SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 209
Baixar para ler offline
1
เรื่อง แสงและการมองเห็น
       1. การแทรกสอด
       2. การเลียวเบนของแสง
                ้
       3. เกรตติง
       4. การกระเจิงของแสง
       5. การเคลือนทีและอัตราเร็ว
                  ่ ่
          ของแสง
            โดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   2
เรื่อง แสงและการมองเห็น
       6. การสะท้ อนของแสง
       7. การหักเหของแสง
       8. เลนส์ บาง
       9. ปรากฏการณ์ ทางแสง
       10. ทัศนอุปกรณ์
            โดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   3
เรื่อง แสงและการมองเห็น
       11. ความสว่ าง
       12. ตาและการมองเห็น
       13. สี
       14. ปรากฏการณ์ ทางแสง

            โดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา   4
คุณสมบัตของแสง
                 ิ
1.   การสะท้ อน
2.   การหักเห
3.   การแทรกสอด
4.   การเลียวเบน
           ้

                          5
N2 A1 N1 A0 N1 A1 N
A2                    2A
                        2




         s1     s2
        การแทรกสอด
                            6
7
8
การแทรกสอด
                    P
  s1
d          q
  s2   R
               L
                        9
การแทรกสอด




             10
การแทรกสอด

  s1
d        q
  s2 R
              L
             L>>d
                      11
การแทรกสอด
|S1P - S2P| = nl
      dsinq = nl
       d x = nl
         L


                   12
แถบสว่ าง           แถบมืด
                                 1
|S1P - S2P| = nl |S1P - S2P| = (n- )l
                                 2
      dsinq = nl                 1
                       dsinq = (n- )l
                                 2
       d x = nl
         L              d x = (n- )l
                          L
                                  1
                                  2


                                   13
ตัวอย่ าง
1. สลิตคู่มช่องห่ างกัน 500 mmเมื่อแสง
           ี
ความยาวคลืน 470 nm ผ่ านสลิตเกิดการ
             ่
แทรกสอดบนฉากซึ่งห่ างสลิต 1 m
แถบสว่ างที่ 3 อยู่ห่างจากจุดกึงกลางของ
                               ่
แถบสว่ างกลางเท่ าใด
                                          14
ตัวอย่ าง
3. ฉายแสงความยาวคลืน 600 nm ผ่ าน
                       ่
ชองแคบคู่ขนาด 30 mm ปรากฏแถบการ
แทรกสอดบนฉากห่ างออกไป 1 m แถบ
สว่ างที่ 3 เบนจากแนวกลางเป็ นระยะ
เท่ าใด และแถบมืดแต่ ละแถบห่ างกันเท่ าใด
                                        15
ตัวอย่ าง
4. แสงผ่ านช่ องแคบคู่ แถบสว่ างแถบที่ 2
เบนจากแนวกลาง 30     0 จงหาว่ าระยะ

ระหว่ างช่ องแคบเป็ นกีเ่ ท่ าของความยาว
คลืน
   ่

                                           16
ตัวอย่ าง
5. สลิตคู่อยู่ห่างกัน 100 mm วางอยู่ห่าง
จากฉาก 1m เมื่อมีแสงความยาวคลืน   ่
400 nmผ่ านสลิต จะทาให้ เกิดแถบสว่ าง
บนฉากแถบสว่ าง 2 แถบทีอยู่ถดกันจะ
                            ่ ั
อยู่ห่างกันเท่ าใด
                                           17
การเลียวเบนของแสง
                  ้
     ผู้ทค้นพบปรากฏการณ์ การเลียวเบน
         ี่                     ้
ของแสงเป็ นคนแรกคือ กริมัลดิ(Francesco
Maria Grimaldi) ในปี 2203


                                     18
การเลียวเบนของแสง
               ้
    จากการทดลองพบว่ า เมื่อให้ แสงผ่ าน
สลิตทีแคบ โดยให้ ความยาวคลืนแสงมีค่า
      ่                      ่
มากกว่ าความกว้ างของช่ องสลิต จะเกิด
ปรากฏการณ์ เลียวเบนมีผลให้ แถบสว่ าง
                 ้
และแถบมืดสลับกันไป
                                          19
การเลียวเบนของแสง
                ้
    เมื่อใช้ แสงความยาวคลืนเดียวส่ องผ่ าน
                           ่
สลิตโดยให้ ระยะของแหล่ งกาเนิดแสงอยู่
ไกลมากเทียบกับความกว้ างของช่ องสลิต
เราจึงอาจประมาณได้ ว่าคลืนแสงทีมาตก
                         ่       ่
กระทบสลิตนั้นเป็ นคลืนระนาบ
                      ่
                                         20
การเลียวเบนของแสง
                ้
      และโดยใช้ หลักของฮอยเกนส์ ทถอว่ า
                                  ี่ ื
ทุก ๆ จุดบนสลิตจะทาหน้ าทีเ่ สมือนแหล่ ง
กาเนิดคลืนอาพันธ์ ใหม่ และคลืนเหล่ านี้
          ่                   ่
เมื่อพบกันก็จะเกิดการแทรกสอดกัน จึงทา
ให้ เกิดแถบมืดและแถบสว่ าง สลับกันไป
                                       21
การเลียวเบนของแสง
             ้
    โดยแถบสว่ างกลางจะกว้ างและสว่ าง
มากทีสุด และถ้ าเราเพิมความกว้ างของ
     ่                ่
สลิต ความกว้ างของแถบสว่ างกลางจะ
ลดลง แต่ ถ้าลดความกว้ างของสลิตลง
จะทาให้ แถบสว่ างกลางกว้ างขึน ส่ วน
                             ้
แถบสว่ างถัดไปจะมีความสว่ างลดลง ๆ      22
การเลียวเบนของแสง
              ้
                     P    มืด
    A                          สว่ าง
d   B   q
                           O
    C D
                               มืด
                 L
            d sin q = nl       สว่ าง
                                        23
การเลียวเบนของแสง
      ้




                    24
การเลียวเบนของแสง
             ้
    ปรากฏการณ์ การเลียวเบนของแสง
                        ้
โดยสลิตเดียว และการแทรกสอดของ
          ่
แสงโดยสลิตคู่ จะเกิดขึนพร้ อมกันเสมอ
                      ้


                                       25
ตัวอย่ าง
6. แสงมีความยาวคลืน 600 nm ตกตั้ง
                    ่
ฉากผ่ านสลิตเดียวทีกว้ าง 500 mm ขอบ
                ่ ่
ของแถบสว่ างกลางอยู่เหนือแนวกลาง
เป็ นมุมเท่ าใด

                                       26
ตัวอย่ าง
7. ต้ องวางสลิตเดียวห่ างจากฉากเท่ าใด
                  ่
เมื่อให้ แสงความยาวคลืน 500 nm ผ่ าน
                        ่
สลิตเดียวทีมีความกว้ าง 100 mm แล้ ว
         ่ ่
ทาให้ จุดสว่ างกลางห่ างจากแถบมืด แถบ
ที่ 1 บนฉากเป็ นระยะ 4 mm
                                         27
เกรตติง
     เกรตติงมีลกษณะเป็ นแผ่ น ประกอบ
                 ั
ด้ วยช่ องเล็กๆ เป็ นจานวนมากมาย ซึ่ง
อาจมีได้ ต้งแต่ 1,000 ถึง 10,000 ช่ อง
           ั
ต่ อเซนติเมตร โดยช่ องมีขนาดแคบมาก
และอยู่ห่างกันเท่ ากัน
                                         28
เกรตติง
                             P
A
d     q
                         O
B D
              L
          d sin q = nl
                                 29
เกรตติง
    จากสมการจะเห็นว่ าถ้ าให้ แสงทีมีความ
                                      ่
ยาวคลืนต่ างกันผ่ านเกรตติง แถบสว่ าง
        ่
ของแสงแต่ ละความยาวคลืนจะเกิด ณ ที่
                             ่
ตาแหน่ งต่ าง ๆ กัน ดังนั้นถ้ าให้ แสงขาว
ผ่ านเกรตติงจะพบว่ าแถบสว่ างของแสงสี
ต่ าง ๆ จะเกิดขึน ณ ตาแหน่ งต่ างๆ กัน
                ้                       30
ตัวอย่ าง
4. ถ้ าฉายแสงสี ม่วงผ่ านเกรตติงทีมีขนาด
                                  ่
2000 ช่ อง/cm อยากทราบว่ า เราจะเห็น
แสงสี ม่วงจุดแรกเบนจากแนวกลางเป็ น
มุมเท่ าไร กาหนดความยาวคลืนแสงสี ม่วง
                             ่
450 nm
                                           31
แบบฝึ กหัด
1. เมื่อให้ แสงสี แดงผ่ านช่ องสลิตเดียวและ
                                      ่
ต้ องการให้ แถบมืดแถบแรกอยู่ห่างจาก
แถบสว่ างกลางคิดเป็ นระยะทางมุม 30      0

จงหาความกว้ างของช่ องสลิต กาหนดให้
แสงสี แดงมีความยาวคลืน 680 nm
                          ่
                                          32
แบบฝึ กหัด
2. ช่ องสลิตคู่ห่างกัน 0.3 mm วางห่ างจาก
ฉาก 1 m เมื่อฉายด้ วยแสงซึ่งมีความยาว
คลืน 600 nm ในแนวตั้งฉากให้ ผ่านช่ อง
   ่
แคบไปยังฉาก จงหาระยะห่ างของ
ตาแหน่ งของแถบสว่ างถัดจากแนวกลาง
                                        33
แบบฝึ กหัด
3. เกรตติงอันหนึ่งมี 4,000 ช่ อง/cm ถ้ าให้
แสงมีความยาวคลืน 640 nm ส่ องผ่ านจะ
                 ่
เห็นแถบสว่ างบนฉากทั้งหมดกีแถบ ่


                                              34
การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง
          ่ ่
1. วิธีของกาลิเลโอ
    จับเวลาการเดินทางของแสงระหว่ าง
ยอดเขา 2 ลูก และสรุปได้ ว่าแสงมีอตรา
                                  ั
เร็วสูงมาก แต่ ไม่ สามารถจับเวลาได้

                                       35
การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง
           ่ ่
2. วิธีของโรเมอร์


  E2        E1

 คานวณอัตราเร็วแสงได้   2.2 x 10 8 m/s
                                         36
การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง
         ่ ่
3. วิธีของฟิ โซ




                                  37
การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง
             ่ ่
ในการทดลองของฟิ โซ
ใช้ ฟันเฟื อง 720 ซี่
จานวนรอบทีหมุนเฟื อง 12.80 รอบ/วินาที
               ่
ระยะจากเฟื องถึงกระจก 8.6 km
  คานวณอัตราเร็วแสงได้   3.14 x 10 8 m/s
                                           38
การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง
          ่ ่
4. วิธีของไมเกลสั น




คานวณอัตราเร็วแสงได้   2.997 x 10 8 m/s
                                          39
ในการทดลองของไมเกลสั น โดยส่ งลาแสง
จาก Mt. Wilson ไปยัง Mt. San Antonio
ซึ่งอยู่ห่างออกไป 35.426 km แล้ วสะท้ อน
มายังล้ อที่มีกระจกติดรอบเป็ น 8 เหลียม
                                     ่
โดยหมุนล้ อด้ วยความถี่ 528.76 รอบ/s
จะสามารถเห็นแสงจากแหล่ งกาเนิดแสงได้
 คานวณอัตราเร็วแสงได้ 2.997 x 10    8 m/s
                                            40
การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง
        ่ ่
 - อัตราเร็วของแสงในสุ ญญากาศมีค่า
   เท่ ากับ 299,792,458 m/s
   หรือประมาณ 3x10        8 m/s

- เรียกระยะทางทีแสงเคลือนที่ได้ ใน 1 ปี
                      ่       ่
  ว่ า 1 ปี แสง เท่ ากับ 9.5x10 15 m
                                          41
การเกิดเงา
  เงาคือ อาณาเขตหลังวัตถุซึ่งแสงทีฉาย
                                  ่
ไปตกกระทบวัตถุน้ันไม่ สามารถเดินทาง
ไปถึง แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด คือ
 1.เงามืด
 2.เงามัว
                                        42
การเกิดเงา




             43
ตัวอย่ าง
1. โป๊ ะไฟหน้ ากระจกฝ้ าทรงกลมรัศมี
10 cm และลูกเทนนิสรัศมี 2 cm วางโดย
จุดศูนย์ กลางทั้งสองห่ างกัน 1 m เกิดเงา
มืดและเงามัวบนฉากทีวางใกล้ ลูกเทนนิส
                         ่
พอควร จงหาตาแหน่ งทีใกล้ ทสุดทีไม่
                           ่ ี่ ่
สามารถมองเห็นเงามืดเลย                     44
ตัวอย่ าง
2. จุดกาเนิดแสงวางอยู่ทางซ้ ายมือของ
แผ่ นกลมทึบแสงเป็ นระยะ 42 cm แผ่ น
กลมมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 1.5 cm ทางด้ าน
ขวามือห่ างจากแผ่ นกลมออกไป 1.26 cm
เป็ นฉากซึ่งมีระนาบขนานกับแผ่ นนี้
จงหารัศมีของเงาทีเ่ กิดบนฉาก
                                            45
ตัวอย่ าง
3. ทรงกลมลูกหนึ่งมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง
10 cm วางหน้ าแหล่ งกาเนิดเป็ นจุดห่ าง
20 cm จะต้ องนาฉากไปกั้นด้ านหลังห่ าง
จากวัตถุเท่ าไร เพือให้ ขนาดของเงามืด
                   ่
บนฉากมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 4 เท่ าของ
วัตถุ
                                          46
ตัวอย่ าง
4. แหล่ งกาเนิดแสงทรงกลมรัศมี 3 cm
ห่ างจากวัตถุทรงกลมเป็ นระยะ 60 cm
ทาให้ เกิดเงามืดเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 2 cm
และรัศมีของเงามัวเท่ ากับ 4 cm แล้ ว
รัศมีของวัตถุทรงกลมเป็ นเท่ าไร
                                            47
สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต
 1. กฎการสะท้ อนของแสง
                เส้ นแนวฉาก
                              มุมสะท้ อน
มุมตกกระทบ

รังสี ตกกระทบ       ir        รังสี สะท้ อน

                                              48
สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต
   โดยทัวไปการสะท้ อนจะขึนอยู่กบ
        ่                ้     ั
ลักษณะผิวของวัตถุ



