SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
The Administration in Managing People According to Buddhist Virtues
ธงชัย สิงอุดม
Thongchai Singudom
รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

บทคัดยอ
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม เปนการบูรณาการหลักธรรมที่เปนพระ
ปญญาการตรัสรูขององคพระสมเด็จพระสัม มาสัมพุทธเจา มาสู การปกครองคนในองคการซึ่งเกี่ยวของกั บ
บุคคลสองกลุมคือ ผูปกครองและผูใตปกครองโดยยึดหลักความมีคุณธรรม ความมีจริยธรรม หลักธรรมและ
การปฏิบัติตามกฎหมาย ของประชาชนที่อยูในสังคมนั้น ใหสามารถสานสัมพันธภาพในการทํางานและการอยู
รวมกันอยางมีความสุขและเกิดประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาตน พัฒนาคน และพัฒนางาน

Abstract

The administration manages in follower trend virtue administration, be
something dharmic principle integration that is intellect enlightenment monk of the His
majesty comes to the Buddha comes to insider organization administration which,
pertaining to two group person is, a guardian and person under goven by hold to
one’s principles the have virtue, the have ethics, the dharmic principle and the
practice according to law, of location people in that social gives can weave the
diplomatic relations in the work and coexisting happily and are born topmost
advantage build : self development, develop a person and develop the work.
๑. บทนํา
ในการปกครองบังคับบัญชานั้น ผูบริหารจะตองมีอํานาจตามกฎหมาย แตอํานาจตามกฎหมายไมเปน

เครื่องรับประกันวาจะไดรบความรวมมือจากผูใตบงคับบัญชาดวยความเต็มใจ หากงานใดทีผูใตบังคับบัญชาทํา
ั
ั
่
ไปดวยความจําใจไมใชเต็มใจแลว ก็ยากทีจะไดผลงานออกมาอยางเต็มเม็ดเต็มหนวยตามเจตนารมณที่ตั้งไว
่
ดังนั้นผูบริหารจึงจําเปนจะตองสามารถใชพลังอํานาจอันเกิดจากความดีงามของตนเอง
หรืออํานาจทาง
จิตวิทยาเปนเครื่องมือที่จะใหการทํางานดําเนินไปดวยความราบรื่น เพราะความรวมมืออยางจริงใจของผูตั้งคับ
บัญชา สวนการปกครองคนโดยใชมาตรการทางกฎหมายนัน ถึงแมจะเปนสิงทีละเลยไมได แตก็ควรจะนํามาใช
้
่ ่
ในเมื่อมีความจําเปนอยางหลีกเลี่ยงไมไดเทานั้น
การทํางานภายใตบรรยากาศที่มีความเขาใจดีตอกันนั่น
ยอมจะใหผลดีกวาการทํางานภายใตบรรยากาศทีมีลกษณะเปนการใชอํานาจ
่ ั
โดยไมคํานึงถึงจิตใจ
ผูใตบังคับบัญชา การปกครองมนองคกรใดๆ ก็ตามเปนความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชากับผูใตบงคับบัญชา

ั
ในเชิงสรางสรรค ผูบังคับบัญชามีหนาที่ดูแลทุกขสุขของผูใตบังคับบัญชา ในขณะเดียวกันก็สรางบรรยากาศให
ผูใตบังคับบัญชามีความกระตือรือรนที่จะทํางานใหแกองคกร การที่จะทําไดเชนนี้ผบริหารคงจะตองใชวิธีการ
ู
ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการมีหลักธรรม คุณธรรม จริยธรรม การรูจักสรางน้ําใจ แรงจูงใจและรูจกสรางมนุษย

ั
สัมพันธในการปกครองนั้น คุณสมบัติทสําคัญยิ่งประการหนึ่งของผูบริหารก็คือความสามารถที่จะสรางความ
ี่
เชื่อถือและความเลื่อมใสศรัทธาใหเกิดขึ้นแกผูใตบังคับบัญชา การที่จะสรางคุณสมบัติเชนนี้ใหเกิดขึ้นไดนั้น
ผูบังคับบัญชาจะตองใชเวลาพิสูจนความจริงและความดีงามใหปรากฏและประจักษชัดแกผูอื่น
โดยเฉพาะ
อยางยิ่งกับผูใตบังคับบัญชา เรียกวาเปนการสรางบารมีใหแกตนเอง
สังคมจะสามารถคงอยูไดอยางมีความสุข สงบรมรื่น ไมเบียดเบียนซึ่งกันและกัน ขึ้นอยูกับความมี

คุณธรรม (Morality) ความมีจริยธรรม (Ethics) หลักธรรมและการปฏิบัติตามกฎหมาย (Legal Conduct)
ของประชาชนที่อยูในสังคมนั้น คนทีจะเปนผูนํา จําเปนตองศึกษาความตองการทางจริยธรรมของคนไทยใน
่
องคการทีอยูในสังคมนั้น เพราะผูนําตองเผชิญกับการทดสอบศีลธรรมจรรยาอยูตลอดเวลา ในฐานะเปน
่
แมแบบของบุคคลในกลุม นั่นคือถาผูนําเปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรมดี มีหลักธรรม ผูใตบงคับบัญชาก็จะเปน
ั
ผูที่มีคุณธรรมและจริยธรรมดีตามไปดวย ดังพระบรมราโชวาทในพิธีเปดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติครั้งที่ ๖ ณ
คายลูกเสือวชิราวุธ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๑๒ ความวา “...ใน
บานเมืองนั้น มีทงคนดีและคนไมดี ไมมีใครจะทําใหทกคนเปนคนดีไดทั้งหมด การทําใหบานเมืองมีความปรกติ
ั้
ุ
สุขเรียบรอย จึงมิใชการทําใหทุกคนเปนคนดี หากแตอยูทการสงเสริมใหคนดี ใหคนดีไดปกครองบานเมืองและ
ี่
ควบคุมคนไมดีไมใหมีอํานาจไมใหกอความเดือดรอนวุนวายได...”๑

๑

อางในกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, พระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระปรมินมหาภูมิพลอดุลย
เดชเกี่ยวกับศาสนาละศีลธรรม,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด ,๒๕๕๒), หนา ๑๐.
จากพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ รัชกาลที่ ๙ ดังกลาวมาขางตนจะเห็นวา

