบงชี้ไดถึงลักษณะเดนของดาว เคราะหแตละดวงไดอยางถูกตอง สาระการเรียนรู 1. ความหมายและสวนประกอบของระบบสุริยะ 2. เรื่องของดาวเคราะหในระบบสุริยะจักรวาล
  • 8. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 13 กระบวนการจัดการเรียนรู - ขั้นนํา 1. ครูแนะนําใหนักเรียนใหทราบเบื้องตนวา โลกของเราอยูในระบบสุริยะจักรวาลใด 2. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนชวยกันบอกวาในระบบสุริยะจักรวาลนั้นจะประกอบไป ดวยสิ่งใดบาง - ขั้นสอน 1. ครูใหจัดกลุมใหนักเรียนออกเปน 10 กลุม กลุมละ 4 คน 2. ครูใหนักเรียนเลือกเรียนในศูนยการเรียนตามที่นักเรียนสนใจ แตตองไมซ้ํากัน (กําหนด 1 ศูนยการเรียนตอ 1 กลุม) 3. ครูจะเปนผูกําหนดใหนักเรียนศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ตามแตละศูนย การเรียน โดยใชเวลา ไมเกิน 15 นาที (หรือตามแตจะเห็นสมควร) 4. ในศูนยการเรียน ใหนักเรียนศึกษาจากบัตรคําสั่งเพื่อนําไปสูการปฏิบัติในขั้น ตอไป 5. ในขั้นตอนสุดทายของแตละศูนยการเรียน เมื่อนักเรียนทําบัตรกิจกรรมเสร็จแลว ครูแจกบัตรเฉลยคําตอบใหนักเรียนไดไปตรวจคําตอบ 6. เมื่อนักเรียนตรวจคําตอบเสร็จแลว ครูจะใหผานการทํากิจกรรมในศูนยการเรียน นั้น และอนุญาตใหนักเรียนไปศูนยการเรียนตอไปได 7. เมื่อนักเรียนศึกษาครบทุกศูนยการเรียนรูแลว ครูตองแนะนําใหนักเรียนเก็บ สิ่งของตาง ๆ เขาที่ใหเรียบรอย
  • 9. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 14 - ขั้นสรุป 1. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามขอสงสัย หากไมมีนักเรียนคนใดซักถาม ครูควร สุมนักเรียนใหตอบคําถามงาย ๆ เกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนไปแลว และเมื่อนักเรียนตอบ คําถามไดถูกตองควรใหกําลังใจ ดวยการบอกนักเรียนคนอื่นปรบมือ และครูกลาว คําชมเชย 2. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกถึงสิ่งที่ไดจาการศึกษาในแตละศูนยการเรียน 3. ใหครูสรุปเนื้อหาที่เรียน และกิจกรรมที่ไดฝกปฏิบัติไปแลวอีกครั้งหนึ่ง 4. นักเรียนและครูสรุปความรูที่ไดโดยครูตั้งคําถาม ดังนี้ * ความหมายและสวนประกอบของระบบสุริยะ มีวาอยางไร * นักเรียนไดอะไรจากการศึกษาดาวเคราะหและดวงอาทิตย สื่อการเรียนรู 1. ชุดการสอน จํานวน 1 ชุด (ประกอบดวย 10 ศูนยการเรียน)
  • 10. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 15 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู การวัดผล การประเมินผล 1. ดูจากการอภิปรายรวมกันของ นักเรียนในแตละกลุม 1. นักเรียนสวนใหญรวมอภิปรายและแสดง ความคิดเห็น แสดงพฤติกรรมที่บงบอกถึง การมีมีสวนรวมของตนเองอยางเต็มที่ 2. สังเกตพฤติกรรมการทํางานเปนทีม 2. สมาชิกกลุมมีความรวมมือรวมใจในการทํา กิจกรรมรวมกัน 3. การทําบัตรกิจกรรมตาง ๆ 3. นักเรียนทําใบงานตาง ๆ ไดถูกตองตาม เกณฑ 4. การตอบคําถามที่ครูไดถาม 4. นักเรียนไดตอบคําถามที่ครูไดถามอยาง ถูกตอง แสดงถึงความเขาใจในเนื้อหาที่ได เรียนไปแลว 5. การตรวจผลงานในสมุดบันทึก กิจกรรม 5. ครูตรวจผลงานที่นักเรียนรวมกันทําและให คะแนน 6. แบบประเมิน 6. ใหนักเรียนทําแบบประเมิน กิจกรรมเสนอแนะ กอนสอนครูควรเตรียมอุปกรณ เชน การจัดหองเรียนเพื่อเตรียมเปนศูนยการเรียน วัสดุอุปกรณอื่น ๆ ที่จําเปนใหพรอม ครูควรชี้แจงเกี่ยวกับการทํางานรวมกันเปนกลุมหรือเปน ทีม มีความรวมมือรวมใจในการแสดงความคิดเห็น การแสดงบทบาทหนาที่ที่กลุมกําหนด การชวยเหลือในดานความรูและการอธิบายหรืออภิปราย การยอมรับความคิดเห็นของกลุม มีความรับผิดชอบ การยอมรับความคิดเห็นของกลุม และทายที่สุดเรื่องการและรักษาเวลาใน การทําใบงานแตละชิ้น
