SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 54
Baixar para ler offline
ปัจจุบันมนุษย์ฝากวิถีการดาเนินชีวิตไว้กับระบบ
คอมพิวเตอร์มากขึ้น ทั้งนี้ก็เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการ
ให้บริการกับประชาชนจานวนมากได้อย่างเพียงพอ คอมพิวเตอร์
จึงถือเป็นเครื่องมือในการเข้าถึงข้อมูล และใช้งานเพื่อคัดกรอง
เฉพาะข้อมูลที่ต้องการมาใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ
2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
3
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
ความเป็นอัตโนมัติ (Self-Acting) การทางานของคอมพิวเตอร์จะทางาน
แบบอัตโนมัติภายใต้คาสั่งที่ได้ถูกกาหนดไว้
ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล
(Processing Speed) ความเร็วของการประมวลผลอาจแปรผันตาม
ลักษณะเฉพาะของข้อมูล
ความเชื่อถือ (Reliable) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผล
ให้มีความถูกต้อง ซึ่งความเชื่อถือนับเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในการ
ทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์
ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์นั้นจะให้ผลของการ
คานวณที่ถูกต้องเสมอ
1.
2.
3.
4.
4
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์
เก็บข้อมูลจานวนมาก (Store Massive Amounts of Information)
ในปัจจุบันจะมีที่เก็บข้อมูลสารองที่มีความจุมากกว่าหนึ่งพันล้าน
ตัวอักษร
ย้ายข้อมูล (Move Information) โดยใช้การติดต่อสื่อสารผ่าน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้มีการเรียกเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมกัน ทั่วโลกในปัจจุบันว่า ทางด่วน
สารสนเทศ (Information Superhighway)
ทางานซ้า (Repeatability) ช่วยลดปัญหาเรื่องความอ่อนล้าจากการ
ทางานของแรงงานคน นอกจากนี้ยังลดความผิดพลาดต่าง ๆ ได้ดีกว่า
5.
6.
7.
คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลักที่สาคัญ 3 ส่วน คือ
5
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
บุคลากร
(People ware)
ซอฟต์แวร์
(Software)
ฮาร์ดแวร์
(Hardware)
การเปรียบเทียบระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับคนงานได้ดังนี้
6
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบ
ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์
บุคลากร
เครื่องคอมพิวเตอร์
ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์
รับข้อมูล และแสดงผล ต่างๆ
(จอภาพแสดงผล แป้ นคีย์บอร์ด
ฯลฯ)
ระบบปฏิบัติการ โปรแกรม
สาเร็จรูปโปรแกรมเฉพาะงาน
ผู้ที่ทาหน้าที่ประมวลผลข้อมูล
ด้วยคอมพิวเตอร์
มนุษย์
ร่างกาย อวัยวะต่าง ๆ ของมนุษย์ที่
ใช้ในการเคลื่อนไหวและสื่อสาร
(ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย)
จิตใจ จิตใต้สานึก เป็นตัวสร้าง
กิจกรรม เรี ยกว่าโปรแกรม
ธรรมชาติ
ผู้ที่ควบคุมการทางาน
7
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ หรือชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่มีวงจรไฟฟ้าอยู่ภายในเป็นส่วนใหญ่ สามารถจับต้องได้
ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ คือ หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยความจาหลัก หน่วยรับข้อมูลหน่วยแสดงผลหน่วยเก็บข้อมูล
สารอง
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
8
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Input Process Output
1. การรับข้อมูลเข้า (Input) หมายถึง ขั้นตอนการรับข้อมูลเข้า
สู่ระบบคอมพิวเตอร์ โดยจะอาศัยหน่วยรับข้อมูลเข้า (Input
Unit) ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์
การทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์จะประกอบด้วยขั้นตอนการ
ทางานพื้นฐาน ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ขั้นตอน คือ
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
9
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Input Process Output
2. การประมวลผลข้อมูล (Process) หมายถึง ขั้นตอนการนาข้อมูลมาประมวลผล
ให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ โดยมีหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing
Unit: CPU) ทาหน้าที่ ประมวลผลข้อมูล
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
10
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Input Process Output
3. การแสดงผล (Output) หมายถึง ขั้นตอนการนาข้อมูลที่ผ่านการประมวลผล
แล้วออกมาแสดงผลลัพธ์ให้ผู้ใช้ทราบ โดยผ่านอุปกรณ์สาหรับการแสดงผล
(Output Device)
ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
11
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เครื่องคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่อง จะประกอบด้วยส่วนประกอบต่าง ๆ
แบ่งออกได้เป็น 5 ส่วน
หน่วยรับข้อมูล
หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยอื่นๆหน่วยความจา
หน่วยแสดงผล
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์
12
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หมายถึง หน่วยที่ทาหน้าที่รับข้อมูล
คาสั่งหรือโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนการโต้ตอบของผู้ใช้
โปรแกรมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมถึงอุปกรณ์ซึ่งสามารถป้ อนข้อมูล
คาสั่งหรือโปรแกรมเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ อุปกรณ์รับข้อมูล มีดังนี้
1) อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) ได้แก่ แป้ นพิมพ์หรือ keyboard
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
13
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
2) อุปกรณ์ชี้ตาแหน่งและวาดรูป (Pointing and Drawing Devices) เป็น
อุปกรณ์ที่ใช้ควบคุมการทางานของตัวชี้ตาแหน่ง(Pointer)
เม้าส์ (Mouse)
แผ่นสัมผัส (Touchpad)
จอยสติก (Joystick)
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
14
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์
3) ปากกาแสง (light pen) ใช้สัมผัสกับจอภาพชนิดพิเศษ เพื่อใช้ชี้ตาแหน่ง
และวาดข้อมูล นิยมใช้กับงานออกแบบ
4) ดิจิไตเซอร์ (Digitizer) ทาหน้าที่แปลงข้อมูล (อ่านพิกัด) ที่เป็นเส้นตรง
เส้นโค้ง ภาพวาด ให้เป็ นสัญญาณดิจิตอล แล้วถ่ายทอดสัญญาณไปยังเครื่อง
คอมพิวเตอร์
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
15
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์
5) กราฟิกแทปเลท (Graphics Tablet) เป็นเครื่องอ่านพิกัดกราฟิก ทางาน
ลักษณะเดียวกับ ดิจิไตเซอร์ ต่างกันที่จะมีอักขระและคาสั่งพิเศษสาเร็จรูปอยู่บนแผ่น
อ่านพิกัด นิยมใช้สาหรับงานออกแบบสถาปัตยกรรม
6) จอภาพสัมผัส (Touch Screen) เป็นจอภาพชนิดพิเศษที่ให้ผู้ใช้งานใช้นิ้ว
สัมผัสบนจอภาพเพื่อป้ อนข้อมูลเข้าสู่ระบบ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
16
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์
7) สมุดบันทึกคอมพิวเตอร์ (Digital Notebook)
- เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบด้วยแผ่นกระดาษโน้ตหรือกระดาษที่ใช้เขียนงาน
ทั่วไป
- ซึ่งจะต้องวางอยู่บนแผ่นอิเล็กทรอนิกส์ แล้วใช้งานร่วมกับปากกาชนิด
พิเศษที่สามารถส่งสัญญาณที่เขียนบนสมุดลงไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
- ผู้ใช้สามารถเรียกดูแก้ไข หรือตกแต่งได้ตามต้องการ
หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
17
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
8) อุปกรณ์กราดภาพ (Scanning Devices) เป็นอุปกรณ์เพื่อใช้บันทึก
ข้อความ ภาพวาด หรือสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ โดยมีหลักการ
ทางาน คือ อุปกรณ์จะทาการแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลที่สามารถ
นาไปประมวลผลและแสดงผลบนจอภาพได้ได้แก่
สแกนเนอร์ (Scanner)
- สแกนเนอร์แบบเลื่อนกระดาษ (Sheet-Fed Scanner)
- สแกนเนอร์แบบแท่นนอน (Flatbed Scanner)
- สแกนเนอร์แบบมือถือ (Handheld Scanner)
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
18
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
เครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ด (Barcode Reader)
เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง(Optical Character Recognition:OCR)
เครื่องอ่านเครื่องหมายด้วยแสง (Optical Mark Recognition: OMR)
ปัจจุบันมีการพัฒนารหัสคิวอาร์ (QRCode)