คุณธรรมจริยธรรมเปนสิงที่มีความสําคัญตอสังคมไทยเปนอยางมาก
่
ในการกําหนดความสงบสุขของสังคม
สังคมใดที่คนในสังคมเปนผูเพียบพรอมดวยคุณธรรม จริยธรรม สังคมนั้นจะมีแตความสงบสุข ในขณะเดียวกัน
หากคนในสังคมใดมีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจก็ยอมจะหาความสงบสุขไดยากหากไมมีคุณธรรมจริยธรรมเปนสิ่ง
ควบคุมกํากับการกระทําของตน การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคมจึงมีความจําเปนและจะตอง
กระทําอยางตอเนืองครอบคลุมประชากรทุกกลุม พฤติกรรมของมนุษยมีจิตใจเปนผูสั่งการและกํากับควบคุม
่

คนที่มีคุณธรรมสูง คือจิตใจทรงคุณธรรมจะประพฤติปฏิบติสิ่งใดๆในลักษณะของการมีจริยธรรมสูงดวย และ
ั
ในทางตรงกันขามคนที่ประพฤติชั่ว ชอบปฏิบัตหรือแสดงออกในทางเบียดเบียนตนเองหรือผูอื่น อันเปน
ิ

แบบอยางของคนมีจริยธรรมต่ําทราม ยอมแสดงวาผูนั้นในจิตขาดคุณธรรมหรือมีคุณธรรมต่ําดวย
คุณธรรมและจริยธรรมเปนเครื่องกําหนดความเจริญหรือความเสือมของสังคม สังคมที่เจริญจะมีคน
่
ทรงคุณธรรมอยูมาก คนในสังคมมีความประพฤติดี มีการประพฤติปฏิบัติตนที่ไมเปนการเบียดเบียนทั้งตนเอง

และผูอื่น เปนลักษณะของความมีจริยธรรม ทุกคนในสังคมมีความสุข สังคมนั้นจะผาสุกสงบสุข จะ
ประกอบการสิ่งใดมีแตความสําเร็จและกาวหนา
สวนสังคมที่เสื่อมคนทรงคุณธรรมจะนอยลงศีลธรรมหรือ
จริยธรรมของประชาชนจะนอยลง มีการประพฤติปฏิบัตที่เบียดเบียนตนเอง และตอผูอื่นกันมาก สามาชิกใน
ิ

สังคมจะขาดความสงบสุข ความผาสุกไมมสังคมนั้นจะแตก
ี
๒. หลักมนุษยสัมพันธแนวทางครองใจคน๒
๒.๑ สรางความเปนกันเอง
การสรางความเปนกันเองกับบุคลอื่นๆ เปนหนทางในการที่จะเขากับบุคคลอื่นๆไดเปนอยางดี หาก
ทานเปนกันเองกับบุคคลอื่นๆเขาก็มีความรูสึกเปนกันเองกับทาน การสรางความเปนกันเองไดนั้น ทานจะตอง

ปลุกความรูสึกอยางแรงกลา ในการที่ตองการติดตอสัมพันธกับเขา มีทัศนคติที่ดีตอเขา สรางความเชื่อมั่นใน
ตนเอง กําจัดความละอาย ปมดอย และความเคลือบแคลงใจไปใหหมดจากตัวทาน จนลืมทุกสิ่งทุกอยางที่
ท า น ไ ม รู สึ ก เ ป น กั น เ อ ง กั บ เ ข า ท า น จ ะ ต อ ง คิ ด ว า เ ข า เ ป น ค น สํ า คั ญ สํ า ห รั บ ท า น

๒

ธานินทร กรัยวิเชียร, การปองกันการทุจริตกับมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง
จํากัด, ๒๕๔๗).
๒.๒ พูดจาดวยความสุภาพออนโยน
การพูดจาดวยความสุภาพออนโยนจะทําใหผูอื่นมีความรูสึกวา ทานเปนคนนารักเพียงใด การพูดจา
สุภาพออนโยนหมายถึง การที่เขาใจบุคคลอื่น การพูดเปนมิตร การไมทําใหใครๆ มีความทุกข ตลอดจน
หมายถึงการทําใหผูอื่นเกิดความรูสึกเปนคนสําคัญ การพูดสุภาพออนโยนตางกับการพูดตําหนิ เพราะการ
ตําหนิติเตียนเปนการทําลายจิตใจอันออนโยน คนเรานั้นจะทําผิดสักเพียงใดก็ตามเขาก็ยังเขาใจตัวของเขาวา
เขาถูกอยูเสมอ นอยคนนักที่จะยอมรับผิดเพราะกลัวเสียหนามากนัก เชน อาจชมกอนตําหนิดังนี้ “ปกติคุณ
เปนคนรอบคอบดีมาก แลวยังไงเรื่องนี้ถึงไดหลงหูหลงตาไปได” หรือ “เมื่อผมอายุเทาคุณ ผมเคยทําอยาง
เดียวกับคุณ ครั้นแลวอยูมางานหนึ่ง...”
๒.๓ อารมณขัน
อารมณขันทําใหผูเปนเจาของมีความสุข ใครๆ ก็ชอบคบหากับบุ คคลที่มีอารมณขันรื่นเริง การมี
อารมณขันทําใหหัวเราะ หรือมองผูอื่นในแงดีทําใหยิ้มแยมราเริง เปนที่ชอบพอขอบุคคลที่พบเห็นได ดังที่
ธอมัส พูลเฟอร นักประพันธชาวอังกฤษกลาววา “ควรใชคําตลเปนโลปองกั นตัว แทนดาบที่ทําใหผูอื่ น
บาดเจ็บ” ดังนั้น หากทานถูกโจมตีหรือถูกกลาวหาก็พึงใชคําพูดตลก หรือขมวดคําตลกของทานดวยการพูด
ยอน เพื่ออํานวยประโยชนของทาน
๒.๔ ราเริงแจมใส
เปนคุณลักษณะคลายคลึงกับอารมณขันที่จะทําใหเขากับบุคคลอื่นๆ เพราะความราเริงแจมใสจะทํา
ใหทานเปนคนเขาไหนเขาได มีชีวิตที่นาคบหาสมาคมและมีทัศนคติที่ดีตอบุคคลอื่นๆ เสนหในเรื่องนี้อาจ
หลีกเลี่ยงและปฏิบัติได ดังนี้
๑) เลิกวิวาทบาดหมาง หรือคิดวิวาทบาดหมางกับบุคคลทุกๆ คน
๒) เลิกวิพากษวิจารณทุกสิ่งทุกอยางถึงใครๆ ไมบนถึงความทุกขทเี่ กิดขึ้นและทั้งนิสัย ขี้บนและ
นิสัยชอบวิพากษวิจารณใหหมดไปจากตัว
๓) พยายามเปนกันเองกับบุคคลทุกๆ คน สรางอารมณขันใหเกิดขึ้นในตัวเอง
๔) พยายามมีน้ําใจอันดี มีจิตใจกวางขวางในทุกสถานที่ททานในปรากฏ
ี่
๕) สรางบรรยากาศราเริงแจมใสดวยการรองเพลง เลนดนตรี หรือเลนกีฬา
๖) พยายามทําแตสิ่งที่ดมีคุณคาทางจิตใจแกผอื่น
ี
ู
๒.๕ ยิ้ม
เปนลักษณะของการราเริงแจมใส เปนเสนหที่ทําใหอื่นนิยมชมชอบ การยิ้มจะชวยแกไขปญหาทุก
รอนโศกเศราได หากใครมีเรื่องทุกขรอนมาหาทาน จงยิมดวยทาทางยิ้มแยมราเริงใหเขาเลาเรื่องของเขาให
้
ตลอด การยิ้มจะชวยขจัดปญหาของเขาได เพราะทําใหมีความสุขขึ้นแกปญหาไดงายขึ้น