  • 12. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 17 -เนื้อหา- ระบบสุริยะจักรวาล ระบบสุริยะ คือ ระบบดาวที่มีดาวฤกษเปน ศูนยกลาง และมีดาวเคราะห (Planet) เปน บริวารโคจรอยูโดยรอบ เมื่อสภาพแวดลอม เอื้ออํานวย ตอการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิตก็จะ เกิดขึ้นบนดาวเคราะหเหลานั้น หรือ บริวารของ ดาวเคราะหเองที่เรียกวาดวงจันทร (Satellite) นักดาราศาสตรเชื่อวา ในบรรดาดาวฤกษ ทั้งหมดกวาแสนลานดวงในกาแลกซี่ทางชางเผือก ตองมีระบบสุริยะที่เอื้ออํานวยชีวิตอยาง ระบบสุริยะที่โลกของเราเปนบริวารอยูอยางแนนอน เพียงแตวาระยะทางไกลมากเกินกวา ความสามารถในการติดตอจะทําไดถึง ที่โลกของเราอยูเปนระบบที่ประกอบดวย ดวงอาทิตย (The sun) เปนศูนยกลาง มีดาว เคราะห (Planets) 9 ดวง ที่เราเรียกกันวา ดาวนพเคราะห ( นพ แปลวา เกา) เรียงตามลําดับ จากในสุดคือ ดาวพุธ ดาวศุกร โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัส ดาวเสาร ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน และยังมีดวงจันทรบริวารของ ดวงเคราะหแตละดวง (Moon of sattelites) ยกเวนเพียง สอง ดวงคือ ดาวพุธ และ ดาวศุกร ที่ไมมีบริวาร ดาวเคราะหนอย (Minor planets) ดาวหาง (Comets) อุกกาบาต (Meteorites) ตลอดจนกลุมฝุนและกาซ ซึ่งเคลื่อนที่อยูในวงโคจร ภายใตอิทธิพลแรงดึงดูด จากดวงอาทิตย ขนาดของระบบสุริยะ กวางใหญไพศาลมาก เมื่อ เทียบระยะทาง ระหวางโลกกับดวงอาทิตย ซึ่งมีระยะทางประมาณ 150 ลานกิโลเมตร
  • 13. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 18 หรือ 1au. (astronomy unit) หนวยดาราศาสตร ระบบสุริยะของเรามีขนาดใหญโตมากเมื่อ เทียบกับโลกที่เราอาศัยอยู แตมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับกาแล็กซีของเราหรือ กาแล็กซีทาง ชางเผือก ระบบสุริยะตั้งอยูในบริเวณ วงแขนของกาแล็กซีทางชางเผือก (Milky Way) ซึ่ง เปรียบเสมือนวง ลอยักษที่หมุนอยูในอวกาศ โดยระบบสุริยะ จะอยูหางจาก จุดศูนยกลางของกาแล็กซีทางชางเผือกประมาณ 30,000 ปแสง ดวงอาทิตย จะใช เวลาประมาณ 225 ลานป ในการเคลื่อน ครบรอบจุดศูนยกลาง ของกาแล็กซี ทางชางเผือก ครบ 1 รอบ นักดาราศาสตรจึงมี ความเห็นรวมกันวา เทหวัตถุทั้ง มวลในระบบสุริยะไมวาจะ เปนดาวเคราะหทุกดวง ดวงจันทรของ ดาวเคราะห ดาวเคราะหนอย ดาวหาง และอุกกาบาต เกิดขึ้นมาพรอมๆกัน มีอายุเทากันตามทฤษฎีจุดกําเนิดของระบบ สุริยะ และจาการนํา เอา หิน จากดวงจันทรมา วิเคราะหการสลายตัว ของสารกัมมันตภาพรังสี ทําใหทราบวาดวง จันทรมี อายุประมาณ 4,600 ลานป ในขณะเดียวกัน นักธรณีวิทยาก็ไดคํานวณ หาอายุของ หินบนผิวโลก จากการสลายตัว ของอตอม อะตอมยูเรเนียม และสารไอโซโทป ของธาตุตะกั่ว ทําใหนักวิทยาศาสตรเชื่อวา โลก ดวงจันทร อุกกาบาต มีอายุประมาณ 4,600 ลานป และ อายุของ ระบบสุริยะ นับตั้งแตเริ่มเกิดจากฝุนละอองกาซ ในอวกาศ จึงมีอายุไมเกิน 5000 ลานป ในบรรดาสมาชิกของระบบสุริยะซึ่งประกอบดวย ดวงอาทิตย ดาวเคราะห ดาวเคราะห นอย ดวงจันทร ของดาวเคราะหดาวหาง อุกกาบาต สะเก็ดดาว รวมทั้งฝุนละองกาซ อีก มากมาย นั้นดวงอาทิตยและดาวเคราะห 9 ดวง จะไดรับความสนใจมากที่สุดจากนักดารา ศาสตร
  • 14. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 19 ดวงอาทิตย (The Sun) ดวงอาทิตยเปนดาวฤกษศูนยกลางของ ระบบสุริยะ เนื้อสารสวนใหญของระบบสุริยะอยูที่ ดวงอาทิตย คือ มีมากถึง 99.87% ดวงอาทิตย สรางพลังงานขึ้นมาเองโดยการเปลี่ยนเนื้อสาร เปนพลังงานตามสมการของไอนสไตน E = mc2 (E คือพลังงาน, m คือ เนื้อสาร, และ c คือ อัตราเร็วของแสงสวางในอวกาศซึ่งมีคาประมาณ 300,000 กิโลเมตรตอวินาที) บริเวณที่เนื้อสาร กลายเปนพลังงาน คือ แกนกลางซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 15 ลานองศาเซลเซียส ณ แกนกลางของ ดวงอาทิตยมีระเบิดไฮโดรเจนจํานวนมาก กําลังระเบิดเปนปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียรที่ผิวของ ดวงอาทิตยมีอุณหภูมิประมาณ 5,700 องศาเซลเซียส หรือประมาณ 6,000 เคลวิน ดวง อาทิตยจึงถูกจัดเปนดาวฤกษสีเหลือง มีอายุประมาณ 5,000 ลานป เปนดาวฤกษหลัก อยู ในชวงกลางของชีวิต ในอีก 5,000 ลานป ดวงอาทิตยจะจบ ชีวิตลงดวยการขยายตัวแตจะไม ระเบิด เพราะแรงโนมถวงมีมากกวาแรงดัน ในที่สุด ดวงอาทิตยจะยุบตัวลงอยางสงบ กลายเปนดาวขนาดเล็ก เรียกวา ดาวแคระขาว การถายทอดพลังงานจากแกนกลางสูผิวตอง ผานชั้นที่อยูเหนือแกนกลางที่ เรียกวา แถบการแผรังสี ซึ่งเปนแถบที่กวางไกลมากเหนือแถบ การแผรังสีคือ แถบการพา โดยการหมุนเวียนของกาซรอน จุดบนดวงอาทิตย ผิวของดวง อาทิตยที่เราสังเกตไดเรียกวา โฟโทสเฟยร ความรอนและแสงสวาง ตลอดทั้งพลังงานในชวง คลื่นอื่น ๆ แผกระจายจากดวงอาทิตยสูอวกาศ โดยการแผรังสีบนผิวระดับโฟโทสเฟยรมี บริเวณที่อุณหภูมิต่ํากวาขางเคียง จนสังเกตเห็นเปน จุดดํา เรียกวา จุดบนดวงอาทิตย จุด เหลานี้ไมใชลักษณะที่มีอยูอยางถาวร เกิดแลว มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางและขนาดเปนกลุม จุด (spot groups)
  • 15. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 20 จุดบนดวงอาทิตยมีประโยชนในการวัดอัตราการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย ซึ่ง พบวามีคาบ 27.3 วัน (อัตราการหมุนรอบตัวเอง ณ บริเวณเสนศูนยสูตรของดวงอาทิตยยาว 24.6 วันตอรอบนักดาราศาสตรชาวอังกฤษไดตรวจสอบขอมูลเกา ๆ เกี่ยวกับจุดบนดวง อาทิตย และพบวาระหวางป พ.ศ. 2188-2258 เปนชวงที่ดวงอาทิตยไมคอยมีจุดเลย จึงไมมี ปซึ่งมีจุดมากและปซึ่งมีจุดนอย การศึกษาตอมาทําใหเชื่อวา ชวงเวลาดังกลาว ดวงอาทิตยมี บรรยากาศที่เรียกวา คอโรนา นอยหรือไมมีเลย ดาวพุธ (Mercury) ดาวพุธเปนดาวเคราะหดวงที่อยูใกล ดวงอาทิตยที่สุด จึงเคลื่อนรอบดวงอาทิตยเร็ว ที่สุด โดยใชเวลาเพียง 87.969 วันในการโคจร รอบดวงอาทิตย 1 รอบ ดาวพุธหมุนรอบตัวเอง ในทิศทางเดียว กับการเคลื่อนรอบดวงอาทิตย คือ จากทิศตะวันตกไป ทิศตะวันออก หมุนรอบ ตัวเองรอบละ 58.6461 วัน เมื่อพิจารณาจาก คาบของการหมุนรอบตัวเอง และการคาบการ เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย จะพบวาระยะเวลา กลางวัน ถึงกลางคืนบนดาวพุธยาวนานถึง 176 วัน ซึ่งยาวนานที่สุดในระบบสุริยะอุณหภูมิที่ ผิวของดาวพุธชวงที่อยูใกลดวงอาทิตย ที่สูงสุดถึง 700 เคลวิน (ประมาณ 427 องศา เซลเซียส) สูงพอที่จะละลายสังกะสีได แตในเวลากลางคืนอุณหภูมิลดต่ําลงเปน 50 เคลวิน (-183 องศาเซลเซียส) ต่ําพอที่จะทําใหกาซ คริปตอนแข็งตัว การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิบน พื้นผิวดาวพุธจึงรุนแรง คือรอนจัดในเวลากลางวันและเย็นจัดในเวลากลางคืนทั้งนี้เพราะไมมี บรรยากาศที่จะดูดกลืนความรอนอยางเชนโลก
  • 16. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 21 ปจจุบันนักดาราศาสตรพบรองรอยของบรรยากาศ และพบน้ําแข็งบริเวณขั้ว ซึ่งอาจ เกิดจากการชนของดาวหางบนดาวพุธ และอาจเปนผูกอกําเนิด ออกซิเจน และไฮโดรเจนบน ดาวพุธ ปรากฏการณบนฟาเกี่ยวกับดาวพุธ เห็นอยูใกลขอบฟาเสมอ สาเหตุเปนเพราะวง โคจรของดาวพุธเล็กกวา วงโคจรของโลก ดาวพุธจึงปรากฏหางจากดวงอาทิตยไดอยางมาก ไมเกิน 28 องศา นั่นหมายความวา ถาอยูทางทิศตะวันออกของดวงอาทิตย จะเห็นทางทิศ ตะวันตกในเวลาหัวค่ํา แตถาอยูทางตะวันตกของดวงอาทิตย จะขึ้นกอนดวงอาทิตย จึงเห็น ทางทิศตะวันออกในเวลารุงอรุณ และเห็นเปนเสี้ยวในกลองโทรทรรศน เนื่องจากดาวพุธไม หันดานสวางทั้งหมดมาทางโลก แตจะหันดานสวางเพียงบางสวนคลายดวงจันทรขางขึ้นหรือขางแรม หันดานสวางมาทางโลก ถาดาวพุธหันดานสวางทั้งหมดมาทางโลก เราจะมองไมเห็น เพราะดาวพุธอยูไปทางเดียวกัน กับดวงอาทิตย เห็นเปนจุดดําเล็กๆ บนพื้นผิวดวงอาทิตย ดาวศุกร (Venus) ดาวศุกรเปนดาวเคราะหที่อยูหางดวง อาทิตยเปนลําดับที่ 2 มีขนาดเล็กกวาโลก เล็กนอย จึงไดชื่อวาเปนดาวฝาแฝดกับโลก เปน ดาวเคราะหที่ปรากฏสวางที่สุด สวางรองจาก ดวงอาทิตยและดวงจันทร ถาเห็นทางทิศ ตะวันตกในเวลาค่ําเรียกวา ดาวประจําเมือง และถาเห็นทางทิศตะวันออกในเวลากอน