                                   49
สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต
    สาหรับวัตถุระนาบทีมผวเรียบ
                          ่ ี ิ
เป็ นมัน เช่ นกระจก รังสี สะท้ อน
จะไปทิศเดียวกัน


                                    50
สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต
     สาหรับวัตถุระนาบทีมผวขรุขระ
                         ่ ี ิ
เช่ นผ้ า กระดาษ รังสี สะท้ อนจะมีทศ
                                   ิ
ต่ าง ๆ กัน


                                       51
สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต
    ถ้ าให้ รังสี ของแสงตกกระทบทีผวราบ
                                    ่ ิ
ผิวโค้ งเว้ า หรือโค้ งนูน การสะท้ อนทีแต่
                                        ่
ละผิวก็ยงให้ ผลเช่ นเดิม คือ
            ั
    รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้ อน และ
เส้ นแนวฉากจะอยู่บนระนาบเดียวกัน
และมุมตกกระทบเท่ ากับมุมสะท้ อน
                                             52
สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต




                           53
สรุปกฎการสะท้ อนของแสง
1. ณ ตาแหน่ งทีแสงตกกระทบ รังสี ตก
               ่
กระทบ รังสี สะท้ อน และเส้ นแนวฉาก
อยู่ในระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบเท่ ากับมุมสะท้ อน

                                     54
การเกิดภาพในกระจกเงาราบ




                          55
การเกิดภาพในกระจกเงาราบ
    เมือวางวัตถุไว้ หน้ ากระจกเงาราบ ซึ่ง
       ่
เป็ นผิวราบทีสะท้ อนแสงได้ ดี จะมองเห็น
                ่
ภาพของวัตถุซึ่งเกิดจากการสะท้ อนของ
แสงทีกระจก ระยะทีลากจากวัตถุไปตั้ง
         ่            ่
ฉากกับผิวกระจก เรียกว่ า ระยะวัตถุ
                                            56
การเกิดภาพในกระจกเงาราบ
   และระยะทีลากจากภาพไปตั้งฉากกับ
             ่
ผิวกระจก เรียกว่ า ระยะภาพ



                                    57
การเขียนรังสี สะท้ อนจากกระจกเงาราบ
1. ลากรังสี ตกกระทบจากจุดหนึ่งๆ ของ
วัตถุ ไปตกกระทบยังจุดใด ๆ บนกระจก
2. ลากรังสี สะท้ อนโดยใช้ กฎการสะท้ อน
ของแสง
3. ลากเส้ นต่ อจากรังสี สะท้ อนออกมาด้ าน
หลังกระจก
                                            58
การเขียนรังสี สะท้ อนจากกระจกเงาราบ
4. ทาเช่ นเดิมโดยเปลียนตาแหน่ งทีรังสี
                      ่               ่
   ไปตกกระทบกระจก
5. จุดตัดกันของรังสี ทลากจาก
                        ี่
    รังสี สะท้ อน คือตาแหน่ งทีเ่ กิดภาพ

                                           59
Q
                   r B           i=r
                   i             a = a'
                        h
      P    a                         a'   P '
               S       A       S '

tan a = hS
tan a' = h '
         S             S=S '
                                                60
Q
            r   B
            i
                h
    a                     a'     '
P       S       A   S   '      P


                                     61
สรุป
    ขนาดของภาพทีได้ จากการวางวัตถุ
                    ่
ไว้ หน้ าผิวสะท้ อนราบใด ๆ จะเท่ ากับ
ขนาดของวัตถุ และระยะภาพเท่ ากับ
ระยะวัตถุเสมอ
                                        62
ตัวอย่ าง
ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ
                      ้
 1.



                                     63
ตัวอย่ าง
ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ
                      ้
 2.



                                     64
ตัวอย่ าง
ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ
                      ้
 3.



                                     65
ตัวอย่ าง
ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ
                      ้
 4.



                                     66
ตัวอย่ าง
ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ
                      ้
 5.



                                     67
สรุป ภาพของวัตถุในกระจกเงาราบนั้น
   เป็ นภาพทีเ่ กิดจากรังสี สะท้ อนมาเข้ า
   ตาโดยเสมือนว่ า รังสี น้ันมาจากภาพ
   ซึ่งอยู่ด้านหลังของกระจก และถ้ านา
   ฉากไปวาง ณ ตาแหน่ งนั้นจะไม่ มีภาพ
   ปรากฏบนฉาก ภาพที่เกิดขึนในลักษณะ
                                 ้
   เช่ นนีเ้ รียกว่ าภาพเสมือน               68
B                     B '
        Q
E                 F

        P

A                       A'
    S       S '
                             69
B                 B '
        Q
E       O         F




    S       S '
                        70
E       O
                       F

        P
                  A'
A             '
    S       S
                           71
B
        Q
E               1
            PQ  AB
                2
        P

A                  '
    S            S
                       72
ตัวอย่ าง 8 ชายคนหนึ่งสู ง 170 cm ยืนอยู่
หน้ ากระจกทีต้งในแนวดิง โดยตาอยู่สูง
              ่ ั        ่
จากพืน 160 cm เขาเห็นภาพเต็มตัวพอดี
       ้
ก. กระจกต้ องมีความสู งอย่ างน้ อยเท่ าใด
ข. ขอบกระจกล่ างอยู่สูงจากพืนเท่ าใด
                                ้
ค. ขอบกระจกบนอยู่สูงจากพืนเท่ าใด
                              ้
                                            73
ตัวอย่ าง 9 ตั้งกระจกแนวดิง ดูต้นไม้ ซึ่ง
                            ่
ห่ างจากกระจก 10 m จะเห็นต้ นไม้ ท้งต้ นั
ถ้ ากระจกสู ง 5 cm ต้ นไม้ จะสู งเท่ าใด


                 30cm

                                            74
1.ชายคนหนึ่งยืนหน้ ากระจกเงาราบโดยห่ าง
จากกระจกเป็ นระยะ x เมตร ถ้ าเขาถอยออก
ห่ างจากตาแหน่ งเดิม y เมตร (y < x ) ภาพ
ของชายคนนั้นจะอยู่ห่างจากตาแหน่ งทีเ่ กิด
ภาพเดิมเท่ าใด และถ้ าชายคนนียนที่เดิมแต่
                              ้ื
เลือนกระจกห่ างออกไปจากตาแหน่ งเดิม y
   ่
เมตร ภาพของชายคนนั้นจะอยู่ห่างจาก
ตาแหน่ งเดิมเท่ าใด                         75
2.ชายคนหนึ่งวิงเข้ าหากระจกราบใน
                ่
แนวตั้งฉากกับผิวกระจก เขาเห็นภาพ
ของเขาวิงเข้ าหาเขาด้ วยความเร็ว x
        ่
เมตร/วินาที เขาวิงด้ วยความเร็วเท่ าไร
                  ่
ในหน่ วย เมตร/วินาที

                                         76
3.ในการเลือนกระจกหนีคนด้ วยความ
           ่
เร็ว 2 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที
ภาพในกระจกจะเคลือนที่ได้ ระยะทาง
                     ่
เท่ าใด


                                     77
4.ชายคนหนึ่งยืนบนยอดเขาสู ง 10 m
ห่ างจากฝั่ง 20 m สามารถมองเห็นยอด
เขาฝั่งตรงข้ ามทีสะท้ อนจากผิวนาได้
                 ่              ้
พอดีถ้ายอดเขาฝั่งตรงข้ ามห่ างจุด
สะท้ อนในแนวราบเป็ นระยะทาง
4000 m ยอดเขาฝั่งตรงข้ ามจะสู งเท่ าใด
                                         78
ถ้ าแสงตกกระทบกระจกราบทามุมq
เส้ นปกติ ถ้ าเบนกระจกไปจากเดิม a
 แสงสะท้ อนจะเบนไปจากเดิมเท่ าไร
               N1 N
                    2
         A                  C1
                a                C2
                        ?
              q q
     a
               B                      79
กระจกเงา 2 บานวางทามุมกัน 60 0 นา

วัตถุมาวางระหว่ างกระจกทั้งสองนั้น
ถ้ ามองภาพของวัตถุผ่านกระจกบานใด
บานหนึ่งจะเห็นภาพกีภาพ
                    ่


                                     80
กระจกโค้ ง

R




                 81
R           R
      C       O   C       O
  จุด C คือจุดศูนย์ กลางของทรงกลม ซึ่ง
เป็ นศูนย์ กลางความโค้ งของกระจกด้ วย
รัศมีของทรงกลม R เรียกว่ ารัศมีความโค้ ง
ของกระจก เส้ นทีลากผ่ านจุด C ไปหา
                       ่
กระจก ณ ตาแหน่ ง O ทีเ่ ป็ นจุดใจกลางบน
ผิวโค้ ง เรียกว่ า เส้ นแกนมุขสาคัญ        82
R            R
     C       O    C       O
 และจุดใจกลางบนผิวกระจกโค้ งเรียกว่ า
จุดยอด ถ้ าผิวโค้ งเว้ าเป็ นผิวสะท้ อนแสง
จะเรียกว่ า กระจกเว้ า
       ถ้ าผิวโค้ งนูนเป็ นผิวสะท้ อนแสง
จะเรียกว่ ากระจกนูน
                                             83
การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน

               C      O
1.เมื่อมีรังสี มาตกกระทบทีผวโค้ งเส้ น
                          ่ ิ
แนวฉากจะต้ องมีทศตั้งฉากกับผิวของ
                    ิ
กระจกทีจุดนั้น
           ่
                                         84
การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน
                          F
               C      O
2.เมื่อให้ รังสี ตกกระทบขนานกับเส้ นแกน
มุขสาคัญของกระจกเว้ า รังสี สะท้ อนจะ
มาตัดกันทีจุด ๆ หนึ่ง ซึ่งอยู่หน้ ากระจก
              ่
และอยู่บนเส้ นแกนมุขสาคัญ ห่ างจากจุด      85
การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน
    R                    F
 f           C      O
    2
ห่ างจากจุดยอดของกระจกเท่ ากับครึ่ง
หนึ่งของรัศมีความโค้ งของกระจก จุดนี้
เรียกว่ า จุดโฟกัส และระยะทางจากจุด
ยอดถึงจุดโฟกัส เรียกว่ า ความยาวโฟกัส    86
การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน

              C      O

 ในทานองเดียวกัน ถ้ าวางแหล่ งกาเนิด
แสงไว้ ทจุดโฟกัส รังสี สะท้ อนออกจาก
        ี่
กระจกเว้ าจะเป็ นลาแสงขนาน
                                         87
การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน

             C      O
 ในกรณีของกระจกนูน รังสี ตกกระทบ
ของแสงขนานกับแกนมุขสาคัญ รังสี
สะท้ อนจะเบนออกตามกฎการสะท้ อน
                                         88
การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน

              C     O

 ถ้ าต่ อแนวรังสี สะท้ อนย้ อนกลับไปพบ
กัน จะได้ จุดตัดกันของรังสี ทจุดเสมือน
                               ี่
จุดโฟกัส หลังกระจก บนแกนมุขสาคัญ
                                         89
ในกรณีทลาแสงขนานกัน แต่ ไม่ ขนาน
             ี่
กับเส้ นแกนมุขสาคัญ ลาแสงจะไปตัดกัน
ทีจุด ๆ หนึ่ง บนระนาบของจุดโฟกัส
  ่

                     O


                                       90
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
1. s > 2f

             C    F    O
                           2f > s’ > f
                                         91
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
2. s = 2f

             C    F    O
                            s’ = 2f
                                        92
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
3. 2f > s > f

                C   F   O
                            s’ > 2f
                                        93
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
4. s = f

             C    F    O
                              s’ = 
                                        94
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
5. s < f

             C    F    O


                                        95
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกนูน
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
1. s > 2f

             C    F    O F      C
                             2f > s’ > f
                                           96
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกนูน
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
2. s = 2f

             C    F    O F      C
                             2f > s’ > f
                                           97
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกนูน
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
3. 2f > s > f

                C   F   O F      C
                              2f > s’ > f
                                            98
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกนูน
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
4. s = f

             C    F    O F      C
                             2f > s’ > f
                                           99
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกนูน
          ่
กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ
     ี่ ั
5. s < f

             C    F    O F    C


                                        100
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
          ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
            ่
1. s > 2f

           C   F    O

                        2f > s’ > f
                                      101
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
          ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
            ่
2. s = 2f

           C   F    O

                        s’ = 2f
                                  102
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
          ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
            ่
3. 2f > s > f

           C   F    O

                        s’ > 2f
                                  103
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
         ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
           ่
4. s = f

           C   F    O

                          s’ = 
                                   104
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
         ทีวางหน้ ากระจกเว้ า
           ่
5. s < f

          C   F    O F   C


                                 105
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
          ทีวางหน้ ากระจกนูน
            ่
1. s > 2f

           C   F    O F   C


                                 106
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
          ทีวางหน้ ากระจกนูน
            ่
2. s = 2f

         C   F    O F   C


                                 107
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
          ทีวางหน้ ากระจกนูน
            ่
3. 2f > s > f

          C   F   O F    C


                                 108
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
        ทีวางหน้ ากระจกนูน
          ่
4. s = f

           C   F   O F   C


                                109
การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ
         ทีวางหน้ ากระจกนูน
           ่
5. s < f

         C   F    O F   C


                                 110
C   F   O




            111
1.ชายคนหนึ่งยืนหน้ ากระจกเงาราบโดยห่ าง
จากกระจกเป็ นระยะ x เมตร ถ้ าเขาถอยออก
ห่ างจากตาแหน่ งเดิม y เมตร (y < x ) ภาพ
ของชายคนนั้นจะอยู่ห่างจากตาแหน่ งทีเ่ กิด
ภาพเดิมเท่ าใด และถ้ าชายคนนียนที่เดิมแต่
                              ้ื
เลือนกระจกห่ างออกไปจากตาแหน่ งเดิม y
   ่
เมตร ภาพของชายคนนั้นจะอยู่ห่างจาก
ตาแหน่ งเดิมเท่ าใด                         112
2.ชายคนหนึ่งวิงเข้ าหากระจกราบใน
                ่
แนวตั้งฉากกับผิวกระจก เขาเห็นภาพ
ของเขาวิงเข้ าหาเขาด้ วยความเร็ว x
        ่
เมตร/วินาที เขาวิงด้ วยความเร็วเท่ าไร
                  ่
ในหน่ วย เมตร/วินาที