มีลักษณะเป็นสัญลักษณ์บาร์โค้ด 2 มิติ
19
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
เอ็มไอซีอาร์ (Magnetic Ink Character Recognition Device: MICR)
กล้องดิจิตอล (Digital camera)
กล้องวีดีโอ
20
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) มีหน้าที่นา
คาสั่งและข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจามาแปลความหมายและกระทาตาม
คาสั่งพื้นฐานของไมโครโพรเซสเซอร์ ซึ่งแทนด้วยรหัสเลขฐานสอง
การทางานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคาสั่งไว้ที่หน่วยความจา
ซีพียูอ่านคาสั่งจากหน่วยความจามาแปล ความหมายและกระทาตามเรียงกันไปที
ละคาสั่ง
หน้าที่หลักของซีพียู คือควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ
ตลอดจนทาการประมวลผล
21
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
หัวใจของเครื่องคอมพิวเตอร์พีซี คือ ชิปไมโครโปรเซสเซอร์หรือซีพียู มี
ทั้งแบบประมวลผลแบบ 32 บิต และ 64 บิต ความเร็วของซีพียูมีหน่วยที่ใช้วัด
ความเร็วคือ เมกะเฮิรตซ์หรือจิกะเฮิรตซ์ แบ่งกลุ่มตามการใช้งานได้แก่
กลุ่มที่ 1 ใช้ในสานักงาน เล่นอินเทอร์เน็ต ดูหนังฟังเพลง
กลุ่มที่ 2 เพื่อความบันเทิง แต่งภาพ เขียนแบบ 2D ทากราฟฟิค แต่ไม่
ถึงกับงาน 3D หรือใช้เล่นเกมส์แบบปกติกราฟิกไม่มาก
กลุ่มที่ 3 ทากราฟิกงานด้าน 3D งานตัดต่อวีดีโอ ภาพยนตร์ สตูดิโอ
ห้องอัดเพลง แต่งเสียง เขียนแบบ 3D เล่นเกมส์แบบละเอียดมาก
22
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) มีส่วนประกอบ ดังนี้
2.หน่วยคานวณและตรรกะ
ALU
1.หน่วยควบคุม
CU
3. หน่วยความจาภายใน
MU
ทาหน้าที่ควบคุมการทางาน ควบคุมการเขียนอ่านข้อมูลระหว่าง
หน่วยความจา CPU ควบคุมกลไกการทางานทั้งหมดของระบบ
มีหน้าที่นาเอาข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสองมาประมวลผล
ทางคณิตศาสตร์ และตรรกะ
หรือรีจิสเตอร์ (Register) เป็นหน่วยความจาทาหน้าที่พักข้อมูล
ชั่วคราวเพื่อเตรียมนาประมวลผลในลาดับถัดใน CPU ซึ่งมีลักษณะ
คล้ายกับความทรงจาในสมองของมนุษย์นั่นเอง
23
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU)
ส่วนประกอบของซีพียู
24
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit)
หน่วยแสดงผล หมายถึง หน่วยที่นาผลที่ได้
จากการประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์ ออกแสดง
ในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้บุคคลหรืออุปกรณ์อื่น ๆ ที่
ทางานเกี่ยวข้องได้เข้าใจ โดยผ่านทางอุปกรณ์แสดงผล
(Output Devices) หน่วยแสดงผล แบ่งออกเป็น 2
ประเภท ได้แก่ หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy)
และ หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy)
25
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit)
1) หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy)
จอภาพ (Monitor)
- จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube: CRT)
- จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display: LCD)
- จอแอลอีดี (Light Emitting Diode: LED)
26
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit)
อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector)
อุปกรณ์เสียง (Audio Device) ประกอบด้วยลาโพง (Speaker) และการ์ด
เสียง (Sound Card)
27
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
2) หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy)
เครื่องพิมพ์ (Printer)
- เครื่องพิมพ์แบบกระทบ (Impact Printer) ใช้การตอกให้คาร์บอนบน
ผ้าหมึกติดบนกระดาษตามรูปแบบที่ต้องการ
 เครื่องพิมพ์อักษร (Character Printer)
 เครื่องพิมพ์บรรทัด (Line Printer)
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit)
28
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit)
เครื่องพิมพ์ (Printer)
- เครื่องพิมพ์แบบไม่กระทบ(NonimpactPrinter)
 เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer)
 เครื่องพิมพ์ฉีดหมึก (InkjetPrinter)
 เครื่องพิมพ์ความร้อน (Thermal Printer)
29
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)
- พลอตเตอร์แบบระนาบ(Flatbed Plotter)
- พลอตเตอร์แบบทรงกระบอก(Drum Plotter)