  • 17. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 22 รุงอรุณ เรียกวา ดาวประกายพรึก ดาวศุกรเปนดาวเคราะหที่เกิดปรากฏการณเรือนกระจก อยางรุนแรง เพราะมีบรรยากาศหนาทึบดวยคารบอนไดออกไซด ดาวศุกรจึงรอนมาก อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยสูงกวาดาวพุธลักษณะพิเศษของดาวศุกรคือ หมุนรอบตัวเอง 1 รอบใช เวลานานกวาการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย 1 รอบ และถาเราอยูบนดาวศุกรเวลา 1 วัน จะไม ยาวเทากับเวลาที่ดาวศุกรหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ นี่คือลักษณะพิเศษที่ดาวศุกรไมเหมือนดาว เคราะหดวงใดๆ นอกจากนี้ดาวศุกรยังหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือหมุนจากทิศตะวันออกไปทิศ ตะวันตก ในขณะที่เคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ดาวศุกรจึงหมุน สวนทางกับดาวเคราะหดวงอื่น และหมุนสวนทางกับการเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย ดาวศุกร หมุนรอบตัวเองรอบละ 243 วัน แต 1 วันของดาวศุกรยาวนานเทากับ 117 วันของโลก เพราะ ตั้งแตดวงอาทิตยขึ้นจนถึงดวงอาทิตยตกยาวนาน 58.5 วันของโลก ดาวศุกรเคลื่อนรอบดวง อาทิตยรอบละ 225 วัน 1 ปของดาวศุกรจึงยาวนาน 225 วันของโลก ดาวศุกรเปนดาวเคราะหที่เกิดปรากฏการณเรือนกระจกบนพื้นผิวรุนแรงมาก ทั้งนี้ เพราะดาวศุกรมีกาซที่ชวยดูดกลืนความรอนจากดวงอาทิตยไดมาก และ มีปริมาณสูง กาซ ดังกลาวคือ คารบอนไดออกไซด นอกจากนี้ยังมีไอของกรดกํามะถันทําใหดาวศุกรรอนทั้ง กลางวันและกลางคืน ตอนกลางวันอุณหภูมิสูงถึง 477 องศาเซลเซียส บนพื้นผิวดาวศุกรมี รองลึกคลายทางน้ําไหล แตเปนรองที่เกิดจากการไหลของลาวาภูเขาไฟ ไมใชเกิดจากน้ํา อยางเชนบนโลกการสํารวจดาวศุกรโดยยานอวกาศ ยานอวกาศลําแรกที่ถายภาพเมฆดาว ศุกรได คือยานอวกาศของสหรัฐอเมริกา ชื่อยานมารีเนอร 10 เมื่อ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2517 ยานอวกาศลําแรกที่ไดถายภาพพื้นผิวดาวศุกรได คือยานอวกาศเวเนรา 9 ของรัสเซีย ซึ่งลง สัมผัสพื้นผิวของดาวศุกรเมื่อ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2518
  • 18. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 23 โลก (Earth) โลกหมุนรอบดวงอาทิตยเปนวงโคจรซึ่งใช เวลา 365 1/4 วัน เพื่อใหครบ 1 รอบ ปฏิทินแตละป มี 365 วัน ซึ่งหมายความวาจะมี 1/4 ของวันที่เหลือ ในแตละป ซึ่งทุกๆปสี่ปจะมีวันพิเศษ คือจะมี 366 วัน กลาวคือเดือนกุมภาพันธจะมี 29 วัน แทนที่จะมี 28 วันเหมือนปกติ ตามที่เคปเลอรคนพบวงโคจร ของโลกไมเปนวงกลม ในเดือนธันวาคมมันจะอยู ใกลดวงอาทิตยมากกวาเดือนมิถุนายน ซึ่งมันจะอยู หางไกลจากดวงอาทิตยมากที่สุด โลกจะเอียงไปตามเสนแกน ในเดือนมิถุนายน ซีกโลกเหนือ จะเอียงไปทางดวงอาทิตยดังนั้น ซีกโลกเหนือจะเปนฤดูรอนและซีกโลกใตจะเปนฤดูหนาว ใน เดือนธันวาคมจะเอียงจากดวงอาทิตย ทําใหซีกโลกเหนือเปนฤดูหนาวและซีกโลกใตเปนฤดู รอน ในเดือนมีนาคมและกันยายน ซีกโลกทั้งสองไมเอียงไปยังดวงอาทิตย กลางวันและ กลางคืนจึงมีความยาวเทากัน ในเดือนมีนาคม ซีกโลกเหนือจะเปนฤดูใบไมผลิ และซีกโลกใต เปนฤดูใบไมรวง ในเดือนกันยายน สถานการณจะกลับกัน ดาวเคราะหดวงอื่นๆ จะมีฤดูกาลเปนของตนเองและระยะของการโคจร ความยาว ของปดาวเคราะหเปนเวลาที่มันหมุนรอบดวงอาทิตยหนึ่งรอบ ถาคุณอยูบนดาวพุธ ปของคุณ จะมีเพียง 88 วันของโลก บนดาวพลูโต ซึ่งเปนดาวเคราะหที่อยูนอกสุดหนึ่งปจะเทากับ 24 วันบนโลก ขอมูลเกี่ยวกับโลก โลกมีอายุประมาณ 4,700 ป โลกไมไดมีรูปรางกลมโดยสิ้นเชิง เสนรอบวงที่เสนศูนย สูตรยาว 40,077 กิโลเมตร (24,903 ไมล) และที่ขั้วโลกยาว 40,009 กิโลเมตร (24,861 ไมล)