                                         113
3.ในการเลือนกระจกหนีคนด้ วยความ
           ่
เร็ว 2 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที
ภาพในกระจกจะเคลือนที่ได้ ระยะทาง
                     ่
เท่ าใด


                                     114
4.ชายคนหนึ่งยืนบนยอดเขาสู ง 10 m
ห่ างจากฝั่ง 20 m สามารถมองเห็นยอด
เขาฝั่งตรงข้ ามทีสะท้ อนจากผิวนาได้
                 ่              ้
พอดีถ้ายอดเขาฝั่งตรงข้ ามห่ างจุด
สะท้ อนในแนวราบเป็ นระยะทาง
4000 m ยอดเขาฝั่งตรงข้ ามจะสู งเท่ าใด
                                         115
ถ้ าแสงตกกระทบกระจกราบทามุมq
เส้ นปกติ ถ้ าเบนกระจกไปจากเดิม a
 แสงสะท้ อนจะเบนไปจากเดิมเท่ าไร
               N1 N
                    2
         A                  C1
                a                C2
                        ?
              q q
     a
               B                      116
กระจกเงา 2 บานวางทามุมกัน 60 0 นา

วัตถุมาวางระหว่ างกระจกทั้งสองนั้น
ถ้ ามองภาพของวัตถุผ่านกระจกบานใด
บานหนึ่งจะเห็นภาพกีภาพ
                    ่


                                     117
ตัวอย่ าง 10 เมือนาวัตถุสูง 5 cm วาง
                ่
หน้ ากระจกเว้ าความยาวโฟกัส 10 cm
ห่ างจากกระจก 15 cm จงหาตาแหน่ ง
ความสู งและชนิดของภาพ


                                       118
ตัวอย่ าง 11 เมือนาวัตถุสูง 5 cm วาง
                ่
หน้ ากระจกนูนความยาวโฟกัส 10 cm
จงหาตาแหน่ ง ความสู งและชนิดของ
ภาพ เมื่อ
1. วางวัตถุห่างกระจก 5 cm
2. วางวัตถุห่างกระจก 20 cm
                                       119
5. วางวัตถุอนหนึ่งหน้ ากระจกโค้ ง
             ั
ซึ่งมีความยาวโฟกัส 20 cm ปรากฏ
ว่ าได้ ภาพเสมือน โดยมีกาลังขยาย 0.1
ระยะวัตถุจะเป็ นเท่ าใด


                                       120
6. ถ้ าอยากเห็นหน้ าของตัวเองในกระจก
ห่ างจากกระจก 12 cm ให้ ขยายขึนเป็ น
                               ้
2 เท่ า จะต้ องใช้ กระจกชนิดใด
ความยาวโฟกัสเท่ าใด


                                       121
7. จงหารัศมีความโค้ งของกระจกนูน
ซึ่งทาให้ เกิดภาพทีมีขนาดเป็ น 1/5 ของ
                     ่
วัตถุ เมือวัตถุอยู่ห่างจากกระจก 15 cm
         ่



                                         122
8. ดินสอยาว 30 cm วางไว้ ตามแนวแกน
หน้ ากระจกเว้ าซึ่งมีรัศมีความโค้ ง 60 cm
โดยให้ ปลายใกล้ อยู่ทจุดศูนย์ กลางของ
                      ี่
ความโค้ งของกระจก ภาพที่เกิดจะมี
ความยาวเท่ าใด

                                            123
เมื่อแสงผ่ านผิวรอยต่ อระหว่ างอากาศ
กับแท่ งพลาสติก หรือระหว่ างพลาสติก
กับอากาศ แสงจะเบนออกจากแนวเดิม
เรียกปรากฎการณ์ นีว่า การหักเหแสง
                    ้
               q1

                    q2
                         q3

                              q4

                                          124
ดังนั้นจึงสรุปได้ ว่า แสงจะมีการหักเห
เมื่อแสงเคลือนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยัง
              ่
อีกตัวกลางหนึ่ง และในขณะเดียวกันก็มี
การสะท้ อนของแสงทีผวรอยต่ อด้ วย
                          ่ ิ


                                            125
สาหรับมุมตกกระทบค่ าหนึ่ง อัตรา
ส่ วนระหว่ างไซน์ ของมุมตกกระทบกับ
ไซน์ ของมุมหักเหมีค่าคงตัว ความสั ม-
พันธ์ นีเ้ รียกว่ า กฎของสเนลล์
1        q1              sin q1
2                     n
              q2
                         sin q 2
                                       126
ค่ าคงตัวนีเ้ รียกว่ า ดรรชนีหักเหของ
วัตถุ หรืออาจเรียกว่ า ดรรชนีหักเหของ
วัตถุเทียบกับตัวกลางแรก

 1        q1               sin q1
 2                      n
               q2
                           sin q 2
                                           127
โดยทัวไปนิยมกาหนดดรรชนีหักเห
         ่
ของวัตถุ หรือตัวกลางต่ าง ๆ เทียบกับ
สุ ญญากาศ เช่ นอากาศมีค่าดรรชนีหักเห
ของอากาศเทียบกับสุ ญญากาศประมาณ
1.0003

                                       128
สรุปกฎการหักเหของแสง
1. รังสี ตกกระทบ รังสี หักเห และเส้ นแนว
ฉาก อยู่บนระนาบเดียวกันเสมอ
2. สาหรับตัวกลางคู่หนึ่ง อัตราส่ วน
ระหว่ างไซน์ ของมุมตกกระทบในตัว
กลางหนึ่งกับไซน์ ของมุมหักเหในอีก
ตัวกลางหนึ่งมีค่าคงตัวเสมอ                 129
ดรรชนีหักเหของตัวกลางคือ อัตราส่ วน
ระหว่ างความเร็วแสงในสุ ญญากาศต่ อ
ความเร็วแสงในตัวกลางนั้น
    c
 n= v
            n2 = sin q 1 = v1 = l1
     1 n2 = n    sinq 2 v2 l2
             1
                                       130
-เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยัง
อีกตัวกลางหนึ่ง ปริมาณใดทีไม่ เปลียน
                          ่       ่
แปลง
-ให้ แสงเคลือนทีผ่านตัวกลาง อากาศ นา
             ่ ่                      ้
และแก้ ว ในตัวกลางคู่ใดทีจะทาให้ เกิด
                         ่
มุมวิกฤติมค่าน้ อยทีสุด
           ี        ่
                                          131
-จงเปรียบเทียบดัชนีหักเหของตัวกลาง

                          1
                          2
                          3

                                     132
ตัวอย่ าง 1 แสงเคลือนทีจากแท่ งแก้ วไป
                    ่ ่
สู่ อากาศมีมุมตกกระทบกับผิวรอยต่ อ
เป็ น 30 0 ปรากฏว่ าแสงหักเหออกมาทา

มุม 45  0 จงหาดรรชนีหักเหของแท่ งแก้ ว

นี้

                                         133
ตัวอย่ าง 2 แสงเดินทางจากตัวกลาง A
ไปยังตัวกลาง B โดยมีมุมตกกระทบ 37   0

และมุมหักเห 53  0 จงหาดัชนีหักเหของ

ตัวกลาง A เทียบกับ B


                                        134
ตัวอย่ าง 3 ให้ รังสี ของแสงทามุมตก
กระทบ 60    0 กับแท่ งแก้ ว ซึ่งมีดชนีหักเห
                                   ั
เป็ น 3 รังสี หักเหจะทามุมกับผิวแก้ ว
เท่ าไร


                                              135
ตัวอย่ าง 4 เมื่อให้ แสงเดินทางจากนาไป
                                    ้
สู่ แก้ วโดยมีมุมตกกระทบ 30   0 จงหามุม

หักเหในแก้ ว



                                          136
ตัวอย่ าง 5 แสงความยาวคลืน 589 นาโน
                          ่
เมตร เดินทางจากสุ ญญากาศเข้ าสู่ ซิลกา
                                    ิ
ด้ วยความเร็ว 2.06 m/s ดรรชนีหักเหของ
ซิลกาเป็ นเท่ าใด
    ิ


                                         137
ตัวอย่ าง 6 ตัวกลางทีมีดชนีหักเหของแสง
                     ่ ั
เท่ ากับ n2 และ n3 วางซ้ อนกันอยู่บนพืน
                                      ้
ห้ อง เมือฉายไฟเข้ าสู่ ตวกลางทีมดชนี
         ่               ั      ่ ี ั
หักเห n2 แสงจะเดินทางหักเหดังรู ป
จงหา n3                 0  453n

                  300       n2
            600

                                          138
ตัวอย่ าง 7 แท่ งแก้ วหนา 0.6 cm มีดชนี
                                    ั
หักเห 1.55 cm จงหาเวลาที่แสงเดินทาง
ผ่ านแท่ งแก้ วนี้



                                          139
การสะท้ อนกลับหมด




                    140
การสะท้ อนกลับหมด
  เรียกมุมตกกระทบทีทาให้ รังสี หักเห
                       ่
ขนานไปกับผิวรอยต่ อว่ า มุมวิกฤต qC
และถ้ ามุมตกกระทบโตกว่ ามุมวิกฤตจะ
ไม่ มีรังสี หักเหออกมาแต่ จะมีเฉพาะรังสี
สะท้ อนเท่ านั้น ปรากฏการณ์ นีเ้ รียกว่ า
การสะท้ อนกลับหมด
                                            141
ตัวอย่ าง 8 เพชรเทียมมีดชนีหักเหเป็ น
                           ั
2.0 มุมวิกฤต หรือมุมตกกระทบในเพชร
ต้ องเป็ นเท่ าใดจึงจะเกิดการสะท้ อนกลับ
หมด


                                           142
ตัวอย่ าง 9 ถ้ ามุมวิกฤตของเพชรเท่ ากับ
sin -1 0.413 แสงจะเดินทางในเพชรด้ วย

ความเร็วเท่ าใด




                                          143
ตัวอย่ าง 10 เมือแสงผ่ านจากวัตถุหนึ่ง
                 ่
ไปยังนาซึ่งมีดชนีหักเห 4/3 ปรากฏว่ า
          ้        ั
เกิดมุมวิกฤต 30      0 ค่ าดัชนีหักเหของวัตถุ

นีเ้ ป็ นเท่ าไร


                                                144
ความลึกจริงลึกปรากฎ
n2 = ลึกปรากฎ cosq 1
n1     ลึกจริง cosq 2
                        q2

  ลึกปรากฎ         q1
                             ลึกจริง

                                       145
ความลึกจริงลึกปรากฎ
n2 = ลึกปรากฎ
n1     ลึกจริง


            ลึกปรากฎ
                       ลึกจริง

                                 146
ตัวอย่ าง 11 ปลาอยู่ในนาทีระดับความลึก
                           ้ ่
จากผิวนา 2m ความลึกปรากฎของปลา
           ้
เป็ นเท่ าใด เมือผู้สังเกตมองปลาในแนวดิง
                ่                      ่
ตรงตัวปลา กาหนดให้ ดรรชนีหักเหของ
นาเป็ น 4/3
  ้

                                           147
ตัวอย่ าง 12 สะพานข้ ามคลองสู งจากผิว
นา 3 m ชายคนหนึ่งดานาอยู่ใต้ สะพาน
  ้                    ้
ในแนวดิง เขาจะเห็นสะพานอยู่สูงจาก
          ่
ผิวนาเท่ าใด
    ้


                                        148
ตัวอย่ าง 13 แท่ งแก้ วแท่ งหนึ่งหนา dวาง
ทับตัวหนังสื อ เมื่อมองตรง ๆ จะเห็นตัว
หนังสื อลอยขึนมาเท่ าใด
              ้




                                            149
ตัวอย่ าง 14 ปลามองเห็นนกเกาะบนกิงไม้
                                   ่
สู ง10 m ขณะทีปลาอยู่ลกจากผิวนา 3 m
                 ่      ึ        ้
ถ้ าดัชนีหักเหของนาเป็ น 4/3 ปลาและนก
                     ้
จะอยู่ห่างกันเท่ าไร


                                        150
ตัวอย่ าง 15 จากรู ป จงหา
    air   300
                370
     1
     2                      450
    air                           q

 1.มุม q เป็ นเท่ าไร
 2. ดัชนีหักเหในตัวกลางที่ 1
 3. 1n2 มีค่าเท่ าไร
                                      151
ตัวอย่ าง 16 จากรู ป มองเหรียญทีอยู่ใน
                                  ่
แก้ วทีมีนาและนาแข็งซึ่งมีดชนีหักเห
       ่ ้      ้           ั
1.33 และ 1.31 ตามลาดับ จะรู้ สึกว่ า
เหรียญอยู่ห่างจากผิวบนของนาแข็ง ้
เท่ าไร 3.45               นา ้
                         นาแข็ง
                          ้
          6.65
                                         152
ตัวอย่ าง 17 แท่ งแก้ วหนา 9 cm อยู่ใต้ ผว
                                         ิ
นาโดยผิวบนลึก 10 cm แท่ งแก้ วทับวัตถุ
  ้
บาง ๆ อยู่ เมือมองดูจะเห็นวัตถุบาง ๆ
              ่
แผ่ นนั้นอยู่สูงจากเดิมเท่ าไร
      กาหนดให้ ดรรชนีหักเหของแก้ ว และ
นาเป็ น 3/2 และ 4/2 ตามลาดับ
    ้
                                             153
ตัวอย่ าง 20 เมือมองดูปลาในบ่ อ โดย
                ่
มองตรงตั้งฉากกับผิวนาเห็นปลาว่ ายนา
                       ้               ้
ขึนมาตรง ๆ ด้ วยอัตราเร็ว x m/s ถ้ าดัชนี
  ้
หักเหของนา n ปลาจะว่ ายนาขึนมาด้ วย
             ้             ้ ้
อัตราเร็วจริงเท่ าใด

                                            154
การหักเหของแสงที่ผวโค้ งของเลนส์
                  ิ




                                   155
เมื่อให้ แสงเคลือนทีผ่านเลนส์ จะมี
                      ่ ่
การหักเห เมื่อแสงเคลือนที่ผ่านผิวรอย
                         ่
ต่ อเข้ าไปในเลนส์ และจะหักเหอีกครั้ง
เมือแสงเคลือนทีออกจากเลนส์ สู่ อากาศ
    ่           ่ ่