- อิเล็กโตรสแตติกพลอตเตอร์ (ElectrostaticPlotter)
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยแสดงผล (Output Unit)
30
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory)
หน่วยความจาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ หน่วยความจาหลัก
และหน่วยความจาสารอง ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1) หน่วยความจาหลัก (Main Memory) ทา
หน้าที่เก็บข้อมูล ชุดคาสั่งหรือโปรแกรม ไว้สาหรับให้หน่วย
ควบคุมใช้งานเพื่ออ่านคาสั่งหรือนาข้อมูลออกมา หรือใช้เก็บผลที่
ได้จากการคานวณ เพื่อใช้ดาเนินงานในลาดับต่อไป
โดยทั่วไปหน่วยความจาหลักที่เป็นที่รู้จักกันมี 2 ประเภท
คือ แรม (RAM) รอม (ROM)
31
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
แรม (Random Access Memory: RAM)
- เป็นอุปกรณ์หรือแผงวงจรที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและโปรแกรม
คอมพิวเตอร์
- หน่วยความจาแรม บางครั้งเรียกว่าหน่วยความจาชั่วคราว (Volatile)
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory)
32
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory)
รอม (Read-Only Memory: ROM)
- เป็นหน่วยความจาที่บันทึกคาสั่งโปรแกรมเริ่มต้น (Start-up) ของระบบ
- คุณสมบัติเด่นของรอมคือ ข้อมูลและคาสั่งจะไม่ถูกลบหายไป ถึงแม้ว่า
จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์
- ข้อมูลส่วนใหญ่จะถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์
33
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
2) หน่ วยความจาสารอง (Secondary
Memory) หน่วยความจาสารองใช้เป็นส่วนเพิ่มความจาให้มี
ขนาดใหญ่มากขึ้น ทางานติดต่อยู่กับส่วนความจาหลัก
หน่วยความจาสารองมีความจุมากและมีราคาถูก แต่
เรียกหาข้อมูลได้ช้ากว่าส่วนความจาหลัก
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory)
34
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory)
ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk)
- เป็นอุปกรณ์ที่สาคัญของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูล
- ฮาร์ดดิสก์มีความจุมากก็ยิ่งสามารถบันทึกข้อมูลลงได้มาก ๆ
- อีกทั้งยังเป็นพื้นที่สาหรับติดตั้งระบบปฏิบัติการ
35
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ออฟติคอลดิสก์ (Optical Disk)
- เป็นสื่อในการเก็บข้อมูล
- โดยใช้ลาแสงเลเซอร์ในการอ่านข้อมูลซึ่งทามากจากแผ่นพลาสติกที่
เคลือบด้วยอะลูมิเนียม และอะคลีลิค ตัวอย่างของออฟติคอลดิสก์ ได้แก่
 ซีดีรอม (CD-ROM )
 ซีดีอาร์(CD-R)
 ซีดีอาร์ดับบลิว (CD-RW)
 ดีวีดีรอม (DVD-ROM)
 ดีวีดีอาร์ดับบลิว (DVD-RW)
 ดีวีดีแรม (DVD-RAM)
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory)
36
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ หน่วยความจา (Memory)
หน่วยความจาแฟลช (Flash Memory)
- เป็นหน่วยความจาขนาดเล็ก ที่สามารถบันทึกข้อมูลลงไปได้โดยที่ไม่
ต้องใช้แบตเตอรี่
- ข้อมูลไม่มีการสูญหายเมื่อปิดสวิตซ์
- ใช้กระบวนการทางไฟฟ้าในการบันทึกข้อมูลและมีตัวควบคุมการอ่าน
และเขียน
37
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ ส่วนประกอบอื่น ๆ
แผงวงจรหลัก (Mainboard) เป็นหัวใจสาคัญที่สุดที่อยู่
ภายในเครื่อง ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางทาให้อุปกรณ์ต่างๆ
ทางานร่วมกันได้
ตัวเครื่อง (Case) เพื่อประโยชน์ในการยึดอุปกรณ์ ต่าง ๆ
ให้มีความมั่นคง กะทัดรัด เคลื่อนย้ายได้ ขณะเดียวกันก็เพื่อ
ความปลอดภัย
38
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ ส่วนประกอบอื่น ๆ
แหล่งจ่ายไฟ (Power Supply) ทาหน้าที่แปลงไฟฟ้ า
กระแสสลับให้เป็นกระแสตรงเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์อื่น
เครื่องสารองไฟ (Uninterrupted Power Supply : UPS)
เป็นอุปกรณ์ ทาหน้าที่สารองไฟไว้ใช้ในกรณีไฟฟ้าดับ หรือ
หากกระแสไฟฟ้าเกินหรือขาดไป
39
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของฮาร์ดแวร์ ส่วนประกอบอื่น ๆ
การ์ดแสดงผล (VGA Card) เป็นอุปกรณ์ที่มีหน้าที่หลักๆ คือ
จะรับสัญญาณข้อมูลดิจิตอลมาจากหน่วยประมวลผลกลาง แล้ว
จึงทาการแปลงสัญญาณผ่านทางตัวแปลงสัญญาณภาพ
การ์ดเสียง ( Sound Card) เป็นแผงวงจรอิเลคทรอนิกส์ ที่ถูก
สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ร่วมกับคอมให้แสดงผลออกมาเป็นเสียง
การ์ดแลน (LAN Card) เป็นการ์ดที่ทาหน้าที่รับส่งข้อมูล
ผ่านสายนาสัญญาณเช่นสายเคเบิลหรือผ่านคลื่นวิทยุจาก
คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งไปยังคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่ง
40
ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่ถูกเขียน
ขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อม
ระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ประเภทของซอฟต์แวร์
สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
1.
2.
41
ซอฟต์แวร์ (Software)
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ คือ ชุดของคาสั่งที่เขียนไว้เป็นคาสั่งสาเร็จรูป
ใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด
เพื่อควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความ
สะดวกให้กับผู้ใช้งาน
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows,
Unix, Linux เป็นต้น รวมทั้งโปรแกรมแปลคาสั่งที่เขียนใน
ภาษาระดับสูง
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบ เช่น Norton’s
Utilities
42
ซอฟต์แวร์ (Software)
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ทาให้
คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การ
จัดเก็บข้อมูล เป็นต้น สามารถจาแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน
ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปหรือซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วปป
1.
2.
43
ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
1. ซอฟต์แวร์สำหรับงำนเฉพำะด้ำน
คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมการ
ทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมการทาสินค้าคงคลัง
แต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไป
ตามความต้องการ หรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้
สามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของ
โปรแกรมได้เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้
44
ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
2. ซอฟต์แวร์สำเร็จรูปหรือซอฟต์แวร์สำหรับงำนทั่วปป
เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กันสูงมาก
ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนาออกมา
จาหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง
ซอฟต์แวร์สาเร็จรูปที่มีจาหน่ายในท้องตลาดทั่วไป และเป็นที่นิยมของ
ผู้ใช้ได้แก่
1. ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word Processing Software)
2. ซอฟต์แวร์ตารางทางาน (Spread Sheet Software)
3. ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล(DatabaseManagement Software)
4. ซอฟต์แวร์นาเสนอ (Presentation Software)
5. ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล (Data Communication Software)
45
ซอฟต์แวร์ (Software)
ภาษาคอมพิวเตอร์
คือ ภาษาที่ใช้ในการติดต่อกับคอมพิวเตอร์โดยถูกนามาเขียนเป็น
ชุดคาสั่ง (Program)ให้เครื่องทางานตามคาสั่งของภาษานั้น ในปัจจุบัน
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้สาหรับเขียนโปรแกรมมีมากมายหลายภาษาซึ่งแต่ละภาษาจะ
มีกฎเกณฑ์และวิธีการเขียนโปรแกรมแตกต่างกัน ภาษาคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น
ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
ภาษาระดับสูง (High Level Language)
ตัวแปลภาษา (Translator)
1.
2.
3.
46
ซอฟต์แวร์ (Software)
ภาษาคอมพิวเตอร์
1. ภาษาระดับต่า (Low Level Language)
- เป็นภาษาหรือคาสั่งที่ใช้ในการสั่งงานหรือติดต่อกับเครื่องโดยตรง
- ภาษาเครื่องจะประกอบด้วยรหัสของเลขฐานสอง
- เทียบกับลักษณะของสัญญาณทางไฟฟ้าเข้ากับการทางานของเครื่อง
- ภาษาเครื่องจะมีกฎเกณฑ์ทางไวยากรณ์ค่อนข้างจากัด
- โปรแกรมมีลักษณะค่อนข้างยุ่งยากซับซ้อน
- เป็นภาษาสัญลักษณ์
- ใช้สัญลักษณ์ข้อความแทนกลุ่มของเลขฐานสอง
- ผู้เขียนโปรแกรมต้องจาความหมายสัญลักษณ์ที่ใช้แทนคาสั่งต่าง ๆ
- ข้อดี คือ การเขียนโปรแกรมเขียนง่ายกว่าภาษาเครื่อง
- ข้อเสีย คือ การเขียนโปรแกรมมีลักษณะคล้ายภาษาเครื่อง
ภาษาเครื่อง
(Machine Language)
ภาษาแอสแซมบลี
(Assembly Language)
47
ซอฟต์แวร์ (Software)
ภาษาคอมพิวเตอร์
2. ภาษาระดับสูง (High Level Language)
เป็นภาษาที่ได้รับการพัฒนา ให้สามารถใช้ได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
การเขียนภาษาไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์หรือลักษณะการทางานภายในของ
เครื่องคอมพิวเตอร์
ผู้เขียนโปรแกรมไม่จาเป็นต้องเข้าใจระบบการทางานภายในเครื่อง
มากนัก เพียงแต่เข้าใจกฎเกณฑ์ในกาเขียนแต่ละภาษาให้ดี
ซึ่งลักษณะคาสั่งจะคล้ายกับภาษาอังกฤษ
ภาษาระดับสูงจึงเป็นที่นิยมใช้กันแพร่หลายในปัจจุบันได้แก่ C, Basic
, Java , Php , Pyton
48
ซอฟต์แวร์ (Software)
ภาษาคอมพิวเตอร์
3. ตัวแปลภาษา (Translator)
ตัวแปลภาษา มีหน้าที่ แปลภาษาระดับสูงที่มีลักษณะใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ให้
เป็นภาษาเครื่องนั่นคือแปลโปรแกรมภาษาต้นฉบับให้อยู่ในรูปของโปรแกรมเรียกใช้
งานที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ สามารถทางานได้ แบ่งได้ 3 ประเภท ดังนี้
แอสแซมเบลอร์ (Assembler) เป็นตัวแปลภาษาแอสแซมบลี ซึ่งเป็น
ภาษาระดับต่าให้เป็นภาษาเครื่อง
คอมไพเลอร์ (Compiler) ใช้หลักการแปลโปรแกรมต้นฉบับทั้ง
โปรแกรมให้เป็นโปรแกรมเรียกใช้งาน
อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) แปลพร้อมกับทางานตามคาสั่งทีละ
คาสั่งตลอดทั้งโปรแกรม ทาให้แก้ไขโปรแกรมได้ง่าย และรวดเร็ว
1.
2.
3.
49
ซอฟต์แวร์ (Software)
ภาษาคอมพิวเตอร์
3. ตัวแปลภาษา (Translator)
ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์
คอมไพเลอร์ (Compiler) อินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
1. แปลทั้งโปรแกรมแล้วจึงทางานตามคาสั่งใน
โปรแกรมนั้น
1. แปลโปรแกรมทีละคาสั่งและทางานตามคาสั่ง
นั้นทันที
2. ใช้เนื้อที่ในหน่วยความจามาก 2. ใช้เนื้อที่หน่วยความจาน้อย
3. มีการสร้างโปรแกรมเรียกใช้งาน (Execute
Program)
3. ไม่มีการสร้างโปรแกรมเรียกใช้งาน (Execute
Program)
4. ถ้าโปรแกรมมีการทางานแบบวนซ้า เครื่องจะ
นาโปรแกรมเรียกใช้งาน ไปใช้งานได้เลยโดยไม่
ต้องแปลซ้า ทาให้ทางานได้เร็วกว่า
4. ถ้าโปรแกรมมีการทางานแบบวนซ้า จะต้อง
แปลคาสั่งซ้าแล้วซ้าอีก ทาให้การทางานช้า
50
บุคลากร (People ware)
• ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็ นไปตาม
เป้าหมายของหน่วยงาน
ผู้จัดกำรระบบ
(SystemManager)
• ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการ
วิเคราะห์ความเหมาะสมความเป็นไปได้ในการใช้
คอมพิวเตอร์กับระบบงาน
นักวิเครำะห์ระบบ
(SystemAnalyst)
• ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้
ทางานตามความต้องการของผู้ใช้
โปรแกรมเมอร์
(Programmer)
ผู้ใช้ (User)
บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อ ให้คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ แบ่ง
ออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
• ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง
และวิธีการใช้งานโปรแกรม
มีข้อควรพิจารณา ดังนี้
1. ต้องการนา Computer มาใช้ทาอะไรบ้าง
2. ซีพียู (CPU) หรือ โปรเซสเซอร์ (Processor)
3. เมนบอร์ด (Main Board)
4. แรม (RAM) หรือ หน่วยความจา (Memory)
51
เทคนิคในกำรเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
5. ฮาร์ดดิส (Harddisk)
6. การ์ดจอ (DisplayAdapter) หรือ กราฟิคการ์ด (Graphic
Card)
7. ไดร์ฟ Drive DVD
52
เทคนิคในกำรเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
53
การใช้งานระบบปฏิบัติการที่น่าสนใจ
• พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟท์
• เปิดตัวเมื่อปี พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985)
• ครองความนิยมในตลาดคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
มากกว่า 90% ของการใช้งานระบบปฏิบัติการทั่วโลก
ไมโครซอฟท์วินโดวส์
(Microsoft Windows)
• เป็นระบบปฏิบัติการสาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์แมค
อินทอช
• เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์
• เป็นระบบปฏิบัติการที่มีส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แบบ
กราฟิก (GUI) รายแรกที่ประสบความสาเร็จในเชิง
พาณิชย์
• เป็นระบบปฏิบัติการที่นิยมเป็นอันดับสองรองจาก
วินโดวส์
แมคโอเอส
(Mac OS)
54
การใช้งานระบบปฏิบัติการที่น่าสนใจ
• เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system)
• เป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับ ระบบใดระบบหนึ่งหรือ
อุปกรณ์ยี่ห้อเดียวกัน
• ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะให้มีผู้ใช้ได้
หลายคน ในเวลาเดียวกัน เรียกว่า มัลติยูสเซอร์
• สามารถทางานได้หลายๆงานใน เวลาเดียวกันในลักษณะที่เรียกว่า
มัลติทาสกิ้ง
ยูนิกซ์
(UNIX)
• เป็นตัวอย่างหนึ่งในฐานะซอฟต์แวร์เสรี และซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส
• สามารถดูหรือนาโค้ดของลินุกซ์ไปใช้งาน แก้ไข และแจกจ่ายได้
อย่างเสรี
• ลินุกซ์นิยมจาหน่ายหรือแจกฟรีในลักษณะเป็นแพคเกจ
• โดยผู้จัดทาจะรวมซอฟต์แวร์สาหรับใช้งานในด้านอื่นเป็นชุดเข้า
ด้วยกัน
ลินุกซ์
(Linux)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์พ่อ อาชีวะ
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์nprave
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศNpatsa Pany
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศjzturbo
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศNana Hassana
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 

Mais procurados (20)

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
งานโฟม
งานโฟมงานโฟม
งานโฟม
 
Basic1
Basic1Basic1
Basic1
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 

Destaque

ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตguest832105
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์tumetr1
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์jzturbo
 
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายบทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายWanphen Wirojcharoenwong
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SaiYoseob
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์lhinnn
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Destaque (10)

ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ตประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
ประวัติความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์ระดับชั้นดาต้าลิงค์
ระดับชั้นดาต้าลิงค์
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายบทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
บทที่ 6 ความปลอดภัยบนระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Semelhante a ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีtee0533
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์นะนาท นะคะ
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นit4learner
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์jumphu9
 

Semelhante a ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
introduction to computer
introduction to computerintroduction to computer
introduction to computer
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Com
ComCom
Com
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
hardware.pptx
hardware.pptxhardware.pptx
hardware.pptx
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Com
ComCom
Com
 
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นคอมพิวเตอร์
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 

Mais de Wanphen Wirojcharoenwong

การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Wanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 

Mais de Wanphen Wirojcharoenwong (8)

การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 กฏหมายและจริยธรรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ตบทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
บทที่ 4 ระบบเครือข่ายและอินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์