  • 19. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 24 ดวงจันทรเปนบริวารของโลก โคจรรอบโลกทุกๆ 27 วัน 8 ชั่งโมง และขณะเดียวกันก็หมุนรอบแกนตัวเองไดครบ หนึ่งรอบพอดีดวย ทําใหเรามองเห็นดวงจันทรดานเดียว ไมวาจะมองจากสวนไหนของโลก สวนอีกครึ่งหนึ่ง มนุษยเพิ่งจะไดเห็นภาพ เมื่อสามารถสงยานอวกาศไปในอวกาศได บน พื้นผิวดวงจันทรรอนมากในบริเวณที่ถูกแสงอาทิตย และเย็นจัดในบริเวณเงามืด ที่พื้นผิวของ ดวงจันทรมีปลองหลุมมากมาย เปนหมื่นๆหลุม ตั้งแตหลุมเล็กไปจนถึงหลุมใหญมีภูเขาไฟ และทะเลทรายแหงแลง ขอมูลที่นาสนใจเกี่ยวกับดวงจันทร เสนผาศูนยกลาง 3,476 กิโลเมตร มวล 0.012 เทาของโลก ความหนาแนน 3.3 เทาของน้ํา ระยะหางจากโลกโดยเฉลี่ย 384,400 กิโลเมตร ระยะที่อยูใกลที่สุด 365,400 กิโลเมตร ระยะหางมากที่สุด 406,700 กิโลเมตร เวลาหมุนรอบตัวเอง 27.32 วัน (นับแบบดาราคติ) เวลาหมุนรอบโลก 29.53 วัน (นับแบบจันทรคติ) เอียงทํามุมกับเสนอีคลิปติค 5 องศา เอียงทํามุมกับแกนตัวเอง 6 1/2 องศา วัฏจักรของดวงจันทร
  • 20. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 25 เราทราบแลววา ถานับเดือนทางจันทรคติ แลวดวงจันทรจะโคจรรอบโลกหนึ่งรอบ กินเวลา 29 1/2 วัน ถาเรานับจุดเริ่มตนของดวงจันทรที่วันเดือนดับ (New moon) เปนชวงที่ ดวงจันทร อยูเปนเสนตรงระหวางโลกกับดวงอาทิตย ทําใหดวงจันทรทึบแสง คนบนโลกจึง มองไมเห็นดวงจันทร แลวก็เปนวันขางขึ้นทีละนอย เราจะเห็นดวงจันทรสวางเปนเสี้ยวทาง ขอบฟาตะวันตก และจะเห็นดวงจันทรขึ้นสูงจากขอบฟาทิศตะวันตก ไปทางทิศตะวันออก พรอมกับมีเสี้ยวสวางมากขึ้น พอถึงชวงวันขึ้น 7-8 ค่ํา ดวงจันทรจะสวางครึ่งซีกอยูตรงกลาง ทองฟาพอดี (Quarter) วันตอมาจะเพิ่มเสี้ยวสวางเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั่งวันขึ้น 14-15 ค่ํา ดวงจันทรจะมาอยูตรงเสน ระหวางดวงอาทิตยและโลก ทําใหดวงจันทรเกิดสวางเต็มดวง (Full moon) หลังจากนั้นดวงจันทรกลายเปนขางแรม ดวงจันทรจะขึ้นชาไปเรื่อยๆ จนหายไป ในทองฟาจะเห็นเดือนดับ แลวก็เริ่มตนใหม เปนเชนนี้ไปเรื่อยๆ การเกิดขางขึ้นขางแรม เนื่องจากดวงจันทรโคจรรอบโลก 1 รอบ เทากับมันโคจรรอบตัวเอง 1 รอบพอดี ซึ่งใชเวลา ประมาณ 1 เดือน ดังนั้นเราจึงเห็นดวงจันทรเพียงซีกเดียวตลอดเวลา ดาวอังคาร (Mars) ดาวอังคารเปนดาวเคราะหที่อยูหางจาก ดวงอาทิตยเปนอันดับที่ 4 ในบรรดาดาวเคราะห ทั้งหมด ดาวอังคารมีขนาดเสนผานศูนยกลาง ประมาณ 0.5 เทาของโลก ดาวอังคารมีโครงสราง ภายในประกอบดวย แกนกลางที่เปนของแข็ง มีรัศมี ประมาณ 1,700 กิโลเมตร หอหุมดวยชั้นแมนเทิลที่ เปนหินเหลวหนืด หนาประมาณ 1,600 กิโลเมตร และมีเปลือกแข็ง เชนเดียวกับโลก
  • 21. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 26 เราสังเกตเห็นดาวอังคารเปนสีแดง เพราะมีพื้นผิวที่ประกอบไปดวยออกไซดของ เหล็ก หรือ สนิมเหล็กนั่นเอง พื้นผิวดาวอังคารเต็มไปดวย หุบเหวตางๆ มากมาย หุบเหว ขนาดใหญชื่อ หุบเหวมาริเนอริส มีความยาวถึง 4,000 กิโลเมตร กวาง 600 กิโลเมตร และลึก 8 กิโลเมตร นอกจากนี้ดาวอังคารยังมีภูเขาไฟที่สูงที่สุดในระบบสุริยะชื่อ ภูเขาไฟโอลิมปส ที่ มีความสูงถึง 25 กิโลเมตร และมีฐานที่แผออกไปเปนรัศมี 300 กิโลเมตร ดาวอังคารมีบรรยากาศที่เบาบางมาก ประกอบดวยคารบอนไดออกไซดเปนสวน ใหญ กาซเหลานี้เกิดจาก การระเหิดของน้ําแข็งแหง (คารบอนไดออกไซดแข็ง) ที่ปกคลุมอยู ทั่วไปบนพื้นผิวดาวอังคาร โดยเฉพาะที่บริเวณขั้วเหนือและขั้วใตของดาว มีน้ําแข็งปกคลุมอยู ตลอดเวลา