                                           156
เมือให้ แสงขนาผ่ านเลนส์ นูนรังสี
        ่
หักเหจะไปตัดกันจริงทีจุด ๆ หนึ่ง บน
                          ่
เส้ นแกนมุขสาคัญ เรียกจุดนีว่าจุดโฟกัส
                              ้
ซึ่งเป็ นตาแหน่ งทีเ่ กิดภาพของวัตถุที่
อยู่ไกลจากเลนส์ มาก

                               F
                                          157
และเมื่อให้ แสงขนาผ่ านเลนส์ เว้ ารังสี
หักเหจะถ่ างออก และเมื่อต่ อแนวรังสี
หักเหผ่ านเลนส์ เว้ า จะมาตัดกันทีจุดหนึ่ง
                                  ่
บนเส้ นแกนมุขสาคัญ ซึ่งเป็ นจุดโฟกัส
ของเลนส์ เว้ า
                    F
                                             158
การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์
1. ลากรังสี ตกกระทบขนานกับเส้ นแกน
มุขสาคัญ เมือหักเหผ่ านเลนส์ แสงจะ
             ่
ผ่ านจุดโฟกัสของเลนส์

     R    F'   O     F    R
                                      159
การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์
2. ลากรังสี ตกกระทบให้ ผ่านศูนย์ กลาง
เลนส์ และเมื่อผ่ านเลนส์ แล้ วรังสี หักเห
จะออกไปในแนวเดิม

      R     F'    O      F     R
                                            160
การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์
3. เมื่อลากให้ รังสี ตกกระทบผ่ านระยะ
โฟกัส เมื่อผ่ านเลนส์ แล้ วรังสี หักเหจะ
ขนานกับเส้ นแกนมุขสาคัญ

      R     F'    O     F     R
                                           161
การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์
1. ลากรังสี ตกกระทบขนานกับเส้ นแกน
มุขสาคัญ เมือหักเหผ่ านเลนส์ แสงเบน
             ่
ออก และลากเส้ นต่ อแนวรังสี ผ่านจุด
โฟกัส
      R F O F R          '

                                       162
การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์
2. ลากรังสี ตกกระทบให้ ผ่านศูนย์ กลาง
เลนส์ และเมื่อผ่ านเลนส์ แล้ วรังสี หักเห
จะออกไปในแนวเดิม

      R     F     O     F'     R
                                            163
การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์
3. เมื่อลากให้ รังสี ตกกระทบผ่ านระยะ
โฟกัส เมื่อผ่ านเลนส์ แล้ วรังสี หักเหจะ
ขนานกับเส้ นแกนมุขสาคัญ

     R F          O     F'    R
    น ว                                    164
จากการหาตาแหน่ งภาพทีเ่ กิดขึน  ้
ภาพทีเ่ กิดขึนด้ านหลังเลนส์ เป็ นภาพที่
              ้
เกิดจากรังสี หักเหมาตัดกันจริง และภาพ
ทีเ่ กิดขึนทีตาแหน่ งนีเ้ รียกว่ า ภาพจริง
          ้ ่
ส่ วนภาพทีเ่ กิดด้ านหน้ าเลนส์ เป็ นภาพที่
เกิดจากรังสี หักเหเสมือนมาตัดกัน เรียก
ภาพทีเ่ กิด ณ ตาแหน่ งนีว่าภาพเสมือน
                             ้                165
การคานวณเรื่องเลนส์
ความยาวโฟกัสของเลนส์ นูนเป็ น +
ความยาวโฟกัสของเลนส์ เว้ าเป็ น -
ระยะวัตถุหน้ าเลนส์ เป็ น +
ระยะวัตถุหลังเลนส์ เป็ น -
ระยะภาพหน้ าเลนส์ เป็ น -
ระยะภาพหลังเลนส์ เป็ น +            166
ตัวอย่ าง 21 วัตถุอนหนึ่งตั้งอยู่หน้ าเลนส์
                    ั
นูนความยาวโฟกัส 10 cm ห่ างจากเลนส์
60 cm จงหาระยะภาพของวัตถุชิ้นนี้
ตัวอย่ าง 22 จากข้ อ 21 จงคานวณหา
อัตราเร็วของภาพทีเ่ คลือนที่จากเดิม
                        ่
เมือเลือนวัตถุเข้ าหาเลนส์ จนห่ างจาก
   ่ ่
เลนส์ เป็ นระยะ 30 cm ในเวลา 10 s             167
ตัวอย่ าง 23 เลนส์ เว้ าความยาวโฟกัส
10 cm เมือนาวัตถุสูง 5 cm วางหน้ า
           ่
เลนส์ ห่างจากเลนส์ 20 cm
   จงหาตาแหน่ ง ขนาด และชนิดของ
ภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ เว้ า

                                       168
ตัวอย่ าง 24 วางวัตถุห่างจากเลนส์ A
เป็ นระยะ 20 cm ได้ ภาพขยายขนาด
ใหญ่ กว่ าวัตถุ 4 เท่ า เลนส์ A ควรเป็ น
เลนส์ ชนิดใด และมีความยาวโฟกัส
เท่ าใด

                                           169
170
ตัวอย่ าง 25 เลนส์ นูน A และ B มี
ความยาวโฟกัส 10 และ 15 cm วางห่ าง
กัน 30 cm ถ้ านาวัตถุวางไว้ หน้ าเลนส์
นูน A ห่ างเลนส์ 20 cm จงหาตาแหน่ ง
ของภาพสุ ดท้ าย

                                         171
ตัวอย่ าง 26 วัตถุอยู่ทางซ้ ายมือของ
เลนส์ นูน ความยาวโฟกัส 5 cm เป็ น
ระยะทาง 10 cm และมีเลนส์ เว้ าความ
ยาวโฟกัส 10 cm อยู่ทางขวามือของ
เลนส์ นูนเป็ นระยะทาง 5 cm
ภาพสุ ดท้ ายจะเป็ นอย่ างไร
                                       172
ตัวอย่ าง 27 กระจกเว้ าและกระจกนูนมี
ความยาวโฟกัส 10 cm เท่ ากัน วางหัน
ด้ านสะท้ อนเข้ าหากัน และห่ างกัน 40cm
นาวัตถุสูง 2 cm วางไว้ ระหว่ างกระจก
ทั้ง 2 ห่ างจากกระจกเว้ า 15 cm ถ้ าให้ แสง
สะท้ อนทีกระจกเว้ าก่ อน ภาพทีสะท้ อน
            ่                   ่
ครั้งที่ 2 จะมีลกษณะอย่ างไร
                ั
                                              173
ตัวอย่ าง 28 เลนส์ นูนความยาวโฟกัส 30
cm อยู่ห่างจากกระจกเว้ ารัศมีความโค้ ง
20 cm เป็ นระยะ 80 cm ถ้ าวางวัตถุหน้ า
เลนส์ นูนเป็ นระยะ 60 cm ภาพสุ ดท้ าย
อยู่ห่างจากวัตถุเท่ าใด

                                          174
การทาให้ เกิดภาพซ้ อนที่ตาแหน่ งเดิม


     F1




                                       175
การทาให้ เกิดภาพซ้ อนที่ตาแหน่ งเดิม


 F1                             C




                                       176
การทาให้ เกิดภาพซ้ อนที่ตาแหน่ งเดิม


O




                                       177
การทาให้ เกิดภาพซ้ อนที่ตาแหน่ งเดิม


O      C




                                       178
การทาให้ เกิดภาพซ้ อนที่ตาแหน่ งเดิม


O




                                       179
ตัวอย่ าง 25 วางวัตถุห่างจากเลนส์ นูน
ความยาวโฟกัส 10 cm เป็ นระยะ 30 cm
และถ้ าวางกระจกเว้ าห่ างจากเลนส์ นูน
35 cm คนละด้ านกับวัตถุจะเกิดภาพจริง
ทีเ่ ดียวกับวัตถุ รัศมีความโค้ งของกระจก
เว้ ามีค่าเท่ าใด
                                           180
ตัวอย่ าง 26 วางเลนส์ เว้ าไว้ หน้ ากระจก
เว้ าซึ่งมีความยาวโฟกัส 20 cm โดยวาง
ห่ างกัน 25 cm ถ้ าตั้งวัตถุไว้ หน้ าเลนส์
เว้ าห่ าง 60 cm จากเลนส์ ปรากฏว่ าภาพ
ทีเ่ กิดอยู่ทเี่ ดียวกับวัตถุพอดี จงหาความ
ยาวโฟกัสของเลนส์ เว้ า
                                             181
ทัศนอุปกรณ์
เครื่องฉายภาพนิ่ง
  กล้ องถ่ ายรู ป
 กล้ องจุลทรรศน์
กล้ องโทรทัรรศน์
                    182
ความสว่ าง
    เรียกปริมาณพลังงานแสงทีส่องออก
                            ่
จากแหล่ งกาเนิดแสงใด ๆ ต่ อหนึ่งหน่ วย
เวลา หรืออัตราการให้ พลังงานแสงของ
แหล่ งกาเนิดแสงมีหน่ วยการวัดเป็ น
ลูเมน (lumen) lx
                                         183
ถ้ าพิจารณาพืนทีใด ๆ ทีรับแสง ความ
                 ้ ่       ่
สว่ างบนพืนทีน้ันหาได้ จาก
            ้ ่
ความสว่ าง = อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพืน
                                     ้
                    พืนที่รับแสง
                       ้
                 F
               E=A
                                         184
ความสว่ าง = อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพืน
                                     ้
                    พืนที่รับแสง
                       ้
                  F
                E=A
  E คือความสว่ าง มีหน่ วยเป็ นลักซ์ lux

                                           185
ตัวอย่ างที่ 27 ติดหลอดไฟฟาฟลูออเรส-
                          ้
เซนต์ 40 วัตต์ จานวน 3 หลอด โดยมีตัว
สะท้ อนแสง ให้ พลังงานแสงทั้งหมดตก
ลงบนพืนโต๊ ะทีมีพนที่ 10 m
         ้        ่ ื้      2 ให้ หาความ

สว่ างบนพืนโต๊ ะนี้
             ้

                                           186
ตัวอย่ างที่ 28 ติดหลอดไฟฟาฟลูออเรส-
                             ้
เซนต์ 40 วัตต์ ทีมีอตราการให้ พลังงาน
                   ่ ั
แสง 2,700 ลูเมน ไว้ ในห้ องสี่ เหลียมทีมี
                                   ่ ่
ขนาด 3x2x2 m ความสว่ างของห้ องนี้
โดยเฉลียจะมีค่าเท่ าไร ถ้ าอัตราการให้
         ่
พลังงานแสงสู ญเสี ยไปเนื่องจากตัว
สะท้ อนแสง 500 ลูเมน                        187
การเกิดรุ้ง




              188
การเกิดรุ้ง




              189
การเกิดรุ้ง




              190
การเกิดรุ้ง




              191
ตา




     192
ตา




     193
ตา




     194
การมองเห็นสี
การมองเห็นสี ต่าง ๆ ได้
ต้ องอาศัยการทาหน้ าที่
ของ เรตินา
เซลล์รูปแท่ ง จะไวต่ อแสงทีมความเข้ มน้ อย
                           ่ ี
เซลล์รูปกรวย จะไวต่ อแสงทีมความเข้ มน้ อย
                             ่ ี             195
การมองเห็นสี
เซลล์ รูปกรวยแบ่ งออกเป็ น 3 ชนิด
              1. เซลล์ที่ไวต่ อแสงสี นาเงิน
                                       ้
              2. เซลล์ที่ไวต่ อแสงสี เขียว
              3. เซลล์ที่ไวต่ อแสงสี แดง
                                              196
การมองเห็นสี
ตาของคนบางคนอาจเห็นสี ไม่ ครบทุก
สี ทั้งนีเ้ ซลล์ รูปกรวยชนิดใดชนิดหนึ่ง
ทางานบกพร่ อง เช่ นถ้ าเซลล์ รูปกรวย
ไวต่ อแสงสี แดงบกพร่ องก็จะมองไม่
เห็นสี แดง เราเรียกความผิดปกตินีว่า
                                  ้
การบอดสี                                  197
สี




     198
สี
1.วัตถุโปร่ งใส หมายถึง วัตถุทให้ แสง
                                ี่
ผ่ านไปได้ เกือบทั้งหมดอย่ างเป็ นระเบียบ
เราจึงสามารถมองผ่ านวัตถุชนิดนีได้ ้
ชัดเจน ตัวอย่ างเช่ น กระจกใส แก้ วใส

                                            199
สี
2. วัตถุโปร่ งแสง หมายถึง วัตถุทให้ แสง
                                     ี่
ผ่ านไปได้ อย่ างไม่ เป็ นระเบียบ ดังนั้น
เราจึงไม่ สามารถมองผ่ านวัตถุนีได้ ้
ชัดเจน เช่ น นาขุ่น กระจกฝ้ า กระดาษไข
                ้

                                            200
สี
3. วัตถุทบแสง หมายถึง วัตถุทไม่ ยอม
          ึ                   ี่
ให้ แสงผ่ านเลย แสงทั้งหมดจะถูกดูด
กลืนไว้ หรือสะท้ อนกลับ เราจึงไม่
สามารถมองผ่ านวัตถุชนิดนีได้ เช่ น
                           ้
ไม้ ผนังตึก
                                      201
สี
ในกรณีทแสงขาวตกกระทบวัตถุทบแสง
          ี่                          ึ
วัตถุน้ันจะดูดกลืนแสงแต่ ละสี ทประกอบ
                                   ี่
เป็ นแสงขาวนั้นไว้ ในปริมาณต่ าง ๆ กัน
แสงส่ วนทีเ่ หลือจากการดูดกลืนจะสะท้ อน
กลับเข้ าตา ทาให้ เราเห็นวัตถุเป็ นสี เดียวกับ
แสงทีสะท้ อนเข้ าตามากทีสุด
      ่                    ่
                                                 202
สี
    ตามปกติวตถุมสารทีเ่ รียกว่ าสารสี
                 ั ี
ซึ่งทาหน้ าทีดูดกลืนแสง วัตถุทมสีต่างกัน
             ่                 ี่ ี
   จะมีสารสี ต่างกันการเห็นใบไม้ สีเขียว
เพราะ ใบไม้ มคลอโรฟิ ลเป็ นสารทีดูดกลืน
               ี                    ่
           แสงสี ม่วง และสี แดง
                                           203
สี