๓. การประยุกตหลักธรรมในการปกครองคน
บรรดานักปกครอง และนักบริหารสวนใหญมักจะมีที่ถกเถียงกันเสมอวาหลักการสําคัญใน
การบริหารและการปกครองนั้นคือ เราไดสัมมนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น ไดรวมกันถกแถลงมามากมายแลว
แตในที่สุด ก็มีผูเสนอวา หนาที่แทจริงนาจะอยูที่ธรรมะ แมแตพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวก็ยังทรงมีพระ
ปฐมบรมราชโองการ ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ วันศุกรที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ความวา “เราจะครอง
แผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแกมหาชนชาวสยาม”๓ ดังนั้น การปกครองและการพัฒนาในยุคนี้ นาจะ
เริ่มที่การใชหลักธรรมะเปนผูชี้นําในการปกครองในการบริหารจึงจะกอใหเกิดประโยชนสูง แกผูอยูใตปกครอง
และรวมไปถึงผูรวมงานดวยทุกระดับชั้น ที่ใดมีธรรมะที่นั่นยอมเปนการเริ่มตนที่ดีที่สุด อยางชัดเจน ดังนั้น
จึงเปนขอเตือนใจวา ธรรมะ เปนศูนยรวม เปนหลักนําชัยสูการปกครองและการพัฒนา การบริหารในทุก
ร ะ ดั บ ทุ ก ขั้ น ต อ น อี ก ด ว ย ใ น ที่ นี้ ข อ เ ส น อ ธ ร ร ม ะ ใ น ก า ร ค ร อ ง ค น ดั ง ต อ ไ ป นี้
๑) พรหมวิหาร ๔

พรหมวิหาร ประกอบดวย เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา๔ เปนธรรมประจําใจ ของผูประเสริฐ
หรือผูมจิตใจยิงใหญกวางขวางดุจพระพรหม หรือเปนธรรมประจําใจของผู ผูเปนหัวหนาคน พึงมีตอผูนอย
ี
่
หรือธรรมที่ตองมีไวเปนหลักใจ และกํากับความประพฤติพรหมวิหารมี ๔ ประการ คือ
๑. เมตตา ความรัก คือ ความปรารถนาดี มีไมตรีตองการชวยเหลือใหทกคนประสบประโยชน
ุ
และความสุข
๒. กรุณา ความสงสาร คือ ความปรารถนาดี อยากชวยเหลือผูอื่นใหพนจากความทุกขใฝใจทีจะ

่
ปลดเปลื้องบําบัดความทุกขยากเดือดรอนของคนและสัตวทั้งปวง
๓. มุทิตา ความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อเห็นผูอนไดดีมีสุขก็มีใจแชมชื่นเบิกบานเมือเขาประสบ
 ื่
่
ความสําเร็จงอกงามยิ่งขึ้นไปก็พลอยยินดีบันเทิงใจดวย
๔. อุเบกขา ความมีใจเปนกลาง คือ มองตามเปนจริง โดยวางจริงเรียบสม่ําเสมอ มั่นคงเที่ยงตรง
ดุจตาชั่ง มองเห็นการทีบุคคลจะไดรับผลดีหรือผลชั่ว สมควรแกเหตุที่ตนประกอบพรอมทีจะ
่
่
วินิจฉัย วางตนและปฏิบัติไปตามความเที่ยงธรรมไมมีอคติ ปลงใจไดวาสัตวทั้งหลายมีกรรมเปน
ของตน “ผูทําความดียอมไดรับผลดี ผูทําความชั่วยอมไดรับผลชั่ว”๕