ดาวอังคารเปนดาวเคราะหที่เปนที่ชื่นชอบของผูแตงนิยายวิทยาศาสตร ตั้งแตเมื่อ หลายสิบปที่ผานมา เมื่อเริ่มมีการสังเกตดาวอังคารผานกลองโทรทรรศน และพบรูปราง พื้นผิวที่คลายกับคลองสงน้ําของมนุษยดาวอังคาร (ถามีสิ่งมีชีวิตอยูจริงบนดาวอังคาร) แต หลังจากที่องคการนาซาไดสงยานไปสํารวจดาวอังคารอยางตอเนื่อง ทําใหเราทราบวา ลักษณะดังกลาวเปนเพียงรองรอยที่เกิดขึ้นในธรรมชาติดาวอังคารมีบริวารขนาดเล็ก 2 ดวง มีชื่อวา โฟบัส และดีมอส ดวงจันทรทั้งสองดวงมีรูปราง ไมสมมาตร และมีขนาดเล็กกวา 25 กิโลเมตร นักดาราศาสตรจึงสันนิษฐานวา อาจเปนวัตถุในแถบดาวเคราะหนอยที่ถูกแรงโนม ถวงของดาวอังคาร ดึงดูดใหโคจรรอบ โครงสรางของดาวอังคาร ดาวอังคารเปนดาวเคราะหที่มีเนื้อแข็ง (solid planet) มีแกน (core) ที่มีลักษณะ เปนโลหะ ปกคลุมดวยเนื้อดาว (mantle) ที่มีลักษณะเปนหิน 1 ชั้น และมีเปลือก ชั้นนอก (outer crust) อยูอีกชั้นหนึ่ง ดาวอังคารมีทะเลทรายกวางใหญไพศาลมากมายที่ ดาษดาดวยทรายและหินตาง ๆ ที่มีสีคอนขางแดง มีภูเขาไฟที่สูงกวายอดเขาเอเวอเรสต
  • 22. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 27 (Mount Everest) หลายเทาอยูหลายลูก มีหุบเขาขนาดมหิมาที่เกิดจาการแปรสันฐานทาง ธรณีวิทยา มีหลุมภูเขาไฟ (volcanic craters) และหลุมขนาดเล็กที่เกิดขึ้นจากการกระแทก ของลูกอุกาบาตตาง ๆ ดวย ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) ดาวพฤหัสบดี เปนเทหวัตถุที่มีความ สวางมากเปนอันดับที่ 4 ของทองฟา (รองจาก ดวงอาทิตย ดวงจันทร และ ดาวศุกร แต บางครั้ง ดาวอังคาร อาจสวางกวา) และเปนที่ รูจักกันมาตั้งแตยุคกอนประวัติศาสตร การ คนพบดวงจันทรบริวารทั้งสี่ของกาลิเลโอ อัน ไดแก ไอโอ ยูโรปา แกนีมีด และ คัลลิสโต ดวง จันทรทั้งสี่ดวงจึงไดชื่อวาเปน "ดวงจันทรกาลิเลียน" (Galilean moons) ดาวพฤหัสบดีเปนดาวเคราะหกาซ โดยที่ไมมีพื้นผิวเปนของแข็ง แตเต็มไปดวยกาซ ซึ่งมีความหนาแนนสูง กดทับกันลึกลงไป เมื่อเรามองดูดาวเคราะหเหลานี้ สิ่งที่เรามองเห็นคือ บรรยากาศชั้นยอดเมฆ (ซึ่งมีความหนาแนนเบาบางกวา 1 หนวยบรรยากาศ) จุดแดงใหญ เปนที่รูจักมานานกวา 300 ป จุดแดงใหญมีรูปวงรี แผออกไปเปนบริเวณกวางถึง 25,000 กิโลเมตร ใหญพอที่จะบรรจุโลกได 2 ใบ จุดแดงใหญนี้เปนพายุที่เกิดขึ้นในชั้นบรรยากาศของ ดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีอายุมากกวา 300 ป และยังไมทราบวาพายุนี้จะจางหายไปเมื่อไร
  • 23. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 28 วงแหวนของดาวพฤหัสบดี จากการสํารวจของยานวอยเอเจอร 1 ทําใหเราทราบวาดาวพฤหัสบดีมีวงแหวน เชนเดียวกับดาวเสาร แตมีขนาดเล็ก และบางกวามาก ประกอบไปดวยเศษหินและฝุนที่มี ขนาดเล็ก และไมมีน้ําแข็งเปนองคประกอบ จึงทําใหมันไมสวางมากนัก (หินและฝุนสะทอน แสงอาทิตยไดไมดีเทากับน้ําแข็ง) ดวงจันทรบริวารหลักของดาวพฤหัสบดี ปจจุบันพบวาดาวพฤหัสมีดวงจันทรอยูอยางนอย 39 ดวง แตมีเพียง 4 ดวง ที่เปนดวง จันทรขนาดใหญ และมีรูปรางเปนทรงกลม ไดแก ไอโอ ยุโรปา แกนีมีด และคัลลิสโต ดวง จันทรไอโอและยุโรปาเปนดวงจันทรที่มีอายุนอยและมีหลุมอุกกาบาตอยูไมมากนัก โดยเฉพาะดวงจันทรไอโอที่ยังมีการครุกรุนของภูเขาไฟอยูที่พื้นผิว สวนดวงจันทรแกนีมีดและ คัลลิสโตนั้น เปนดวงจันทรที่มีขนาดใหญและมีอายุมากกวา มีพื้นผิวที่เต็มไปดวยหลุม อุกกาบาตอยูมากมาย โครงสรางดาวพฤหัสบดี ภายในของดาวเคราะหนี้ประกอบดวยแกน (core) ที่เปนกอนหินเล็ก หุมโดยรอบดวย แกนอีกอันหนึ่งที่ใหญกวาซึ่งเปนไฮโดรเจนที่แข็งเหมือนโลหะ (metallic hydrogen) ถัด ออกมาเปนชั้นของไฮโดรเจนเหลว (liquid hydrogen) และนอกสุดเปนกาซตาง ๆ ที่ประกอบ กันเปนชั้นบรรยากาศ (atmosphere) ที่คอนขางจางมาก สวนประกอบโดยรวมของดาว พฤหัสบดีมีดังนี้ รอยละ 90 เปนไฮโดรเจน รอยละ 5 เปนฮีเลียม รอยละ 3 เปนมีเทนกับ แอมโมเนีย และที่เหลือเปนสารประกอบทางเคมีชนิดตาง ๆ บรรยากาศประกอบขึ้นดวยชั้น หมูเมฆที่หนาแนนมากซึ่งกอใหเกิดแถบหลายแถบ (band) ที่มีสีจางและสีเขมอันเปน ลักษณะเฉพาะขึ้น