     204
สี

สารสี ทไม่ อาจสร้ างขึนได้ จากการผสม
        ี่                ้
    สารสี ต่าง ๆ เข้ าด้ วยกันมี 3 สี คือ
สี เหลือง สี แดงม่ วง และสี นาเงินเขียว
                                ้
           เรียกว่ าสารสี ปฐมภูมิ
                                            205
สารสี




        206
สารสี
                สี
ถ้ านาสารสี ปฐมภูมท้งสามมาผสมกัน
                      ิ ั
ด้ วยปริมาณทีเ่ ท่ ากัน จะได้ สีผสมทีมี
                                     ่
     คุณสมบัตดูดกลืนแสงสี ทุกสี
              ิ
        สารสี ทผสมนีคอสี ดา
                ี่        ้ื
                                          207
แสงสี
 สี




        208
แสงสี

              ถ้ าเรานาแสงสี แดง
 สี เขียว สี นาเงิน มาผสมกันบนฉากขาว
              ้
 ในสั ดส่ วนทีเ่ ท่ า ๆ กัน จะให้ ผลเหมือน
      กับเราฉายแสงขาวลงไปบนฉาก
เราเรียกแสงสี ท้งสามนีว่าแสงสี ปฐมภูมิ
                    ั       ้
                                             209

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาWijitta DevilTeacher
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 

Mais procurados (20)

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลาเครื่องเคาะสัญญาณเวลา
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่1พันธะโคเวเลนต์docx
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 

Semelhante a แสง และการมองเห็น

เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสงthanakit553
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2DAWKAJAY20
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thaiSaranyu Pilai
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์thanakit553
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอwattumplavittayacom
 

Semelhante a แสง และการมองเห็น (20)

13.แสง
13.แสง13.แสง
13.แสง
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
 
13.แสง
13.แสง13.แสง
13.แสง
 
P13
P13P13
P13
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
System lighting
System lightingSystem lighting
System lighting
 
แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2แสงและการหักเห2
แสงและการหักเห2
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
นำเสนอแสงปี56
นำเสนอแสงปี56นำเสนอแสงปี56
นำเสนอแสงปี56
 
P14
P14P14
P14
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
 
System lighting
System lightingSystem lighting
System lighting
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
ไฟฟ้าสถิต [Compatibility mode]
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 

Mais de ชิตชัย โพธิ์ประภา

รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยาชิตชัย โพธิ์ประภา
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนชิตชัย โพธิ์ประภา
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...ชิตชัย โพธิ์ประภา
 

Mais de ชิตชัย โพธิ์ประภา (20)

ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
 
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
 
ทหารหาญ
ทหารหาญทหารหาญ
ทหารหาญ
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้ง
 
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
 
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
 
1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
 
ตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงานตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงาน
 
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงานรายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 

แสง และการมองเห็น

  • 1. 1
  • 2. เรื่อง แสงและการมองเห็น 1. การแทรกสอด 2. การเลียวเบนของแสง ้ 3. เกรตติง 4. การกระเจิงของแสง 5. การเคลือนทีและอัตราเร็ว ่ ่ ของแสง โดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 2
  • 3. เรื่อง แสงและการมองเห็น 6. การสะท้ อนของแสง 7. การหักเหของแสง 8. เลนส์ บาง 9. ปรากฏการณ์ ทางแสง 10. ทัศนอุปกรณ์ โดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 3
  • 4. เรื่อง แสงและการมองเห็น 11. ความสว่ าง 12. ตาและการมองเห็น 13. สี 14. ปรากฏการณ์ ทางแสง โดยครู ชิตชัย โพธิ์ประภา 4
  • 5. คุณสมบัตของแสง ิ 1. การสะท้ อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลียวเบน ้ 5
  • 6. N2 A1 N1 A0 N1 A1 N A2 2A 2 s1 s2 การแทรกสอด 6
  • 7. 7
  • 8. 8
  • 9. การแทรกสอด P s1 d q s2 R L 9
  • 12. การแทรกสอด |S1P - S2P| = nl dsinq = nl d x = nl L 12
  • 13. แถบสว่ าง แถบมืด 1 |S1P - S2P| = nl |S1P - S2P| = (n- )l 2 dsinq = nl 1 dsinq = (n- )l 2 d x = nl L d x = (n- )l L 1 2 13
  • 14. ตัวอย่ าง 1. สลิตคู่มช่องห่ างกัน 500 mmเมื่อแสง ี ความยาวคลืน 470 nm ผ่ านสลิตเกิดการ ่ แทรกสอดบนฉากซึ่งห่ างสลิต 1 m แถบสว่ างที่ 3 อยู่ห่างจากจุดกึงกลางของ ่ แถบสว่ างกลางเท่ าใด 14
  • 15. ตัวอย่ าง 3. ฉายแสงความยาวคลืน 600 nm ผ่ าน ่ ชองแคบคู่ขนาด 30 mm ปรากฏแถบการ แทรกสอดบนฉากห่ างออกไป 1 m แถบ สว่ างที่ 3 เบนจากแนวกลางเป็ นระยะ เท่ าใด และแถบมืดแต่ ละแถบห่ างกันเท่ าใด 15
  • 16. ตัวอย่ าง 4. แสงผ่ านช่ องแคบคู่ แถบสว่ างแถบที่ 2 เบนจากแนวกลาง 30 0 จงหาว่ าระยะ ระหว่ างช่ องแคบเป็ นกีเ่ ท่ าของความยาว คลืน ่ 16
  • 17. ตัวอย่ าง 5. สลิตคู่อยู่ห่างกัน 100 mm วางอยู่ห่าง จากฉาก 1m เมื่อมีแสงความยาวคลืน ่ 400 nmผ่ านสลิต จะทาให้ เกิดแถบสว่ าง บนฉากแถบสว่ าง 2 แถบทีอยู่ถดกันจะ ่ ั อยู่ห่างกันเท่ าใด 17
  • 18. การเลียวเบนของแสง ้ ผู้ทค้นพบปรากฏการณ์ การเลียวเบน ี่ ้ ของแสงเป็ นคนแรกคือ กริมัลดิ(Francesco Maria Grimaldi) ในปี 2203 18
  • 19. การเลียวเบนของแสง ้ จากการทดลองพบว่ า เมื่อให้ แสงผ่ าน สลิตทีแคบ โดยให้ ความยาวคลืนแสงมีค่า ่ ่ มากกว่ าความกว้ างของช่ องสลิต จะเกิด ปรากฏการณ์ เลียวเบนมีผลให้ แถบสว่ าง ้ และแถบมืดสลับกันไป 19
  • 20. การเลียวเบนของแสง ้ เมื่อใช้ แสงความยาวคลืนเดียวส่ องผ่ าน ่ สลิตโดยให้ ระยะของแหล่ งกาเนิดแสงอยู่ ไกลมากเทียบกับความกว้ างของช่ องสลิต เราจึงอาจประมาณได้ ว่าคลืนแสงทีมาตก ่ ่ กระทบสลิตนั้นเป็ นคลืนระนาบ ่ 20
  • 21. การเลียวเบนของแสง ้ และโดยใช้ หลักของฮอยเกนส์ ทถอว่ า ี่ ื ทุก ๆ จุดบนสลิตจะทาหน้ าทีเ่ สมือนแหล่ ง กาเนิดคลืนอาพันธ์ ใหม่ และคลืนเหล่ านี้ ่ ่ เมื่อพบกันก็จะเกิดการแทรกสอดกัน จึงทา ให้ เกิดแถบมืดและแถบสว่ าง สลับกันไป 21
  • 22. การเลียวเบนของแสง ้ โดยแถบสว่ างกลางจะกว้ างและสว่ าง มากทีสุด และถ้ าเราเพิมความกว้ างของ ่ ่ สลิต ความกว้ างของแถบสว่ างกลางจะ ลดลง แต่ ถ้าลดความกว้ างของสลิตลง จะทาให้ แถบสว่ างกลางกว้ างขึน ส่ วน ้ แถบสว่ างถัดไปจะมีความสว่ างลดลง ๆ 22
  • 23. การเลียวเบนของแสง ้ P มืด A สว่ าง d B q O C D มืด L d sin q = nl สว่ าง 23
  • 25. การเลียวเบนของแสง ้ ปรากฏการณ์ การเลียวเบนของแสง ้ โดยสลิตเดียว และการแทรกสอดของ ่ แสงโดยสลิตคู่ จะเกิดขึนพร้ อมกันเสมอ ้ 25
  • 26. ตัวอย่ าง 6. แสงมีความยาวคลืน 600 nm ตกตั้ง ่ ฉากผ่ านสลิตเดียวทีกว้ าง 500 mm ขอบ ่ ่ ของแถบสว่ างกลางอยู่เหนือแนวกลาง เป็ นมุมเท่ าใด 26
  • 27. ตัวอย่ าง 7. ต้ องวางสลิตเดียวห่ างจากฉากเท่ าใด ่ เมื่อให้ แสงความยาวคลืน 500 nm ผ่ าน ่ สลิตเดียวทีมีความกว้ าง 100 mm แล้ ว ่ ่ ทาให้ จุดสว่ างกลางห่ างจากแถบมืด แถบ ที่ 1 บนฉากเป็ นระยะ 4 mm 27
  • 28. เกรตติง เกรตติงมีลกษณะเป็ นแผ่ น ประกอบ ั ด้ วยช่ องเล็กๆ เป็ นจานวนมากมาย ซึ่ง อาจมีได้ ต้งแต่ 1,000 ถึง 10,000 ช่ อง ั ต่ อเซนติเมตร โดยช่ องมีขนาดแคบมาก และอยู่ห่างกันเท่ ากัน 28
  • 29. เกรตติง P A d q O B D L d sin q = nl 29
  • 30. เกรตติง จากสมการจะเห็นว่ าถ้ าให้ แสงทีมีความ ่ ยาวคลืนต่ างกันผ่ านเกรตติง แถบสว่ าง ่ ของแสงแต่ ละความยาวคลืนจะเกิด ณ ที่ ่ ตาแหน่ งต่ าง ๆ กัน ดังนั้นถ้ าให้ แสงขาว ผ่ านเกรตติงจะพบว่ าแถบสว่ างของแสงสี ต่ าง ๆ จะเกิดขึน ณ ตาแหน่ งต่ างๆ กัน ้ 30
  • 31. ตัวอย่ าง 4. ถ้ าฉายแสงสี ม่วงผ่ านเกรตติงทีมีขนาด ่ 2000 ช่ อง/cm อยากทราบว่ า เราจะเห็น แสงสี ม่วงจุดแรกเบนจากแนวกลางเป็ น มุมเท่ าไร กาหนดความยาวคลืนแสงสี ม่วง ่ 450 nm 31
  • 32. แบบฝึ กหัด 1. เมื่อให้ แสงสี แดงผ่ านช่ องสลิตเดียวและ ่ ต้ องการให้ แถบมืดแถบแรกอยู่ห่างจาก แถบสว่ างกลางคิดเป็ นระยะทางมุม 30 0 จงหาความกว้ างของช่ องสลิต กาหนดให้ แสงสี แดงมีความยาวคลืน 680 nm ่ 32
  • 33. แบบฝึ กหัด 2. ช่ องสลิตคู่ห่างกัน 0.3 mm วางห่ างจาก ฉาก 1 m เมื่อฉายด้ วยแสงซึ่งมีความยาว คลืน 600 nm ในแนวตั้งฉากให้ ผ่านช่ อง ่ แคบไปยังฉาก จงหาระยะห่ างของ ตาแหน่ งของแถบสว่ างถัดจากแนวกลาง 33
  • 34. แบบฝึ กหัด 3. เกรตติงอันหนึ่งมี 4,000 ช่ อง/cm ถ้ าให้ แสงมีความยาวคลืน 640 nm ส่ องผ่ านจะ ่ เห็นแถบสว่ างบนฉากทั้งหมดกีแถบ ่ 34
  • 35. การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง ่ ่ 1. วิธีของกาลิเลโอ จับเวลาการเดินทางของแสงระหว่ าง ยอดเขา 2 ลูก และสรุปได้ ว่าแสงมีอตรา ั เร็วสูงมาก แต่ ไม่ สามารถจับเวลาได้ 35
  • 36. การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง ่ ่ 2. วิธีของโรเมอร์ E2 E1 คานวณอัตราเร็วแสงได้ 2.2 x 10 8 m/s 36
  • 38. การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง ่ ่ ในการทดลองของฟิ โซ ใช้ ฟันเฟื อง 720 ซี่ จานวนรอบทีหมุนเฟื อง 12.80 รอบ/วินาที ่ ระยะจากเฟื องถึงกระจก 8.6 km คานวณอัตราเร็วแสงได้ 3.14 x 10 8 m/s 38
  • 39. การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง ่ ่ 4. วิธีของไมเกลสั น คานวณอัตราเร็วแสงได้ 2.997 x 10 8 m/s 39
  • 40. ในการทดลองของไมเกลสั น โดยส่ งลาแสง จาก Mt. Wilson ไปยัง Mt. San Antonio ซึ่งอยู่ห่างออกไป 35.426 km แล้ วสะท้ อน มายังล้ อที่มีกระจกติดรอบเป็ น 8 เหลียม ่ โดยหมุนล้ อด้ วยความถี่ 528.76 รอบ/s จะสามารถเห็นแสงจากแหล่ งกาเนิดแสงได้ คานวณอัตราเร็วแสงได้ 2.997 x 10 8 m/s 40
  • 41. การเคลือนทีและอัตราเร็วของแสง ่ ่ - อัตราเร็วของแสงในสุ ญญากาศมีค่า เท่ ากับ 299,792,458 m/s หรือประมาณ 3x10 8 m/s - เรียกระยะทางทีแสงเคลือนที่ได้ ใน 1 ปี ่ ่ ว่ า 1 ปี แสง เท่ ากับ 9.5x10 15 m 41
  • 42. การเกิดเงา เงาคือ อาณาเขตหลังวัตถุซึ่งแสงทีฉาย ่ ไปตกกระทบวัตถุน้ันไม่ สามารถเดินทาง ไปถึง แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด คือ 1.เงามืด 2.เงามัว 42
  • 44. ตัวอย่ าง 1. โป๊ ะไฟหน้ ากระจกฝ้ าทรงกลมรัศมี 10 cm และลูกเทนนิสรัศมี 2 cm วางโดย จุดศูนย์ กลางทั้งสองห่ างกัน 1 m เกิดเงา มืดและเงามัวบนฉากทีวางใกล้ ลูกเทนนิส ่ พอควร จงหาตาแหน่ งทีใกล้ ทสุดทีไม่ ่ ี่ ่ สามารถมองเห็นเงามืดเลย 44
  • 45. ตัวอย่ าง 2. จุดกาเนิดแสงวางอยู่ทางซ้ ายมือของ แผ่ นกลมทึบแสงเป็ นระยะ 42 cm แผ่ น กลมมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 1.5 cm ทางด้ าน ขวามือห่ างจากแผ่ นกลมออกไป 1.26 cm เป็ นฉากซึ่งมีระนาบขนานกับแผ่ นนี้ จงหารัศมีของเงาทีเ่ กิดบนฉาก 45
  • 46. ตัวอย่ าง 3. ทรงกลมลูกหนึ่งมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 10 cm วางหน้ าแหล่ งกาเนิดเป็ นจุดห่ าง 20 cm จะต้ องนาฉากไปกั้นด้ านหลังห่ าง จากวัตถุเท่ าไร เพือให้ ขนาดของเงามืด ่ บนฉากมีเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 4 เท่ าของ วัตถุ 46
  • 47. ตัวอย่ าง 4. แหล่ งกาเนิดแสงทรงกลมรัศมี 3 cm ห่ างจากวัตถุทรงกลมเป็ นระยะ 60 cm ทาให้ เกิดเงามืดเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง 2 cm และรัศมีของเงามัวเท่ ากับ 4 cm แล้ ว รัศมีของวัตถุทรงกลมเป็ นเท่ าไร 47
  • 48. สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต 1. กฎการสะท้ อนของแสง เส้ นแนวฉาก มุมสะท้ อน มุมตกกระทบ รังสี ตกกระทบ ir รังสี สะท้ อน 48
  • 49. สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต โดยทัวไปการสะท้ อนจะขึนอยู่กบ ่ ้ ั ลักษณะผิวของวัตถุ 49
  • 50. สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต สาหรับวัตถุระนาบทีมผวเรียบ ่ ี ิ เป็ นมัน เช่ นกระจก รังสี สะท้ อน จะไปทิศเดียวกัน 50
  • 51. สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต สาหรับวัตถุระนาบทีมผวขรุขระ ่ ี ิ เช่ นผ้ า กระดาษ รังสี สะท้ อนจะมีทศ ิ ต่ าง ๆ กัน 51
  • 52. สมบัติของแสงเชิงเรขาคณิต ถ้ าให้ รังสี ของแสงตกกระทบทีผวราบ ่ ิ ผิวโค้ งเว้ า หรือโค้ งนูน การสะท้ อนทีแต่ ่ ละผิวก็ยงให้ ผลเช่ นเดิม คือ ั รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้ อน และ เส้ นแนวฉากจะอยู่บนระนาบเดียวกัน และมุมตกกระทบเท่ ากับมุมสะท้ อน 52
  • 54. สรุปกฎการสะท้ อนของแสง 1. ณ ตาแหน่ งทีแสงตกกระทบ รังสี ตก ่ กระทบ รังสี สะท้ อน และเส้ นแนวฉาก อยู่ในระนาบเดียวกัน 2. มุมตกกระทบเท่ ากับมุมสะท้ อน 54
  • 56. การเกิดภาพในกระจกเงาราบ เมือวางวัตถุไว้ หน้ ากระจกเงาราบ ซึ่ง ่ เป็ นผิวราบทีสะท้ อนแสงได้ ดี จะมองเห็น ่ ภาพของวัตถุซึ่งเกิดจากการสะท้ อนของ แสงทีกระจก ระยะทีลากจากวัตถุไปตั้ง ่ ่ ฉากกับผิวกระจก เรียกว่ า ระยะวัตถุ 56
  • 57. การเกิดภาพในกระจกเงาราบ และระยะทีลากจากภาพไปตั้งฉากกับ ่ ผิวกระจก เรียกว่ า ระยะภาพ 57
  • 58. การเขียนรังสี สะท้ อนจากกระจกเงาราบ 1. ลากรังสี ตกกระทบจากจุดหนึ่งๆ ของ วัตถุ ไปตกกระทบยังจุดใด ๆ บนกระจก 2. ลากรังสี สะท้ อนโดยใช้ กฎการสะท้ อน ของแสง 3. ลากเส้ นต่ อจากรังสี สะท้ อนออกมาด้ าน หลังกระจก 58
  • 59. การเขียนรังสี สะท้ อนจากกระจกเงาราบ 4. ทาเช่ นเดิมโดยเปลียนตาแหน่ งทีรังสี ่ ่ ไปตกกระทบกระจก 5. จุดตัดกันของรังสี ทลากจาก ี่ รังสี สะท้ อน คือตาแหน่ งทีเ่ กิดภาพ 59
  • 60. Q r B i=r i a = a' h P a a' P ' S A S ' tan a = hS tan a' = h ' S S=S ' 60
  • 61. Q r B i h a a' ' P S A S ' P 61
  • 62. สรุป ขนาดของภาพทีได้ จากการวางวัตถุ ่ ไว้ หน้ าผิวสะท้ อนราบใด ๆ จะเท่ ากับ ขนาดของวัตถุ และระยะภาพเท่ ากับ ระยะวัตถุเสมอ 62
  • 63. ตัวอย่ าง ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ ้ 1. 63
  • 64. ตัวอย่ าง ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ ้ 2. 64
  • 65. ตัวอย่ าง ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ ้ 3. 65
  • 66. ตัวอย่ าง ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ ้ 4. 66
  • 67. ตัวอย่ าง ให้ เขียนภาพทีเ่ กิดขึนในแบบต่ างๆ ้ 5. 67
  • 68. สรุป ภาพของวัตถุในกระจกเงาราบนั้น เป็ นภาพทีเ่ กิดจากรังสี สะท้ อนมาเข้ า ตาโดยเสมือนว่ า รังสี น้ันมาจากภาพ ซึ่งอยู่ด้านหลังของกระจก และถ้ านา ฉากไปวาง ณ ตาแหน่ งนั้นจะไม่ มีภาพ ปรากฏบนฉาก ภาพที่เกิดขึนในลักษณะ ้ เช่ นนีเ้ รียกว่ าภาพเสมือน 68
  • 69. B B ' Q E F P A A' S S ' 69
  • 70. B B ' Q E O F S S ' 70
  • 71. E O F P A' A ' S S 71
  • 72. B Q E 1 PQ  AB 2 P A ' S S 72
  • 73. ตัวอย่ าง 8 ชายคนหนึ่งสู ง 170 cm ยืนอยู่ หน้ ากระจกทีต้งในแนวดิง โดยตาอยู่สูง ่ ั ่ จากพืน 160 cm เขาเห็นภาพเต็มตัวพอดี ้ ก. กระจกต้ องมีความสู งอย่ างน้ อยเท่ าใด ข. ขอบกระจกล่ างอยู่สูงจากพืนเท่ าใด ้ ค. ขอบกระจกบนอยู่สูงจากพืนเท่ าใด ้ 73
  • 74. ตัวอย่ าง 9 ตั้งกระจกแนวดิง ดูต้นไม้ ซึ่ง ่ ห่ างจากกระจก 10 m จะเห็นต้ นไม้ ท้งต้ นั ถ้ ากระจกสู ง 5 cm ต้ นไม้ จะสู งเท่ าใด 30cm 74
  • 75. 1.ชายคนหนึ่งยืนหน้ ากระจกเงาราบโดยห่ าง จากกระจกเป็ นระยะ x เมตร ถ้ าเขาถอยออก ห่ างจากตาแหน่ งเดิม y เมตร (y < x ) ภาพ ของชายคนนั้นจะอยู่ห่างจากตาแหน่ งทีเ่ กิด ภาพเดิมเท่ าใด และถ้ าชายคนนียนที่เดิมแต่ ้ื เลือนกระจกห่ างออกไปจากตาแหน่ งเดิม y ่ เมตร ภาพของชายคนนั้นจะอยู่ห่างจาก ตาแหน่ งเดิมเท่ าใด 75
  • 76. 2.ชายคนหนึ่งวิงเข้ าหากระจกราบใน ่ แนวตั้งฉากกับผิวกระจก เขาเห็นภาพ ของเขาวิงเข้ าหาเขาด้ วยความเร็ว x ่ เมตร/วินาที เขาวิงด้ วยความเร็วเท่ าไร ่ ในหน่ วย เมตร/วินาที 76
  • 77. 3.ในการเลือนกระจกหนีคนด้ วยความ ่ เร็ว 2 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที ภาพในกระจกจะเคลือนที่ได้ ระยะทาง ่ เท่ าใด 77
  • 78. 4.ชายคนหนึ่งยืนบนยอดเขาสู ง 10 m ห่ างจากฝั่ง 20 m สามารถมองเห็นยอด เขาฝั่งตรงข้ ามทีสะท้ อนจากผิวนาได้ ่ ้ พอดีถ้ายอดเขาฝั่งตรงข้ ามห่ างจุด สะท้ อนในแนวราบเป็ นระยะทาง 4000 m ยอดเขาฝั่งตรงข้ ามจะสู งเท่ าใด 78
  • 79. ถ้ าแสงตกกระทบกระจกราบทามุมq เส้ นปกติ ถ้ าเบนกระจกไปจากเดิม a แสงสะท้ อนจะเบนไปจากเดิมเท่ าไร N1 N 2 A C1 a C2 ? q q a B 79
  • 80. กระจกเงา 2 บานวางทามุมกัน 60 0 นา วัตถุมาวางระหว่ างกระจกทั้งสองนั้น ถ้ ามองภาพของวัตถุผ่านกระจกบานใด บานหนึ่งจะเห็นภาพกีภาพ ่ 80
  • 82. R R C O C O จุด C คือจุดศูนย์ กลางของทรงกลม ซึ่ง เป็ นศูนย์ กลางความโค้ งของกระจกด้ วย รัศมีของทรงกลม R เรียกว่ ารัศมีความโค้ ง ของกระจก เส้ นทีลากผ่ านจุด C ไปหา ่ กระจก ณ ตาแหน่ ง O ทีเ่ ป็ นจุดใจกลางบน ผิวโค้ ง เรียกว่ า เส้ นแกนมุขสาคัญ 82
  • 83. R R C O C O และจุดใจกลางบนผิวกระจกโค้ งเรียกว่ า จุดยอด ถ้ าผิวโค้ งเว้ าเป็ นผิวสะท้ อนแสง จะเรียกว่ า กระจกเว้ า ถ้ าผิวโค้ งนูนเป็ นผิวสะท้ อนแสง จะเรียกว่ ากระจกนูน 83
  • 84. การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน C O 1.เมื่อมีรังสี มาตกกระทบทีผวโค้ งเส้ น ่ ิ แนวฉากจะต้ องมีทศตั้งฉากกับผิวของ ิ กระจกทีจุดนั้น ่ 84
  • 85. การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน F C O 2.เมื่อให้ รังสี ตกกระทบขนานกับเส้ นแกน มุขสาคัญของกระจกเว้ า รังสี สะท้ อนจะ มาตัดกันทีจุด ๆ หนึ่ง ซึ่งอยู่หน้ ากระจก ่ และอยู่บนเส้ นแกนมุขสาคัญ ห่ างจากจุด 85
  • 86. การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน R F f C O 2 ห่ างจากจุดยอดของกระจกเท่ ากับครึ่ง หนึ่งของรัศมีความโค้ งของกระจก จุดนี้ เรียกว่ า จุดโฟกัส และระยะทางจากจุด ยอดถึงจุดโฟกัส เรียกว่ า ความยาวโฟกัส 86
  • 87. การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน C O ในทานองเดียวกัน ถ้ าวางแหล่ งกาเนิด แสงไว้ ทจุดโฟกัส รังสี สะท้ อนออกจาก ี่ กระจกเว้ าจะเป็ นลาแสงขนาน 87
  • 88. การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน C O ในกรณีของกระจกนูน รังสี ตกกระทบ ของแสงขนานกับแกนมุขสาคัญ รังสี สะท้ อนจะเบนออกตามกฎการสะท้ อน 88
  • 89. การเขียนรังสี ตกกระทบ และรังสี สะท้ อน C O ถ้ าต่ อแนวรังสี สะท้ อนย้ อนกลับไปพบ กัน จะได้ จุดตัดกันของรังสี ทจุดเสมือน ี่ จุดโฟกัส หลังกระจก บนแกนมุขสาคัญ 89
  • 90. ในกรณีทลาแสงขนานกัน แต่ ไม่ ขนาน ี่ กับเส้ นแกนมุขสาคัญ ลาแสงจะไปตัดกัน ทีจุด ๆ หนึ่ง บนระนาบของจุดโฟกัส ่ O 90
  • 91. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 1. s > 2f C F O 2f > s’ > f 91
  • 92. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 2. s = 2f C F O s’ = 2f 92
  • 93. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 3. 2f > s > f C F O s’ > 2f 93
  • 94. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 4. s = f C F O s’ =  94
  • 95. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 5. s < f C F O 95
  • 96. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 1. s > 2f C F O F C 2f > s’ > f 96
  • 97. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 2. s = 2f C F O F C 2f > s’ > f 97
  • 98. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 3. 2f > s > f C F O F C 2f > s’ > f 98
  • 99. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 4. s = f C F O F C 2f > s’ > f 99
  • 100. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ กรณีทวตถุเป็ นจุดวางอยู่บนแกนมุขสาคัญ ี่ ั 5. s < f C F O F C 100
  • 101. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ 1. s > 2f C F O 2f > s’ > f 101
  • 102. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ 2. s = 2f C F O s’ = 2f 102
  • 103. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ 3. 2f > s > f C F O s’ > 2f 103
  • 104. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ 4. s = f C F O s’ =  104
  • 105. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกเว้ า ่ 5. s < f C F O F C 105
  • 106. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ 1. s > 2f C F O F C 106
  • 107. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ 2. s = 2f C F O F C 107
  • 108. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ 3. 2f > s > f C F O F C 108
  • 109. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ 4. s = f C F O F C 109
  • 110. การหาตาแหน่ งภาพของวัตถุ ทีวางหน้ ากระจกนูน ่ 5. s < f C F O F C 110
  • 111. C F O 111
  • 112. 1.ชายคนหนึ่งยืนหน้ ากระจกเงาราบโดยห่ าง จากกระจกเป็ นระยะ x เมตร ถ้ าเขาถอยออก ห่ างจากตาแหน่ งเดิม y เมตร (y < x ) ภาพ ของชายคนนั้นจะอยู่ห่างจากตาแหน่ งทีเ่ กิด ภาพเดิมเท่ าใด และถ้ าชายคนนียนที่เดิมแต่ ้ื เลือนกระจกห่ างออกไปจากตาแหน่ งเดิม y ่ เมตร ภาพของชายคนนั้นจะอยู่ห่างจาก ตาแหน่ งเดิมเท่ าใด 112
  • 113. 2.ชายคนหนึ่งวิงเข้ าหากระจกราบใน ่ แนวตั้งฉากกับผิวกระจก เขาเห็นภาพ ของเขาวิงเข้ าหาเขาด้ วยความเร็ว x ่ เมตร/วินาที เขาวิงด้ วยความเร็วเท่ าไร ่ ในหน่ วย เมตร/วินาที 113
  • 114. 3.ในการเลือนกระจกหนีคนด้ วยความ ่ เร็ว 2 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที ภาพในกระจกจะเคลือนที่ได้ ระยะทาง ่ เท่ าใด 114
  • 115. 4.ชายคนหนึ่งยืนบนยอดเขาสู ง 10 m ห่ างจากฝั่ง 20 m สามารถมองเห็นยอด เขาฝั่งตรงข้ ามทีสะท้ อนจากผิวนาได้ ่ ้ พอดีถ้ายอดเขาฝั่งตรงข้ ามห่ างจุด สะท้ อนในแนวราบเป็ นระยะทาง 4000 m ยอดเขาฝั่งตรงข้ ามจะสู งเท่ าใด 115
  • 116. ถ้ าแสงตกกระทบกระจกราบทามุมq เส้ นปกติ ถ้ าเบนกระจกไปจากเดิม a แสงสะท้ อนจะเบนไปจากเดิมเท่ าไร N1 N 2 A C1 a C2 ? q q a B 116
  • 117. กระจกเงา 2 บานวางทามุมกัน 60 0 นา วัตถุมาวางระหว่ างกระจกทั้งสองนั้น ถ้ ามองภาพของวัตถุผ่านกระจกบานใด บานหนึ่งจะเห็นภาพกีภาพ ่ 117
  • 118. ตัวอย่ าง 10 เมือนาวัตถุสูง 5 cm วาง ่ หน้ ากระจกเว้ าความยาวโฟกัส 10 cm ห่ างจากกระจก 15 cm จงหาตาแหน่ ง ความสู งและชนิดของภาพ 118
  • 119. ตัวอย่ าง 11 เมือนาวัตถุสูง 5 cm วาง ่ หน้ ากระจกนูนความยาวโฟกัส 10 cm จงหาตาแหน่ ง ความสู งและชนิดของ ภาพ เมื่อ 1. วางวัตถุห่างกระจก 5 cm 2. วางวัตถุห่างกระจก 20 cm 119
  • 120. 5. วางวัตถุอนหนึ่งหน้ ากระจกโค้ ง ั ซึ่งมีความยาวโฟกัส 20 cm ปรากฏ ว่ าได้ ภาพเสมือน โดยมีกาลังขยาย 0.1 ระยะวัตถุจะเป็ นเท่ าใด 120
  • 121. 6. ถ้ าอยากเห็นหน้ าของตัวเองในกระจก ห่ างจากกระจก 12 cm ให้ ขยายขึนเป็ น ้ 2 เท่ า จะต้ องใช้ กระจกชนิดใด ความยาวโฟกัสเท่ าใด 121
  • 122. 7. จงหารัศมีความโค้ งของกระจกนูน ซึ่งทาให้ เกิดภาพทีมีขนาดเป็ น 1/5 ของ ่ วัตถุ เมือวัตถุอยู่ห่างจากกระจก 15 cm ่ 122
  • 123. 8. ดินสอยาว 30 cm วางไว้ ตามแนวแกน หน้ ากระจกเว้ าซึ่งมีรัศมีความโค้ ง 60 cm โดยให้ ปลายใกล้ อยู่ทจุดศูนย์ กลางของ ี่ ความโค้ งของกระจก ภาพที่เกิดจะมี ความยาวเท่ าใด 123
  • 124. เมื่อแสงผ่ านผิวรอยต่ อระหว่ างอากาศ กับแท่ งพลาสติก หรือระหว่ างพลาสติก กับอากาศ แสงจะเบนออกจากแนวเดิม เรียกปรากฎการณ์ นีว่า การหักเหแสง ้ q1 q2 q3 q4 124
  • 125. ดังนั้นจึงสรุปได้ ว่า แสงจะมีการหักเห เมื่อแสงเคลือนที่จากตัวกลางหนึ่งไปยัง ่ อีกตัวกลางหนึ่ง และในขณะเดียวกันก็มี การสะท้ อนของแสงทีผวรอยต่ อด้ วย ่ ิ 125
  • 126. สาหรับมุมตกกระทบค่ าหนึ่ง อัตรา ส่ วนระหว่ างไซน์ ของมุมตกกระทบกับ ไซน์ ของมุมหักเหมีค่าคงตัว ความสั ม- พันธ์ นีเ้ รียกว่ า กฎของสเนลล์ 1 q1 sin q1 2 n q2 sin q 2 126
  • 127. ค่ าคงตัวนีเ้ รียกว่ า ดรรชนีหักเหของ วัตถุ หรืออาจเรียกว่ า ดรรชนีหักเหของ วัตถุเทียบกับตัวกลางแรก 1 q1 sin q1 2 n q2 sin q 2 127
  • 128. โดยทัวไปนิยมกาหนดดรรชนีหักเห ่ ของวัตถุ หรือตัวกลางต่ าง ๆ เทียบกับ สุ ญญากาศ เช่ นอากาศมีค่าดรรชนีหักเห ของอากาศเทียบกับสุ ญญากาศประมาณ 1.0003 128
  • 129. สรุปกฎการหักเหของแสง 1. รังสี ตกกระทบ รังสี หักเห และเส้ นแนว ฉาก อยู่บนระนาบเดียวกันเสมอ 2. สาหรับตัวกลางคู่หนึ่ง อัตราส่ วน ระหว่ างไซน์ ของมุมตกกระทบในตัว กลางหนึ่งกับไซน์ ของมุมหักเหในอีก ตัวกลางหนึ่งมีค่าคงตัวเสมอ 129
  • 130. ดรรชนีหักเหของตัวกลางคือ อัตราส่ วน ระหว่ างความเร็วแสงในสุ ญญากาศต่ อ ความเร็วแสงในตัวกลางนั้น c n= v n2 = sin q 1 = v1 = l1 1 n2 = n sinq 2 v2 l2 1 130
  • 131. -เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางหนึ่งไปยัง อีกตัวกลางหนึ่ง ปริมาณใดทีไม่ เปลียน ่ ่ แปลง -ให้ แสงเคลือนทีผ่านตัวกลาง อากาศ นา ่ ่ ้ และแก้ ว ในตัวกลางคู่ใดทีจะทาให้ เกิด ่ มุมวิกฤติมค่าน้ อยทีสุด ี ่ 131
  • 133. ตัวอย่ าง 1 แสงเคลือนทีจากแท่ งแก้ วไป ่ ่ สู่ อากาศมีมุมตกกระทบกับผิวรอยต่ อ เป็ น 30 0 ปรากฏว่ าแสงหักเหออกมาทา มุม 45 0 จงหาดรรชนีหักเหของแท่ งแก้ ว นี้ 133
  • 134. ตัวอย่ าง 2 แสงเดินทางจากตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B โดยมีมุมตกกระทบ 37 0 และมุมหักเห 53 0 จงหาดัชนีหักเหของ ตัวกลาง A เทียบกับ B 134
  • 135. ตัวอย่ าง 3 ให้ รังสี ของแสงทามุมตก กระทบ 60 0 กับแท่ งแก้ ว ซึ่งมีดชนีหักเห ั เป็ น 3 รังสี หักเหจะทามุมกับผิวแก้ ว เท่ าไร 135
  • 136. ตัวอย่ าง 4 เมื่อให้ แสงเดินทางจากนาไป ้ สู่ แก้ วโดยมีมุมตกกระทบ 30 0 จงหามุม หักเหในแก้ ว 136
  • 137. ตัวอย่ าง 5 แสงความยาวคลืน 589 นาโน ่ เมตร เดินทางจากสุ ญญากาศเข้ าสู่ ซิลกา ิ ด้ วยความเร็ว 2.06 m/s ดรรชนีหักเหของ ซิลกาเป็ นเท่ าใด ิ 137
  • 138. ตัวอย่ าง 6 ตัวกลางทีมีดชนีหักเหของแสง ่ ั เท่ ากับ n2 และ n3 วางซ้ อนกันอยู่บนพืน ้ ห้ อง เมือฉายไฟเข้ าสู่ ตวกลางทีมดชนี ่ ั ่ ี ั หักเห n2 แสงจะเดินทางหักเหดังรู ป จงหา n3 0 453n 300 n2 600 138
  • 139. ตัวอย่ าง 7 แท่ งแก้ วหนา 0.6 cm มีดชนี ั หักเห 1.55 cm จงหาเวลาที่แสงเดินทาง ผ่ านแท่ งแก้ วนี้ 139
  • 141. การสะท้ อนกลับหมด เรียกมุมตกกระทบทีทาให้ รังสี หักเห ่ ขนานไปกับผิวรอยต่ อว่ า มุมวิกฤต qC และถ้ ามุมตกกระทบโตกว่ ามุมวิกฤตจะ ไม่ มีรังสี หักเหออกมาแต่ จะมีเฉพาะรังสี สะท้ อนเท่ านั้น ปรากฏการณ์ นีเ้ รียกว่ า การสะท้ อนกลับหมด 141
  • 142. ตัวอย่ าง 8 เพชรเทียมมีดชนีหักเหเป็ น ั 2.0 มุมวิกฤต หรือมุมตกกระทบในเพชร ต้ องเป็ นเท่ าใดจึงจะเกิดการสะท้ อนกลับ หมด 142
  • 143. ตัวอย่ าง 9 ถ้ ามุมวิกฤตของเพชรเท่ ากับ sin -1 0.413 แสงจะเดินทางในเพชรด้ วย ความเร็วเท่ าใด 143
  • 144. ตัวอย่ าง 10 เมือแสงผ่ านจากวัตถุหนึ่ง ่ ไปยังนาซึ่งมีดชนีหักเห 4/3 ปรากฏว่ า ้ ั เกิดมุมวิกฤต 30 0 ค่ าดัชนีหักเหของวัตถุ นีเ้ ป็ นเท่ าไร 144
  • 145. ความลึกจริงลึกปรากฎ n2 = ลึกปรากฎ cosq 1 n1 ลึกจริง cosq 2 q2 ลึกปรากฎ q1 ลึกจริง 145
  • 146. ความลึกจริงลึกปรากฎ n2 = ลึกปรากฎ n1 ลึกจริง ลึกปรากฎ ลึกจริง 146
  • 147. ตัวอย่ าง 11 ปลาอยู่ในนาทีระดับความลึก ้ ่ จากผิวนา 2m ความลึกปรากฎของปลา ้ เป็ นเท่ าใด เมือผู้สังเกตมองปลาในแนวดิง ่ ่ ตรงตัวปลา กาหนดให้ ดรรชนีหักเหของ นาเป็ น 4/3 ้ 147
  • 148. ตัวอย่ าง 12 สะพานข้ ามคลองสู งจากผิว นา 3 m ชายคนหนึ่งดานาอยู่ใต้ สะพาน ้ ้ ในแนวดิง เขาจะเห็นสะพานอยู่สูงจาก ่ ผิวนาเท่ าใด ้ 148
  • 149. ตัวอย่ าง 13 แท่ งแก้ วแท่ งหนึ่งหนา dวาง ทับตัวหนังสื อ เมื่อมองตรง ๆ จะเห็นตัว หนังสื อลอยขึนมาเท่ าใด ้ 149
  • 150. ตัวอย่ าง 14 ปลามองเห็นนกเกาะบนกิงไม้ ่ สู ง10 m ขณะทีปลาอยู่ลกจากผิวนา 3 m ่ ึ ้ ถ้ าดัชนีหักเหของนาเป็ น 4/3 ปลาและนก ้ จะอยู่ห่างกันเท่ าไร 150
  • 151. ตัวอย่ าง 15 จากรู ป จงหา air 300 370 1 2 450 air q 1.มุม q เป็ นเท่ าไร 2. ดัชนีหักเหในตัวกลางที่ 1 3. 1n2 มีค่าเท่ าไร 151
  • 152. ตัวอย่ าง 16 จากรู ป มองเหรียญทีอยู่ใน ่ แก้ วทีมีนาและนาแข็งซึ่งมีดชนีหักเห ่ ้ ้ ั 1.33 และ 1.31 ตามลาดับ จะรู้ สึกว่ า เหรียญอยู่ห่างจากผิวบนของนาแข็ง ้ เท่ าไร 3.45 นา ้ นาแข็ง ้ 6.65 152
  • 153. ตัวอย่ าง 17 แท่ งแก้ วหนา 9 cm อยู่ใต้ ผว ิ นาโดยผิวบนลึก 10 cm แท่ งแก้ วทับวัตถุ ้ บาง ๆ อยู่ เมือมองดูจะเห็นวัตถุบาง ๆ ่ แผ่ นนั้นอยู่สูงจากเดิมเท่ าไร กาหนดให้ ดรรชนีหักเหของแก้ ว และ นาเป็ น 3/2 และ 4/2 ตามลาดับ ้ 153
  • 154. ตัวอย่ าง 20 เมือมองดูปลาในบ่ อ โดย ่ มองตรงตั้งฉากกับผิวนาเห็นปลาว่ ายนา ้ ้ ขึนมาตรง ๆ ด้ วยอัตราเร็ว x m/s ถ้ าดัชนี ้ หักเหของนา n ปลาจะว่ ายนาขึนมาด้ วย ้ ้ ้ อัตราเร็วจริงเท่ าใด 154
  • 156. เมื่อให้ แสงเคลือนทีผ่านเลนส์ จะมี ่ ่ การหักเห เมื่อแสงเคลือนที่ผ่านผิวรอย ่ ต่ อเข้ าไปในเลนส์ และจะหักเหอีกครั้ง เมือแสงเคลือนทีออกจากเลนส์ สู่ อากาศ ่ ่ ่ 156
  • 157. เมือให้ แสงขนาผ่ านเลนส์ นูนรังสี ่ หักเหจะไปตัดกันจริงทีจุด ๆ หนึ่ง บน ่ เส้ นแกนมุขสาคัญ เรียกจุดนีว่าจุดโฟกัส ้ ซึ่งเป็ นตาแหน่ งทีเ่ กิดภาพของวัตถุที่ อยู่ไกลจากเลนส์ มาก F 157
  • 158. และเมื่อให้ แสงขนาผ่ านเลนส์ เว้ ารังสี หักเหจะถ่ างออก และเมื่อต่ อแนวรังสี หักเหผ่ านเลนส์ เว้ า จะมาตัดกันทีจุดหนึ่ง ่ บนเส้ นแกนมุขสาคัญ ซึ่งเป็ นจุดโฟกัส ของเลนส์ เว้ า F 158
  • 159. การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ 1. ลากรังสี ตกกระทบขนานกับเส้ นแกน มุขสาคัญ เมือหักเหผ่ านเลนส์ แสงจะ ่ ผ่ านจุดโฟกัสของเลนส์ R F' O F R 159
  • 160. การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ 2. ลากรังสี ตกกระทบให้ ผ่านศูนย์ กลาง เลนส์ และเมื่อผ่ านเลนส์ แล้ วรังสี หักเห จะออกไปในแนวเดิม R F' O F R 160
  • 161. การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ 3. เมื่อลากให้ รังสี ตกกระทบผ่ านระยะ โฟกัส เมื่อผ่ านเลนส์ แล้ วรังสี หักเหจะ ขนานกับเส้ นแกนมุขสาคัญ R F' O F R 161
  • 162. การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ 1. ลากรังสี ตกกระทบขนานกับเส้ นแกน มุขสาคัญ เมือหักเหผ่ านเลนส์ แสงเบน ่ ออก และลากเส้ นต่ อแนวรังสี ผ่านจุด โฟกัส R F O F R ' 162
  • 163. การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ 2. ลากรังสี ตกกระทบให้ ผ่านศูนย์ กลาง เลนส์ และเมื่อผ่ านเลนส์ แล้ วรังสี หักเห จะออกไปในแนวเดิม R F O F' R 163
  • 164. การหาตาแหน่ งของภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ 3. เมื่อลากให้ รังสี ตกกระทบผ่ านระยะ โฟกัส เมื่อผ่ านเลนส์ แล้ วรังสี หักเหจะ ขนานกับเส้ นแกนมุขสาคัญ R F O F' R น ว 164
  • 165. จากการหาตาแหน่ งภาพทีเ่ กิดขึน ้ ภาพทีเ่ กิดขึนด้ านหลังเลนส์ เป็ นภาพที่ ้ เกิดจากรังสี หักเหมาตัดกันจริง และภาพ ทีเ่ กิดขึนทีตาแหน่ งนีเ้ รียกว่ า ภาพจริง ้ ่ ส่ วนภาพทีเ่ กิดด้ านหน้ าเลนส์ เป็ นภาพที่ เกิดจากรังสี หักเหเสมือนมาตัดกัน เรียก ภาพทีเ่ กิด ณ ตาแหน่ งนีว่าภาพเสมือน ้ 165
  • 166. การคานวณเรื่องเลนส์ ความยาวโฟกัสของเลนส์ นูนเป็ น + ความยาวโฟกัสของเลนส์ เว้ าเป็ น - ระยะวัตถุหน้ าเลนส์ เป็ น + ระยะวัตถุหลังเลนส์ เป็ น - ระยะภาพหน้ าเลนส์ เป็ น - ระยะภาพหลังเลนส์ เป็ น + 166
  • 167. ตัวอย่ าง 21 วัตถุอนหนึ่งตั้งอยู่หน้ าเลนส์ ั นูนความยาวโฟกัส 10 cm ห่ างจากเลนส์ 60 cm จงหาระยะภาพของวัตถุชิ้นนี้ ตัวอย่ าง 22 จากข้ อ 21 จงคานวณหา อัตราเร็วของภาพทีเ่ คลือนที่จากเดิม ่ เมือเลือนวัตถุเข้ าหาเลนส์ จนห่ างจาก ่ ่ เลนส์ เป็ นระยะ 30 cm ในเวลา 10 s 167
  • 168. ตัวอย่ าง 23 เลนส์ เว้ าความยาวโฟกัส 10 cm เมือนาวัตถุสูง 5 cm วางหน้ า ่ เลนส์ ห่างจากเลนส์ 20 cm จงหาตาแหน่ ง ขนาด และชนิดของ ภาพทีเ่ กิดจากเลนส์ เว้ า 168
  • 169. ตัวอย่ าง 24 วางวัตถุห่างจากเลนส์ A เป็ นระยะ 20 cm ได้ ภาพขยายขนาด ใหญ่ กว่ าวัตถุ 4 เท่ า เลนส์ A ควรเป็ น เลนส์ ชนิดใด และมีความยาวโฟกัส เท่ าใด 169
  • 170. 170
  • 171. ตัวอย่ าง 25 เลนส์ นูน A และ B มี ความยาวโฟกัส 10 และ 15 cm วางห่ าง กัน 30 cm ถ้ านาวัตถุวางไว้ หน้ าเลนส์ นูน A ห่ างเลนส์ 20 cm จงหาตาแหน่ ง ของภาพสุ ดท้ าย 171
  • 172. ตัวอย่ าง 26 วัตถุอยู่ทางซ้ ายมือของ เลนส์ นูน ความยาวโฟกัส 5 cm เป็ น ระยะทาง 10 cm และมีเลนส์ เว้ าความ ยาวโฟกัส 10 cm อยู่ทางขวามือของ เลนส์ นูนเป็ นระยะทาง 5 cm ภาพสุ ดท้ ายจะเป็ นอย่ างไร 172
  • 173. ตัวอย่ าง 27 กระจกเว้ าและกระจกนูนมี ความยาวโฟกัส 10 cm เท่ ากัน วางหัน ด้ านสะท้ อนเข้ าหากัน และห่ างกัน 40cm นาวัตถุสูง 2 cm วางไว้ ระหว่ างกระจก ทั้ง 2 ห่ างจากกระจกเว้ า 15 cm ถ้ าให้ แสง สะท้ อนทีกระจกเว้ าก่ อน ภาพทีสะท้ อน ่ ่ ครั้งที่ 2 จะมีลกษณะอย่ างไร ั 173
  • 174. ตัวอย่ าง 28 เลนส์ นูนความยาวโฟกัส 30 cm อยู่ห่างจากกระจกเว้ ารัศมีความโค้ ง 20 cm เป็ นระยะ 80 cm ถ้ าวางวัตถุหน้ า เลนส์ นูนเป็ นระยะ 60 cm ภาพสุ ดท้ าย อยู่ห่างจากวัตถุเท่ าใด 174
  • 180. ตัวอย่ าง 25 วางวัตถุห่างจากเลนส์ นูน ความยาวโฟกัส 10 cm เป็ นระยะ 30 cm และถ้ าวางกระจกเว้ าห่ างจากเลนส์ นูน 35 cm คนละด้ านกับวัตถุจะเกิดภาพจริง ทีเ่ ดียวกับวัตถุ รัศมีความโค้ งของกระจก เว้ ามีค่าเท่ าใด 180
  • 181. ตัวอย่ าง 26 วางเลนส์ เว้ าไว้ หน้ ากระจก เว้ าซึ่งมีความยาวโฟกัส 20 cm โดยวาง ห่ างกัน 25 cm ถ้ าตั้งวัตถุไว้ หน้ าเลนส์ เว้ าห่ าง 60 cm จากเลนส์ ปรากฏว่ าภาพ ทีเ่ กิดอยู่ทเี่ ดียวกับวัตถุพอดี จงหาความ ยาวโฟกัสของเลนส์ เว้ า 181
  • 182. ทัศนอุปกรณ์ เครื่องฉายภาพนิ่ง กล้ องถ่ ายรู ป กล้ องจุลทรรศน์ กล้ องโทรทัรรศน์ 182
  • 183. ความสว่ าง เรียกปริมาณพลังงานแสงทีส่องออก ่ จากแหล่ งกาเนิดแสงใด ๆ ต่ อหนึ่งหน่ วย เวลา หรืออัตราการให้ พลังงานแสงของ แหล่ งกาเนิดแสงมีหน่ วยการวัดเป็ น ลูเมน (lumen) lx 183
  • 184. ถ้ าพิจารณาพืนทีใด ๆ ทีรับแสง ความ ้ ่ ่ สว่ างบนพืนทีน้ันหาได้ จาก ้ ่ ความสว่ าง = อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพืน ้ พืนที่รับแสง ้ F E=A 184
  • 185. ความสว่ าง = อัตราพลังงานแสงที่ตกบนพืน ้ พืนที่รับแสง ้ F E=A E คือความสว่ าง มีหน่ วยเป็ นลักซ์ lux 185
  • 186. ตัวอย่ างที่ 27 ติดหลอดไฟฟาฟลูออเรส- ้ เซนต์ 40 วัตต์ จานวน 3 หลอด โดยมีตัว สะท้ อนแสง ให้ พลังงานแสงทั้งหมดตก ลงบนพืนโต๊ ะทีมีพนที่ 10 m ้ ่ ื้ 2 ให้ หาความ สว่ างบนพืนโต๊ ะนี้ ้ 186
  • 187. ตัวอย่ างที่ 28 ติดหลอดไฟฟาฟลูออเรส- ้ เซนต์ 40 วัตต์ ทีมีอตราการให้ พลังงาน ่ ั แสง 2,700 ลูเมน ไว้ ในห้ องสี่ เหลียมทีมี ่ ่ ขนาด 3x2x2 m ความสว่ างของห้ องนี้ โดยเฉลียจะมีค่าเท่ าไร ถ้ าอัตราการให้ ่ พลังงานแสงสู ญเสี ยไปเนื่องจากตัว สะท้ อนแสง 500 ลูเมน 187
  • 192. ตา 192
  • 193. ตา 193
  • 194. ตา 194
  • 195. การมองเห็นสี การมองเห็นสี ต่าง ๆ ได้ ต้ องอาศัยการทาหน้ าที่ ของ เรตินา เซลล์รูปแท่ ง จะไวต่ อแสงทีมความเข้ มน้ อย ่ ี เซลล์รูปกรวย จะไวต่ อแสงทีมความเข้ มน้ อย ่ ี 195
  • 196. การมองเห็นสี เซลล์ รูปกรวยแบ่ งออกเป็ น 3 ชนิด 1. เซลล์ที่ไวต่ อแสงสี นาเงิน ้ 2. เซลล์ที่ไวต่ อแสงสี เขียว 3. เซลล์ที่ไวต่ อแสงสี แดง 196
  • 197. การมองเห็นสี ตาของคนบางคนอาจเห็นสี ไม่ ครบทุก สี ทั้งนีเ้ ซลล์ รูปกรวยชนิดใดชนิดหนึ่ง ทางานบกพร่ อง เช่ นถ้ าเซลล์ รูปกรวย ไวต่ อแสงสี แดงบกพร่ องก็จะมองไม่ เห็นสี แดง เราเรียกความผิดปกตินีว่า ้ การบอดสี 197
  • 198. สี 198
  • 199. สี 1.วัตถุโปร่ งใส หมายถึง วัตถุทให้ แสง ี่ ผ่ านไปได้ เกือบทั้งหมดอย่ างเป็ นระเบียบ เราจึงสามารถมองผ่ านวัตถุชนิดนีได้ ้ ชัดเจน ตัวอย่ างเช่ น กระจกใส แก้ วใส 199
  • 200. สี 2. วัตถุโปร่ งแสง หมายถึง วัตถุทให้ แสง ี่ ผ่ านไปได้ อย่ างไม่ เป็ นระเบียบ ดังนั้น เราจึงไม่ สามารถมองผ่ านวัตถุนีได้ ้ ชัดเจน เช่ น นาขุ่น กระจกฝ้ า กระดาษไข ้ 200
  • 201. สี 3. วัตถุทบแสง หมายถึง วัตถุทไม่ ยอม ึ ี่ ให้ แสงผ่ านเลย แสงทั้งหมดจะถูกดูด กลืนไว้ หรือสะท้ อนกลับ เราจึงไม่ สามารถมองผ่ านวัตถุชนิดนีได้ เช่ น ้ ไม้ ผนังตึก 201
  • 202. สี ในกรณีทแสงขาวตกกระทบวัตถุทบแสง ี่ ึ วัตถุน้ันจะดูดกลืนแสงแต่ ละสี ทประกอบ ี่ เป็ นแสงขาวนั้นไว้ ในปริมาณต่ าง ๆ กัน แสงส่ วนทีเ่ หลือจากการดูดกลืนจะสะท้ อน กลับเข้ าตา ทาให้ เราเห็นวัตถุเป็ นสี เดียวกับ แสงทีสะท้ อนเข้ าตามากทีสุด ่ ่ 202
  • 203. สี ตามปกติวตถุมสารทีเ่ รียกว่ าสารสี ั ี ซึ่งทาหน้ าทีดูดกลืนแสง วัตถุทมสีต่างกัน ่ ี่ ี จะมีสารสี ต่างกันการเห็นใบไม้ สีเขียว เพราะ ใบไม้ มคลอโรฟิ ลเป็ นสารทีดูดกลืน ี ่ แสงสี ม่วง และสี แดง 203
  • 204. สี 204
  • 205. สี สารสี ทไม่ อาจสร้ างขึนได้ จากการผสม ี่ ้ สารสี ต่าง ๆ เข้ าด้ วยกันมี 3 สี คือ สี เหลือง สี แดงม่ วง และสี นาเงินเขียว ้ เรียกว่ าสารสี ปฐมภูมิ 205
  • 207. สารสี สี ถ้ านาสารสี ปฐมภูมท้งสามมาผสมกัน ิ ั ด้ วยปริมาณทีเ่ ท่ ากัน จะได้ สีผสมทีมี ่ คุณสมบัตดูดกลืนแสงสี ทุกสี ิ สารสี ทผสมนีคอสี ดา ี่ ้ื 207
  • 209. แสงสี ถ้ าเรานาแสงสี แดง สี เขียว สี นาเงิน มาผสมกันบนฉากขาว ้ ในสั ดส่ วนทีเ่ ท่ า ๆ กัน จะให้ ผลเหมือน กับเราฉายแสงขาวลงไปบนฉาก เราเรียกแสงสี ท้งสามนีว่าแสงสี ปฐมภูมิ ั ้ 209