๓

อางในกรมศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, พระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเกี่ยวกับ
ศาสนาและศีลธรรม, หนา ๑.
๔
ที.ปา.(ไทย) ๑๑/๓๐๘/๒๘๐.
๕
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๙, (กรุงเทพมหานคร : เอส.อาร. พริ้นติ้ง
แมส โปรดักส, ๒๕๕๓), หนา ๑๒๔.
๒. สังคหวัตถุ ๔๖
สังคหวัตถุประกอบดวย ทาน ปยวาจา อัตถจริยา สมานัตตา เปนธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวน้ําใจคน
หรือธรรมเพื่อใหตนเปนที่รกเปนที่ชอบใจของคนทั่วไป เปนเครื่องสงเคราะหโลก สงเคราะหชวยเหลือกัน
ั
ยึดเหนี่ยวใจกันไวเปนเครืองเกาะกุมประสานโลก คือสังคมแหงหมูสัตวไวประดุจสลักเพลาคุมรก ที่เลนไปอยู
่
ไวได สังคหวัตถุมี ๔ ประการคือ
๑. ทาน การให คือ เอื้อเฟอเผื่อแผ เสียสละ แบงปน ชวยเหลือกันดวยสิ่งของตลอดถึงใหความรู
และแนะนําสั่งสอน
๒. ปยวาจา หมายถึง วาจาเปนทีรัก วาจาดูดดื่มน้ําใจหรือวาจาซาบซึ้งนาฟง ชี้แจงแนะนําสิงที่
่
่
เปนประโยชน รูจักพูดใหเกิดความเขาใจ สมานสามัคคีเกิดไมตรี ทําใหรักใคร นับถือและ
ชวยเหลือเกื้อกูลกัน
๓. อัตถจริยา การประพฤติประโยชน คือ ขวนขวายชวยเหลือกิจกรรมบําเพ็ญสาธารณประโยชน
ตลอดถึงชวยแกไขปรับปรุงสงเสริมในทางจริยธรรม
๔. สมานัตตตา ความมีตนเสมอ คือ ทําตนเสมอตนเสมอปลาย ปฎิบัตสม่ําเสมอกันในชน
ิ
ทั้งหลายและเสมอในสุขทุกขโดยรวมรับรูรวมแกไขตลอดถึงวางตนเหมาะแกฐานะ ภาวะบุคคล
เหตุการณและสิงแวดลอม ถูกตองตามธรรมในแตละกรณี
่
ในการปกครองบังคับบัญชานั้น ผูบริหารจะตองมีอํานาจตามกฎหมายแตอํานาจตามกฎหมายไมเปน
เครื่องรับประกันวาจะไดรับความรวมมือจากผูใตบังคับบัญชาดวยความเต็มใจ หากงานใดที่ผูใตบังคับบัญชา
ทํ าไปดว ยความจํ าใจไม ใชความเต็ม ใจ และก็ ยากที่ จ ะให ผ ลงานออกมาไดอ ยา งเต็ม เม็ ดเต็ม หนวยจาก
เจตนารมณที่ไดตั้งไว๗

๖
๗

องฺ. จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓๒/๕๐-๕๑,๒๕๖/๓๗๓.
พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตโต), คุณธรรมสําหรับนักบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๔๓).
ดังนั้นผูบริหารจึงจําเปนตองสามารถใชพลังอํานาจอันเกิดจากความดีงามของตัวเอง หรืออํานาจทาง
จิตวิทยาเป นเครื่อ งมื อที่ จะใหก ารทํ างานดําเนินไปดวยความราบรื่น เพราะความรวมมื ออยางจริง ใจของ
ผูใตบังคับบัญชา สวนการปกครองคนโดยใชมาตรการทางกฎหมายนั้น ถึงแมจะเปนสิ่งที่ละเลยไมได แตก็
ควรจะนํามาใชเมื่อมีความจําเปนอยางหลีกเลี่ยงไมไดเทานั้น การทํางานภายใตบรรยากาศที่มีความเขาใจดีตอ
กันนั้นยอมจะใหผลดีกวาการทํางานภายใตบรรยากาศที่มีลักษณะเปนการใชอํานาจ โดยไมคํานึงถึงจิตใจของ
ผูใตบังคับบัญชา ยึดมั่นในกฎหมาย ระเบียบ วินัยขาราชการอยางเครงครัด เพื่อเปนตัวอยางที่ดีแกผูอื่น
และผูใตบังคับบัญชาปกครองผูใตบังคับบัญชาแบบพี่ปกครองนอง แบบพอปกครองลูก ดูแลเอาใจใสเอื้อ
อาทรใหโอกาสการทํางาน รับฟงความคิดเห็นและใหคําปรึกษากับผูใตบังคับบัญชาเพื่อเปนขวัญและกําลังใจ
ในการปฏิบัติหนาที่การงานสนับสนุนผูใตบังคับบัญชาที่มีความรูสามารถในการเลื่อนตําแหนงหนาที่ราชการให
สูงขึ้น
๔. บทสรุป
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม เริ่มตนที่การใชหลักธรรมะเปนผูชี้นําใน
การบริหารจัดการปกครองคนทุกระดับชั้น เพราะธรรมะเปนศูนยรวม เปนหลักนําชัยสูการปกครอง การ
บริหาร และการพัฒนาในทุกระดับชั้น ทุกขั้นตอน ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผานมาพิสูจนใหเห็นวาประเทศไทย
รมเย็นสงบสุขดวยธรรมราชา ถึงแมวาในบางครั้งผลลัพธที่เกิดขึ้นจะเขาทํานอง “การปดทองหลังองคพระ
ปฏิมา” ก็ตามแตผลของการปดทองหลังองคพระปฏิมานั้นก็ทําใหประเทศไทยคงอยูมาจนถึงทุกวันนี้ ดังนั้น
สังคมไทยควรชวยกันปลูกฝง เติมเต็ม และ แบงปน แนวทางคุณธรรมใหขยายผลความดีที่ยั่งยืนสืบตอไป
โดยการนําพระบรมราโชวาท คุณธรรม จริยธรรมของผู นําและหลั กธรรมในการครองคนของผูนํา ซึ่ง มี
พื้นฐานมาจากหลักธรรมอันประเสริฐที่เปนพระปญญาการตรัสรูของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจามาเปนแนว
ทางการประพฤติปฏิบัติของบุคคลตางๆ ที่มีสภาพของผูปกครองและผูใตการปกครองใหสามารถทํางานหรือ
อยูรวมกันไดอยางมีภราดภาพสันติภาพ และสงบสุขสมศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยชาติ
บรรณานุกรม
๑. ภาษาไทย
ก. ขอมูลปฐมภูมิ
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
ข. ขอมูลทุตยภูมิ
ิ
(๑) หนังสือ :
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. พระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดชเกี่ยวกับศาสนาและศีลธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณ
การเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, ๒๕๕๒.
ธานินทร กรัยวิเชียร. การปองกันการทุจริตกับมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร :
บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จํากัด, ๒๕๔๗.
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. พิมพครังที่ ๑๙.
้
กรุงเทพมหานคร : เอส.อาร. พริ้นติ้งแมส โปรดักส, ๒๕๕๓.
พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตโต). คุณธรรมสําหรับนักบริหาร. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธฺพุทธธรรม,
๒๕๔๓.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
krusuparat01
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
Padvee Academy
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
pentanino
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
kroobannakakok
 

Mais procurados (19)

การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
คุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณคุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณ
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
Km
KmKm
Km
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
 
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 

Semelhante a การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม

บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
korakate
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
nang_phy29
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
T Ton Ton
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
Pornthip Tanamai
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
Chatnakrop Sukhonthawat
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
IFon Lapthavon
 

Semelhante a การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม (20)

โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลวุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Mais de pentanino

รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
pentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
pentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
pentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
pentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
pentanino
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
pentanino
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
pentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
pentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
pentanino
 

Mais de pentanino (20)

รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 

การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม

  • 1. การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม The Administration in Managing People According to Buddhist Virtues ธงชัย สิงอุดม Thongchai Singudom รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย บทคัดยอ การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม เปนการบูรณาการหลักธรรมที่เปนพระ ปญญาการตรัสรูขององคพระสมเด็จพระสัม มาสัมพุทธเจา มาสู การปกครองคนในองคการซึ่งเกี่ยวของกั บ บุคคลสองกลุมคือ ผูปกครองและผูใตปกครองโดยยึดหลักความมีคุณธรรม ความมีจริยธรรม หลักธรรมและ การปฏิบัติตามกฎหมาย ของประชาชนที่อยูในสังคมนั้น ใหสามารถสานสัมพันธภาพในการทํางานและการอยู รวมกันอยางมีความสุขและเกิดประโยชนสูงสุดตอการพัฒนาตน พัฒนาคน และพัฒนางาน Abstract The administration manages in follower trend virtue administration, be something dharmic principle integration that is intellect enlightenment monk of the His majesty comes to the Buddha comes to insider organization administration which, pertaining to two group person is, a guardian and person under goven by hold to one’s principles the have virtue, the have ethics, the dharmic principle and the practice according to law, of location people in that social gives can weave the diplomatic relations in the work and coexisting happily and are born topmost advantage build : self development, develop a person and develop the work.
  • 2. ๑. บทนํา ในการปกครองบังคับบัญชานั้น ผูบริหารจะตองมีอํานาจตามกฎหมาย แตอํานาจตามกฎหมายไมเปน  เครื่องรับประกันวาจะไดรบความรวมมือจากผูใตบงคับบัญชาดวยความเต็มใจ หากงานใดทีผูใตบังคับบัญชาทํา ั ั ่ ไปดวยความจําใจไมใชเต็มใจแลว ก็ยากทีจะไดผลงานออกมาอยางเต็มเม็ดเต็มหนวยตามเจตนารมณที่ตั้งไว ่ ดังนั้นผูบริหารจึงจําเปนจะตองสามารถใชพลังอํานาจอันเกิดจากความดีงามของตนเอง หรืออํานาจทาง จิตวิทยาเปนเครื่องมือที่จะใหการทํางานดําเนินไปดวยความราบรื่น เพราะความรวมมืออยางจริงใจของผูตั้งคับ บัญชา สวนการปกครองคนโดยใชมาตรการทางกฎหมายนัน ถึงแมจะเปนสิงทีละเลยไมได แตก็ควรจะนํามาใช ้ ่ ่ ในเมื่อมีความจําเปนอยางหลีกเลี่ยงไมไดเทานั้น การทํางานภายใตบรรยากาศที่มีความเขาใจดีตอกันนั่น ยอมจะใหผลดีกวาการทํางานภายใตบรรยากาศทีมีลกษณะเปนการใชอํานาจ ่ ั โดยไมคํานึงถึงจิตใจ ผูใตบังคับบัญชา การปกครองมนองคกรใดๆ ก็ตามเปนความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชากับผูใตบงคับบัญชา  ั ในเชิงสรางสรรค ผูบังคับบัญชามีหนาที่ดูแลทุกขสุขของผูใตบังคับบัญชา ในขณะเดียวกันก็สรางบรรยากาศให ผูใตบังคับบัญชามีความกระตือรือรนที่จะทํางานใหแกองคกร การที่จะทําไดเชนนี้ผบริหารคงจะตองใชวิธีการ ู ตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งการมีหลักธรรม คุณธรรม จริยธรรม การรูจักสรางน้ําใจ แรงจูงใจและรูจกสรางมนุษย  ั สัมพันธในการปกครองนั้น คุณสมบัติทสําคัญยิ่งประการหนึ่งของผูบริหารก็คือความสามารถที่จะสรางความ ี่ เชื่อถือและความเลื่อมใสศรัทธาใหเกิดขึ้นแกผูใตบังคับบัญชา การที่จะสรางคุณสมบัติเชนนี้ใหเกิดขึ้นไดนั้น ผูบังคับบัญชาจะตองใชเวลาพิสูจนความจริงและความดีงามใหปรากฏและประจักษชัดแกผูอื่น โดยเฉพาะ อยางยิ่งกับผูใตบังคับบัญชา เรียกวาเปนการสรางบารมีใหแกตนเอง สังคมจะสามารถคงอยูไดอยางมีความสุข สงบรมรื่น ไมเบียดเบียนซึ่งกันและกัน ขึ้นอยูกับความมี  คุณธรรม (Morality) ความมีจริยธรรม (Ethics) หลักธรรมและการปฏิบัติตามกฎหมาย (Legal Conduct) ของประชาชนที่อยูในสังคมนั้น คนทีจะเปนผูนํา จําเปนตองศึกษาความตองการทางจริยธรรมของคนไทยใน ่ องคการทีอยูในสังคมนั้น เพราะผูนําตองเผชิญกับการทดสอบศีลธรรมจรรยาอยูตลอดเวลา ในฐานะเปน ่ แมแบบของบุคคลในกลุม นั่นคือถาผูนําเปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรมดี มีหลักธรรม ผูใตบงคับบัญชาก็จะเปน ั ผูที่มีคุณธรรมและจริยธรรมดีตามไปดวย ดังพระบรมราโชวาทในพิธีเปดงานชุมนุมลูกเสือแหงชาติครั้งที่ ๖ ณ คายลูกเสือวชิราวุธ อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๑๒ ความวา “...ใน บานเมืองนั้น มีทงคนดีและคนไมดี ไมมีใครจะทําใหทกคนเปนคนดีไดทั้งหมด การทําใหบานเมืองมีความปรกติ ั้ ุ สุขเรียบรอย จึงมิใชการทําใหทุกคนเปนคนดี หากแตอยูทการสงเสริมใหคนดี ใหคนดีไดปกครองบานเมืองและ ี่ ควบคุมคนไมดีไมใหมีอํานาจไมใหกอความเดือดรอนวุนวายได...”๑ ๑ อางในกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, พระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระปรมินมหาภูมิพลอดุลย เดชเกี่ยวกับศาสนาละศีลธรรม,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด ,๒๕๕๒), หนา ๑๐.
  • 3. จากพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ รัชกาลที่ ๙ ดังกลาวมาขางตนจะเห็นวา  คุณธรรมจริยธรรมเปนสิงที่มีความสําคัญตอสังคมไทยเปนอยางมาก ่ ในการกําหนดความสงบสุขของสังคม สังคมใดที่คนในสังคมเปนผูเพียบพรอมดวยคุณธรรม จริยธรรม สังคมนั้นจะมีแตความสงบสุข ในขณะเดียวกัน หากคนในสังคมใดมีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจก็ยอมจะหาความสงบสุขไดยากหากไมมีคุณธรรมจริยธรรมเปนสิ่ง ควบคุมกํากับการกระทําของตน การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคมจึงมีความจําเปนและจะตอง กระทําอยางตอเนืองครอบคลุมประชากรทุกกลุม พฤติกรรมของมนุษยมีจิตใจเปนผูสั่งการและกํากับควบคุม ่  คนที่มีคุณธรรมสูง คือจิตใจทรงคุณธรรมจะประพฤติปฏิบติสิ่งใดๆในลักษณะของการมีจริยธรรมสูงดวย และ ั ในทางตรงกันขามคนที่ประพฤติชั่ว ชอบปฏิบัตหรือแสดงออกในทางเบียดเบียนตนเองหรือผูอื่น อันเปน ิ  แบบอยางของคนมีจริยธรรมต่ําทราม ยอมแสดงวาผูนั้นในจิตขาดคุณธรรมหรือมีคุณธรรมต่ําดวย คุณธรรมและจริยธรรมเปนเครื่องกําหนดความเจริญหรือความเสือมของสังคม สังคมที่เจริญจะมีคน ่ ทรงคุณธรรมอยูมาก คนในสังคมมีความประพฤติดี มีการประพฤติปฏิบัติตนที่ไมเปนการเบียดเบียนทั้งตนเอง  และผูอื่น เปนลักษณะของความมีจริยธรรม ทุกคนในสังคมมีความสุข สังคมนั้นจะผาสุกสงบสุข จะ ประกอบการสิ่งใดมีแตความสําเร็จและกาวหนา สวนสังคมที่เสื่อมคนทรงคุณธรรมจะนอยลงศีลธรรมหรือ จริยธรรมของประชาชนจะนอยลง มีการประพฤติปฏิบัตที่เบียดเบียนตนเอง และตอผูอื่นกันมาก สามาชิกใน ิ  สังคมจะขาดความสงบสุข ความผาสุกไมมสังคมนั้นจะแตก ี ๒. หลักมนุษยสัมพันธแนวทางครองใจคน๒ ๒.๑ สรางความเปนกันเอง การสรางความเปนกันเองกับบุคลอื่นๆ เปนหนทางในการที่จะเขากับบุคคลอื่นๆไดเปนอยางดี หาก ทานเปนกันเองกับบุคคลอื่นๆเขาก็มีความรูสึกเปนกันเองกับทาน การสรางความเปนกันเองไดนั้น ทานจะตอง  ปลุกความรูสึกอยางแรงกลา ในการที่ตองการติดตอสัมพันธกับเขา มีทัศนคติที่ดีตอเขา สรางความเชื่อมั่นใน ตนเอง กําจัดความละอาย ปมดอย และความเคลือบแคลงใจไปใหหมดจากตัวทาน จนลืมทุกสิ่งทุกอยางที่ ท า น ไ ม รู สึ ก เ ป น กั น เ อ ง กั บ เ ข า ท า น จ ะ ต อ ง คิ ด ว า เ ข า เ ป น ค น สํ า คั ญ สํ า ห รั บ ท า น ๒ ธานินทร กรัยวิเชียร, การปองกันการทุจริตกับมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จํากัด, ๒๕๔๗).
  • 4. ๒.๒ พูดจาดวยความสุภาพออนโยน การพูดจาดวยความสุภาพออนโยนจะทําใหผูอื่นมีความรูสึกวา ทานเปนคนนารักเพียงใด การพูดจา สุภาพออนโยนหมายถึง การที่เขาใจบุคคลอื่น การพูดเปนมิตร การไมทําใหใครๆ มีความทุกข ตลอดจน หมายถึงการทําใหผูอื่นเกิดความรูสึกเปนคนสําคัญ การพูดสุภาพออนโยนตางกับการพูดตําหนิ เพราะการ ตําหนิติเตียนเปนการทําลายจิตใจอันออนโยน คนเรานั้นจะทําผิดสักเพียงใดก็ตามเขาก็ยังเขาใจตัวของเขาวา เขาถูกอยูเสมอ นอยคนนักที่จะยอมรับผิดเพราะกลัวเสียหนามากนัก เชน อาจชมกอนตําหนิดังนี้ “ปกติคุณ เปนคนรอบคอบดีมาก แลวยังไงเรื่องนี้ถึงไดหลงหูหลงตาไปได” หรือ “เมื่อผมอายุเทาคุณ ผมเคยทําอยาง เดียวกับคุณ ครั้นแลวอยูมางานหนึ่ง...” ๒.๓ อารมณขัน อารมณขันทําใหผูเปนเจาของมีความสุข ใครๆ ก็ชอบคบหากับบุ คคลที่มีอารมณขันรื่นเริง การมี อารมณขันทําใหหัวเราะ หรือมองผูอื่นในแงดีทําใหยิ้มแยมราเริง เปนที่ชอบพอขอบุคคลที่พบเห็นได ดังที่ ธอมัส พูลเฟอร นักประพันธชาวอังกฤษกลาววา “ควรใชคําตลเปนโลปองกั นตัว แทนดาบที่ทําใหผูอื่ น บาดเจ็บ” ดังนั้น หากทานถูกโจมตีหรือถูกกลาวหาก็พึงใชคําพูดตลก หรือขมวดคําตลกของทานดวยการพูด ยอน เพื่ออํานวยประโยชนของทาน ๒.๔ ราเริงแจมใส เปนคุณลักษณะคลายคลึงกับอารมณขันที่จะทําใหเขากับบุคคลอื่นๆ เพราะความราเริงแจมใสจะทํา ใหทานเปนคนเขาไหนเขาได มีชีวิตที่นาคบหาสมาคมและมีทัศนคติที่ดีตอบุคคลอื่นๆ เสนหในเรื่องนี้อาจ หลีกเลี่ยงและปฏิบัติได ดังนี้ ๑) เลิกวิวาทบาดหมาง หรือคิดวิวาทบาดหมางกับบุคคลทุกๆ คน ๒) เลิกวิพากษวิจารณทุกสิ่งทุกอยางถึงใครๆ ไมบนถึงความทุกขทเี่ กิดขึ้นและทั้งนิสัย ขี้บนและ นิสัยชอบวิพากษวิจารณใหหมดไปจากตัว ๓) พยายามเปนกันเองกับบุคคลทุกๆ คน สรางอารมณขันใหเกิดขึ้นในตัวเอง ๔) พยายามมีน้ําใจอันดี มีจิตใจกวางขวางในทุกสถานที่ททานในปรากฏ ี่ ๕) สรางบรรยากาศราเริงแจมใสดวยการรองเพลง เลนดนตรี หรือเลนกีฬา ๖) พยายามทําแตสิ่งที่ดมีคุณคาทางจิตใจแกผอื่น ี ู ๒.๕ ยิ้ม เปนลักษณะของการราเริงแจมใส เปนเสนหที่ทําใหอื่นนิยมชมชอบ การยิ้มจะชวยแกไขปญหาทุก รอนโศกเศราได หากใครมีเรื่องทุกขรอนมาหาทาน จงยิมดวยทาทางยิ้มแยมราเริงใหเขาเลาเรื่องของเขาให ้ ตลอด การยิ้มจะชวยขจัดปญหาของเขาได เพราะทําใหมีความสุขขึ้นแกปญหาไดงายขึ้น 
  • 5. ๓. การประยุกตหลักธรรมในการปกครองคน บรรดานักปกครอง และนักบริหารสวนใหญมักจะมีที่ถกเถียงกันเสมอวาหลักการสําคัญใน การบริหารและการปกครองนั้นคือ เราไดสัมมนาแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น ไดรวมกันถกแถลงมามากมายแลว แตในที่สุด ก็มีผูเสนอวา หนาที่แทจริงนาจะอยูที่ธรรมะ แมแตพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวก็ยังทรงมีพระ ปฐมบรมราชโองการ ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ วันศุกรที่ ๕ พฤษภาคม ๒๔๙๓ ความวา “เราจะครอง แผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแกมหาชนชาวสยาม”๓ ดังนั้น การปกครองและการพัฒนาในยุคนี้ นาจะ เริ่มที่การใชหลักธรรมะเปนผูชี้นําในการปกครองในการบริหารจึงจะกอใหเกิดประโยชนสูง แกผูอยูใตปกครอง และรวมไปถึงผูรวมงานดวยทุกระดับชั้น ที่ใดมีธรรมะที่นั่นยอมเปนการเริ่มตนที่ดีที่สุด อยางชัดเจน ดังนั้น จึงเปนขอเตือนใจวา ธรรมะ เปนศูนยรวม เปนหลักนําชัยสูการปกครองและการพัฒนา การบริหารในทุก ร ะ ดั บ ทุ ก ขั้ น ต อ น อี ก ด ว ย ใ น ที่ นี้ ข อ เ ส น อ ธ ร ร ม ะ ใ น ก า ร ค ร อ ง ค น ดั ง ต อ ไ ป นี้ ๑) พรหมวิหาร ๔  พรหมวิหาร ประกอบดวย เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา๔ เปนธรรมประจําใจ ของผูประเสริฐ หรือผูมจิตใจยิงใหญกวางขวางดุจพระพรหม หรือเปนธรรมประจําใจของผู ผูเปนหัวหนาคน พึงมีตอผูนอย ี ่ หรือธรรมที่ตองมีไวเปนหลักใจ และกํากับความประพฤติพรหมวิหารมี ๔ ประการ คือ ๑. เมตตา ความรัก คือ ความปรารถนาดี มีไมตรีตองการชวยเหลือใหทกคนประสบประโยชน ุ และความสุข ๒. กรุณา ความสงสาร คือ ความปรารถนาดี อยากชวยเหลือผูอื่นใหพนจากความทุกขใฝใจทีจะ  ่ ปลดเปลื้องบําบัดความทุกขยากเดือดรอนของคนและสัตวทั้งปวง ๓. มุทิตา ความเบิกบานพลอยยินดี เมื่อเห็นผูอนไดดีมีสุขก็มีใจแชมชื่นเบิกบานเมือเขาประสบ  ื่ ่ ความสําเร็จงอกงามยิ่งขึ้นไปก็พลอยยินดีบันเทิงใจดวย ๔. อุเบกขา ความมีใจเปนกลาง คือ มองตามเปนจริง โดยวางจริงเรียบสม่ําเสมอ มั่นคงเที่ยงตรง ดุจตาชั่ง มองเห็นการทีบุคคลจะไดรับผลดีหรือผลชั่ว สมควรแกเหตุที่ตนประกอบพรอมทีจะ ่ ่ วินิจฉัย วางตนและปฏิบัติไปตามความเที่ยงธรรมไมมีอคติ ปลงใจไดวาสัตวทั้งหลายมีกรรมเปน ของตน “ผูทําความดียอมไดรับผลดี ผูทําความชั่วยอมไดรับผลชั่ว”๕ ๓ อางในกรมศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, พระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเกี่ยวกับ ศาสนาและศีลธรรม, หนา ๑. ๔ ที.ปา.(ไทย) ๑๑/๓๐๘/๒๘๐. ๕ พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๙, (กรุงเทพมหานคร : เอส.อาร. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส, ๒๕๕๓), หนา ๑๒๔.
  • 6. ๒. สังคหวัตถุ ๔๖ สังคหวัตถุประกอบดวย ทาน ปยวาจา อัตถจริยา สมานัตตา เปนธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวน้ําใจคน หรือธรรมเพื่อใหตนเปนที่รกเปนที่ชอบใจของคนทั่วไป เปนเครื่องสงเคราะหโลก สงเคราะหชวยเหลือกัน ั ยึดเหนี่ยวใจกันไวเปนเครืองเกาะกุมประสานโลก คือสังคมแหงหมูสัตวไวประดุจสลักเพลาคุมรก ที่เลนไปอยู ่ ไวได สังคหวัตถุมี ๔ ประการคือ ๑. ทาน การให คือ เอื้อเฟอเผื่อแผ เสียสละ แบงปน ชวยเหลือกันดวยสิ่งของตลอดถึงใหความรู และแนะนําสั่งสอน ๒. ปยวาจา หมายถึง วาจาเปนทีรัก วาจาดูดดื่มน้ําใจหรือวาจาซาบซึ้งนาฟง ชี้แจงแนะนําสิงที่ ่ ่ เปนประโยชน รูจักพูดใหเกิดความเขาใจ สมานสามัคคีเกิดไมตรี ทําใหรักใคร นับถือและ ชวยเหลือเกื้อกูลกัน ๓. อัตถจริยา การประพฤติประโยชน คือ ขวนขวายชวยเหลือกิจกรรมบําเพ็ญสาธารณประโยชน ตลอดถึงชวยแกไขปรับปรุงสงเสริมในทางจริยธรรม ๔. สมานัตตตา ความมีตนเสมอ คือ ทําตนเสมอตนเสมอปลาย ปฎิบัตสม่ําเสมอกันในชน ิ ทั้งหลายและเสมอในสุขทุกขโดยรวมรับรูรวมแกไขตลอดถึงวางตนเหมาะแกฐานะ ภาวะบุคคล เหตุการณและสิงแวดลอม ถูกตองตามธรรมในแตละกรณี ่ ในการปกครองบังคับบัญชานั้น ผูบริหารจะตองมีอํานาจตามกฎหมายแตอํานาจตามกฎหมายไมเปน เครื่องรับประกันวาจะไดรับความรวมมือจากผูใตบังคับบัญชาดวยความเต็มใจ หากงานใดที่ผูใตบังคับบัญชา ทํ าไปดว ยความจํ าใจไม ใชความเต็ม ใจ และก็ ยากที่ จ ะให ผ ลงานออกมาไดอ ยา งเต็ม เม็ ดเต็ม หนวยจาก เจตนารมณที่ไดตั้งไว๗ ๖ ๗ องฺ. จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๓๒/๕๐-๕๑,๒๕๖/๓๗๓. พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตโต), คุณธรรมสําหรับนักบริหาร, (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๔๓).
  • 7. ดังนั้นผูบริหารจึงจําเปนตองสามารถใชพลังอํานาจอันเกิดจากความดีงามของตัวเอง หรืออํานาจทาง จิตวิทยาเป นเครื่อ งมื อที่ จะใหก ารทํ างานดําเนินไปดวยความราบรื่น เพราะความรวมมื ออยางจริง ใจของ ผูใตบังคับบัญชา สวนการปกครองคนโดยใชมาตรการทางกฎหมายนั้น ถึงแมจะเปนสิ่งที่ละเลยไมได แตก็ ควรจะนํามาใชเมื่อมีความจําเปนอยางหลีกเลี่ยงไมไดเทานั้น การทํางานภายใตบรรยากาศที่มีความเขาใจดีตอ กันนั้นยอมจะใหผลดีกวาการทํางานภายใตบรรยากาศที่มีลักษณะเปนการใชอํานาจ โดยไมคํานึงถึงจิตใจของ ผูใตบังคับบัญชา ยึดมั่นในกฎหมาย ระเบียบ วินัยขาราชการอยางเครงครัด เพื่อเปนตัวอยางที่ดีแกผูอื่น และผูใตบังคับบัญชาปกครองผูใตบังคับบัญชาแบบพี่ปกครองนอง แบบพอปกครองลูก ดูแลเอาใจใสเอื้อ อาทรใหโอกาสการทํางาน รับฟงความคิดเห็นและใหคําปรึกษากับผูใตบังคับบัญชาเพื่อเปนขวัญและกําลังใจ ในการปฏิบัติหนาที่การงานสนับสนุนผูใตบังคับบัญชาที่มีความรูสามารถในการเลื่อนตําแหนงหนาที่ราชการให สูงขึ้น ๔. บทสรุป การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม เริ่มตนที่การใชหลักธรรมะเปนผูชี้นําใน การบริหารจัดการปกครองคนทุกระดับชั้น เพราะธรรมะเปนศูนยรวม เปนหลักนําชัยสูการปกครอง การ บริหาร และการพัฒนาในทุกระดับชั้น ทุกขั้นตอน ซึ่งตลอดระยะเวลาที่ผานมาพิสูจนใหเห็นวาประเทศไทย รมเย็นสงบสุขดวยธรรมราชา ถึงแมวาในบางครั้งผลลัพธที่เกิดขึ้นจะเขาทํานอง “การปดทองหลังองคพระ ปฏิมา” ก็ตามแตผลของการปดทองหลังองคพระปฏิมานั้นก็ทําใหประเทศไทยคงอยูมาจนถึงทุกวันนี้ ดังนั้น สังคมไทยควรชวยกันปลูกฝง เติมเต็ม และ แบงปน แนวทางคุณธรรมใหขยายผลความดีที่ยั่งยืนสืบตอไป โดยการนําพระบรมราโชวาท คุณธรรม จริยธรรมของผู นําและหลั กธรรมในการครองคนของผูนํา ซึ่ง มี พื้นฐานมาจากหลักธรรมอันประเสริฐที่เปนพระปญญาการตรัสรูของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจามาเปนแนว ทางการประพฤติปฏิบัติของบุคคลตางๆ ที่มีสภาพของผูปกครองและผูใตการปกครองใหสามารถทํางานหรือ อยูรวมกันไดอยางมีภราดภาพสันติภาพ และสงบสุขสมศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยชาติ
  • 8. บรรณานุกรม ๑. ภาษาไทย ก. ขอมูลปฐมภูมิ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. ข. ขอมูลทุตยภูมิ ิ (๑) หนังสือ : กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. พระบรมราโชวาทและพระราชดํารัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชเกี่ยวกับศาสนาและศีลธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณ การเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, ๒๕๕๒. ธานินทร กรัยวิเชียร. การปองกันการทุจริตกับมาตรฐานทางคุณธรรมและจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร : บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จํากัด, ๒๕๔๗. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. พิมพครังที่ ๑๙. ้ กรุงเทพมหานคร : เอส.อาร. พริ้นติ้งแมส โปรดักส, ๒๕๕๓. พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตโต). คุณธรรมสําหรับนักบริหาร. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธฺพุทธธรรม, ๒๕๔๓.