  • 24. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 29 ดาวเสาร (Saturn) ดาวเสารเปนดาวเคราะหที่รูจักกันมา ตั้งแตกอนยุคประวัติศาสตร กาลิเลโอไดใช กลองสองทางไกล สังเกตดาวเสารเปนครั้งแรก เมื่อป พ.ศ. 2153 และพบลักษณะที่เปนวงรี คลายกับเปนดาวเคราะหที่มีหูสองขาง จนกระทั่งในป พ.ศ.2202 คริสเตียน ฮอยเกนส พบวาเปนวงแหวนของดาวเสาร เปนที่เชื่อกันวาดาวเสารเปนดาวเคราะหเพียงดวงเดียว ใน ระบบสุริยะ ที่มีวงแหวน จนกระทั่งเมื่อไมกี่สิบปมานี้เอง ที่ไดมีการคนพบวงแหวนบางๆ รอบ ดาวยูเรนัส ดาวพฤหัสบดี และดาวเนปจูนโครงสรางภายในของดาวเสาร มีลักษณะ คลายคลึงกับของดาวพฤหัสบดี ซึ่งมีแกนกลางที่เปนหินแข็ง หอหุมดวยแมนเทิลชั้นใน ที่เปน โลหะไฮโดรเจน และแมนเทิลชั้นนอกที่เปน ไฮโดรเจน และฮีเลียมเหลวแถบที่มีความเขม ตางๆ กันที่ปรากฏบนดาวเสาร เกิดจากการหมุนรอบตัวเองที่เร็วมากของดาว ทําใหเกิดการ หมุนวนของชั้นบรรยากาศ ที่มีอุณหภูมิแตกตางกัน จึงปรากฏเปนแถบเขมและจาง สลับกัน วงแหวนดาวเสาร จากภาพวงแหวนดาวเสาร ดูคลายกับวาจะมีลักษณะเปนแผน แทที่จริงแลว ประกอบดวยอนุภาคจํานวนมหาศาล ซึ่งมีวงโคจรอิสระ และมีขนาดตั้งแตเซนติเมตร ไปจน หลายรอยเมตร สวนใหญจะประกอบดวยน้ําแข็ง ปะปนอยูกับเศษหินเคลือบน้ําแข็ง วงแหวน ของดาวเสารนั้นบางมาก แมจะมีขนาดเสนผานศูนยกลางยาวถึง 250,000 กิโลเมตร แตมี ความหนาไมถึง 1.5 กิโลเมตร วงแหวนแตละชั้นมีชื่อเรียกตามอักษรภาษาอังกฤษ เชน วง แหวนสวาง (A และ B) และวงสลัว (C) สามารถมองเห็นไดจากโลก ชองระหวางวงแหวน A และ B รูจักในนาม "ชองแคบแคสสินี" (Cassini division ) เรายังไมทราบถึง ตนกําเนิดของ
  • 25. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 30 วงแหวนดาวเสาร และบริวารเล็กๆ แมวาจะมีวงแหวนมาตั้งแตการฟอรมตัว ของดาวเคราะห ในยุคเริ่มแรก แตระบบของวงแหวนขาดเสถียรภาพ และเปลี่ยนแปลงไปตามกระบวนการ รอบๆ ขาง บางทีมันอาจกําเนิดจากการแตกสลายของบริวารที่มีขนาดใหญกวา ดวงจันทรบริวารของดาวเสาร ดาวเสารมีดวงจันทรบริวารอยางนอย 30 ดวง ดวงจันทรบริวารที่มีขนาดใหญที่สุด คือ "ไททัน" (Titan) มีขนาดใหญหวาดาวพุธ ไททันมีชั้นบรรยากาศที่ประกอบดวย กาซ ไนโตรเจนเปนสวนใหญ คลายคลึงกับชั้นบรรยากาศของโลก ดังนั้นนักดาราศาสตรจึงสนใจที่ จะศึกษาดวงจันทรไททันอยางละเอียด เพื่อที่จะไดนํามาเปรียบเทียบกับโลก ดวงจันทรบริวารที่มีขนาดรองจากไททันไดแก รี ดิโอนี ไออาเพตุส เททิส เอนเซลาดุส และ มิมาส ซึ่งสวนใหญประกอบดวย น้ําแข็งและมีหินผสมอยูเล็กนอย โครงสรางของดาวเสาร ดาวเคราะหดวงนี้ประกอบดวยแกน (core) ที่เปนกอนหินเล็ก ซึ่งมีขนาดใหญกวา แกนของดาวพฤหัสบดี ถัดออกมาเปนชั้นของไอโดรเจนที่แข็งเหมือนโลหะ (metallic hydrogen) ถัดออกมาเปนชั้นของไฮโดรเจนเชิงโมเลกุลที่เปนของเหลว (liquid molacular hydrogen) อีกชั้นหนึ่งรอยละ 94 ของดาวเคราะหดวงนี้เปนไฮโดรเจน และกวารอยละ 5 เล็กนอยเปนฮีเลียม สวนที่เหลือเปนธาตุและสารประกอบตาง ๆ ทางเคมีในปริมาณที่นอย มาก ที่พื้นผิวของดาวเสารมีพายุใหญเกิดขึ้น ซึ่งหลายลูกมีความเร็วลมถึง 1,100 ไมล (1,800 กิโลเมตรตอชั่วโมง)
  • 26. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 31 ดาวยูเรนัส (Uranus) ยูเรนัสเปนดาวเคราะหดวงแรกซึ่งถูก คนพบในยุคใหม โดย วิลเลี่ยม เฮอสเชล เมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ.2324 ยานวอยเอเจอร 2 เปน ยานอวกาศลําแรกที่ไปสํารวจดาวยูเรนัส ในป พ.ศ. 2529 องคประกอบหลักของดาวยูเรนัสเปน หินและ น้ําแข็ง หลากหลายชนิด มีไฮโดรเจน เพียง 15% กับฮีเลียมอีกเล็กนอย (ไมเหมือนกับ ดาวพฤหัสบดีและ ดาวเสาร ซึ่งมีไฮโดรเจนเปนสวนใหญ) แกนของดาวยูเรนัสและเนปจูน มี ลักษณะที่คลายคลึงกับแกนของดาวพฤหัสบดีและดาวเสารคือ หอหุมดวย โลหะไฮโดรเจน เหลว แตแกนของดาวยูเรนัสไมมีแกนหิน ดังเชน ดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร บรรยากาศของดาวยูเรนัสประกอบดวยไฮโดรเจน 83%, ฮีเลียม 15% และมีเทน 2% เนื่องจากกาซมีเทนในบรรยากาศชั้นบน ดูดกลืนแสงสีแดง และสะทอนแสงสีน้ําเงิน ดาว ยูเรนัสจึงปรากฏเปนสีน้ําเงิน บรรยากาศของดาวยูเรนัส อาจจะมีแถบสีดังเชนดาวพฤหัสบดี เชนเดียวกับดาวกาซดวงอื่น แถบเมฆของดาวยูเรนัสเคลื่อนที่เร็วมากดาวเคราะหสวนใหญมี แกนหมุนรอบตัวเองคอนขางจะตั้งฉากกับระนาบสุริยะวิถี แตแกนหมุนรอบตัวเองของดาว ยูเรนัส กลับเกือบขนานกับสุริยะวิถี ในชวงที่ยานวอยเอเจอรเดินทางไปถึง ยูเรนัสกําลังหันขั้ว ใตชี้ไปยังดวงอาทิตย เปนผลใหบริเวณขั้วใตไดรับพลังงานจากดวงอาทิตย มากกวาบริเวณ เสนศูนยสูตร อุณหภูมิบนดาวยูเรนัสมีลักษณะตรงกันขามกับดาวเคราะหดวงอื่น กลาวคือ อุณหภูมิบริเวณขั้วดาวจะสูงกวาบริเวณเสนศูนยสูตรเสมอ
  • 27. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 32 วงแหวน ดาวยูเรนัสมีวงแหวนเชนเดียวกับดาวเคราะหกาซดวงอื่นๆ วงแหวนของดาวยูเรนัสมี ความสวางไมมากนัก เชนเดียวกับวงแหวนของดาวพฤหัสบดี เพราะประกอบดวยอนุภาคซึ่ง มีขนาดเล็กมากดังฝุนผง ไปจนใหญถึง 10 เมตร ดาวยูเรนัสนับเปนดาวเคราะหดวงแรก ที่ถูก คนพบวามีวงแหวนลอมรอบ เชนเดียวกับดาวเสาร ซึ่งเปนการคนพบที่สําคัญ ที่ทําใหเรา ทราบวา ดาวเคราะหกาซทุกดวงจะมีวงแหวนลอมรอบอยู มิใชเพียงเฉพาะดาวเสารเทานั้น ดวงจันทรบริวาร ดาวยูเรนัสมีดวงจันทรบริวาร ซึ่งประกอบไปดวยดวงจันทรขนาดใหญอยูหลายดวง อัน ไดแก มิรันดา แอเรียล อัมเบรียล ไททาเนีย และ โอเบรอน ดาวเนปจูน (Neptune) ดาวเนปจูนถูกคนพบ หลังจากการ คนพบดาวยูเรนัส โดยนักดาราศาสตรพบวาวง โคจรของดาวยูเรนัสมิไดเปนไปตามกฏของนิว ตัน จึงทําใหเกิดการพยากรณวา จะตองมีดาว เคราะหอีกดวงหนึ่งที่อยูไกลถัดออกไป มารบกวนวงโคจรของดาวยูเรนัส เนปจูนถูก เยี่ยมเยือนโดยยานอวกาศเพียงลําเดียวคือ วอยเอเจอร 2 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.2532, เกือบทุกอยางที่เรารูเกี่ยวกับดาวเนปจูน มา จากการเยี่ยมเยือนในครั้งนี้ เนื่องจากวงโคจรของ ดาวพลูโต เปนวงรีมาก ในบางครั้งมันจะ ตัดกับวงโคจรของเนปจูน ทําใหเนปจูนเปนดาวเคราะหซึ่งอยูไกลที่สุดในบางป ดาวเนปจูนมีองคประกอบคลายคลึงกับดาวยูเรนัส เชน รูปแบบของน้ําแข็ง มีไฮโดรเจน 15%
  • 28. >> คูมือการใชชุดการสอน เรื่องระบบสุริยะจักรวาล 33 และฮีเลียมจํานวนเล็กนอย ดาวเนปจูนแตกตางกับดาวพฤหัสบดี และดาวเสาร ตรงที่ไมมี การแบงชั้นภายในที่ชัดเจน เรารูเพียงวามีแกนกลางที่มีขนาดเล็ก (มีมวลประมาณเทาโลก) ดาวเนปจูนเปนดาวเคราะหสีน้ําเงินเชนเดียวกับดาวยูเรนัส เพราะในชั้นบรรยากาศมีกาซ มีเทน เปนองคประกอบอยูดวย วงแหวน ดาวเนปจูนมีวงแหวน 4 วง และมีความสวางไมมากนัก เพราะประกอบดวยอนุภาค ที่เปนผงฝุนขนาดเล็ก จนถึงขนาดประมาณ 10 เมตร เชนเดียวกับวงแหวนของดาวพฤหัสและ ดาวยูเรนัส ภาพถายจากยานวอยเอเจอรแสดงใหเห็นถึงวงแหวนหลัก 2 วง และวงแหวน บางๆ อยูระหวางวงแหวนทั้งสอง ดวงจันทรบริวาร ดาวเนปจูนมีดวงจันทรบริวารที่คนพบแลว 8 ดวง โดยมีดวงจันทรชื่อ "ทายตัน" (Triton) เปนบริวารที่มีขนาดใหญที่สุด ในบรรดาดวงจันทรบริวารทั้ง 8 ดวง ทายตันมีวงโคจรที่สวน ทางกับการหมุนรอบตัวเองของดาวเนปจูน นักดาราศาสตรคาดวา ทายตันจะโคจรเขาใกล ดาวเนปจูนเรื่อยๆ และพุงเขาชนดาวเนปจูนในที่สุด (อาจใชเวลาถึงเกือบ 100 ลานป) - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -