SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 9
Baixar para ler offline
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
นายธงชัย สิงอุดม๑
รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑. บทนํา
การบริหารงานหรือการจัดการองคการมี ความจําเปนตองใชศาสตร และศิลปในการบริหารงาน
อยางหลีกเลี่ยงไมได เนื่องจากในยุคปจจุบันเปนระบบทุนนิยม หรือบริโภคนิยมที่แสวงหาผลกําไร และมี
การแขงขันกันสูงทั้งในเชิงการบริหารงานและการพัฒนาองคการ ใหบรรลุผลตามเปาประสงคขององคการ
เพื่อใหเหนือกวาองคการอื่น จึงไดมีหลักการบริหารสมัยใหมเขามาเปนแผนกลยุทธ หรือหลักการในการ
บริห ารจัดการ ในสถานการณปจ จุบั นก็มี นัก วิชาการทางซี กโลกตะวันตกใหความสนใจหลัก การในทาง
พระพุ ทธศาสนามาผสมผสาน และประยุก ตใชกับหลั กการบริห ารจัดการ ยกตัวอยางเชน สตีเวน พอล
จอบส (Steven Paul Jobs) หรือสตีฟจอบส เปนผูนําธุรกิจและนักประดิษฐชาวอเมริกัน ผูรวมกอตั้ง
ประธาน อดีตประธานกรรมการบริหารของแอปเปลคอมพิวเตอรไดเอาหลักการทางพระพุทธศาสนาแบบ
เซนมาประยุกตใชในการเปนซีอีโอของบริษัทแอปเปลคอมพิวเตอรเพราะเขาถือวา การที่จะใชหลักการ
วิธีการหรือเทคนิค ของนักวิชาการชาวตะวันตก ซึ่งพัฒนาการการบริหารจัดการมาไมเกิน ๑๐๐ป นั้นยัง
เปนหลักการที่ยังยึดกับวัตถุนิยม รวมทั้งมีผูแพผูชนะ เปนการบริหารจัดการที่มุงหวังกําไรและการแขงขัน
ดังนั้นเมื่อนักวิชาการทางตะวันตก ไดเขามาศึกษาพระพุทธศาสนา ทําใหเขารูวาศาสตรแหงการบริหาร
จัดการที่ยั่งยืนและดํารงความเปนมนุษยที่จะอยูรวมกันโดยสันติสุขนั่นคือ ศาสตรในการบริหารจัดการเชิง
พุทธศาสตร ซึ่งในที่นี้จะกลาวถึง การวางแผน ซึ่งการวางแผนมีความสําคัญมากทั้งแกบุคลและองคการ โดย
การผสมผสานเขากับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา นั่นคือหลักสัปปุริสธรรม๗ มาใชเปนเครื่องมือที่สําคัญ
สําหรับการวางแผน อีกทั้งเปนแนวทางที่มีความสอดคลองกับหลักการบริหารสมัยใหมไดอยางกลมกลืน
ถึงแมวาจะเปนหลักธรรมคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจากาวมาถึง ๒,๖๐๐ ปแลวก็ตาม
๒. การวางแผนการบริหารดวยหลักสัปปุริสธรรม ๗
การวางแผนการบริหารดวยสัปปุริสธรรม ๗ ธรรมที่ทําใหคนเปนสัตบุรุษหรือเปนคนดี มีคุณธรรม
ประกอบดวย ความเปนผูรูจักเหตุ (เห็นเหตุแลวคาดการณถึงผลในอนาคต) รูจักผล (เห็นผลตอนนี้แลว
หยั่งรูถึงสาเหตุไดในอดีต) รูจักตน (รูจักตนเอง สมรรถนะความรูความสามารถของตน) รูจักประมาณ (รูจัก
ความพอเพียงพอดีของตนเองและสิ่งตางๆ) รูจักกาล (รูจักเวลาวาควรทําอยางไร จึงจะเหมาะสมและมี
ประสิทธิผล) รูจักชุมชน (รูจักการประพฤติตนเอง เมื่ออยูในสังคมตางๆ ในเรื่องของการคิด การพูด และ
๑

นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒
การทํา) และรูจักบุคคล (รูวิธีการเลือกคบแตคนดี หรือกัลยาณมิตร และหลีกเลี่ยงการคบคนพาล ตลอดจน
การรูจักการมอบหมายงานแกบุคคลที่เหมาะสม)
ทานพุทธทาสไดบรรยาย “การบริหารธุรกิจแบบพุทธ” ซึ่งไดกลาวถึงสัปปุริสธรรมอยูเหมือนกันใน
การใชสัปปุริสธรรมในการบริหารตามหลักการบริหาร มี ๔M ที่สําคัญคือ Man (คน) Machine (เครื่องจักร)
Money (เงินทุน) และ Material (วัสดุ)และเชื่อวา M ที่สําคัญที่สุดคือ Man (คน)เพราะคนสามารถหา
เครื่องจักรหาเงินและหาวัสดุมาใหไดหากเราทําใหคนนั้นเปนคนดีที่ถูกตองแลวเชื่อแนวาจะบริหารงานได
สําเร็จสมประสงคคนดีที่ถูกตองนี้ คือตองเปนทั้งคนดีและคนเกงดวย เมื่อพิจารณาอยางผิวเผินแลวสัปปุริส
ธรรม ๗คือ เหตุ – ผล – ตน – ประมาณ – กาล – ชุมชน – บุคคลจะไปเกี่ยวของกับการวางแผนการ
บริหารไดอยางไรเพราะยังเปนการรูจักยังไมรูจริงและยังไมรูแจงและเปนเพียงแคความรู (ปริยัติ)ยังไมได
นําไปปฏิบัติ (ปฏิบัติ)และยังไมกอใหเกิดประโยชน (ปฏิเวธ)แนวคิดในเรื่องการบริหารหากรูจัก “บริหาร
ตน” แลวหลักการบริหารนี้ยอมสามารถประยุกตใชกับ “การวางแผนการบริหารชีวิตประจําวันการวาง
แผนการบริ ห ารครอบครั วการวางแผนการบริ ห ารงานของตนเองการวางแผนการบริ หารธุร กิจ ระดับ
ผูจัดการการวางแผนระดับองคการและการวางแผนการบริหารประเทศชาติได
หลักสัปปุริสธรรม ที่พระพุทธเจาทรงแสดง ไวในสัปปุริสสูตร (พระไตรปฎกเลมที่ ๒๓)๒อันเปน
แนวทางในการบริหารจัดการเชิงพุทธศาสตรเพียงหลักธรรมหนึ่ง เพื่อประกอบการพิจารณาวาหลักการ
บริหารเชิงพุทธศาสตรมิไดมุงหวังกําไร หรือการแขงขันเพียงอยางเดียว แตไดบรรจุหลักการที่สรางความ
ยั่งยืน การไมเบียดเบียนการอยูรวมกันอยางสงบสันติ มีความเมตตาตอกัน และรูเทาทันโลกโดยมิไดปฎิเสธ
กระแสโลกาภิวัตน หรือระบบทุนนิยมในปจจุบันแตใหยึดหลักการอยูรวมกันและรูเทาทันโลก หลักสัปปุริส
ธรรมที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการ มี ๗ประการ คือ
๑. ธัมมัญุตา (Knowing the Law, Knowing the Cause)หมายถึง “ความเปนผูรูจักเหตุ”
เชนรูจักวาสิ่งนี้เปนเหตุแหงสุขสิ่งนี้เปนเหตุแหงทุกข คือ เห็นเหตุหรือการกระทําเกิดขึ้นในปจจุบันแลวรูวา
จะสงผลในอนาคตอยางไรเพื่อเปนขอมูลเตือนภัยในการวางแผนปองกันตอไป
๒. อัตถัญุตา (Knowing the Meaning, Knowing the Purpose)หมายถึง “ความเปนผูรู
จักผล” เชน รูจักวาสุขเปนผลแหงเหตุอันนี้ทุกขเปนผลแหงเหตุอันนี้คือ เห็นผลที่เกิดขึ้นในปจจุบันแลวรูวา
เกิดจากสาเหตุอะไรในอดีตเพื่อเปนขอมูลในการแกไขปญหาหรือใชประโยชนในปจจุบันและอนาคตโดยการ
ขจัดสาเหตุรากเหงาหรือปฏิบัติตามวิธีการที่ไดผลดีมาแลว
๓. อัตตัญุตา (Knowing Oneself)หมายถึง “ความเปนผูรูจักตน” วาโดยชาติตระกูลยศศักดิ์
สมบัติบริวารความรูและคุณธรรมเพียงเทานี้ๆแลวประพฤติตนใหสมควรแกที่เปนอยูอยางไรคือมองตัวเอง
หรือ องคก ารแลวทบทวนดูวาสถานะที่ตัวเองเปนและฐานะที่ตัวเองมีเ ปนอยางไรเพื่อ เปนขอ มูล ในการ
บริหารตนบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพตอไป
๔. มัตตัญุตา (Moderation, Knowing how to be temperate) “ความเปนผูรูจั ก
ประมาณ” ในการแสวงหาเครื่องเลี้ยงชีวิตแตโดยทางที่ชอบและรูจักประมาณในการบริโภคแตพอควรคือ
มองงานที่ตนเองทําอยูแลวพิจารณาวิเคราะหดวยปญญาวาความพอเหมาะความพอดีความพอเพียงอยูที่
ไหนเทาไรเพื่อจะไดกําหนดแผนการปฏิบัติไดเหมาะสมอันมุงไปสูผลลัพธอยางดีเลิศ
๒

ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๑๐๕/๑๒๕-๑๓๕.
๓
๕. กาลัญุตา (Knowing the Propertime)หมายถึง “ความเปนผูรูจักกาลเวลา” เชน รูวา
เวลานี้เ ป นเวลาอั นสมควรในอั นประกอบกิ จ นั้นๆ คือ มองงานที่ จ ะทํ าแล วพิ จ ารณาบริ ห ารเวลาโดย
ดําเนินการปฏิบัติวาควรจะทําใหทันเวลากําหนดทําใหถูกเวลาที่ตองทําทําตามเวลาที่กําหนดและทําใหเริ่ม
และเสร็จตามเวลาที่วางแผนโดยคํานึงถึงวิธีที่กอใหเกิดประโยชนสูงสุด
๖. ปริสัญุตา (Knowing the Assembly, Knowing the Society)หมายถึง “ความเปนผูรู
จักชุมชน” โดยกิริยาที่จะตองประพฤติตอชุมชนนั้นๆวาชุมชนหมูนี้เมื่อเขาไปหาจะตองประพฤติตอชุมชน
นั้นๆวาชุมชนหมูนี้เมื่อเขาไปหาจะตองทํากริ ยาอยางนี้จะตอ งพูดอยางนี้ คือ มองงานของตัวเองวาตอ ง
เกี่ ยวขอ งกั บชุม ชนอะไรบางในเชิง ธุรกิ จ และมี ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล อ มอยางไรแล วชุม ชนนั้นคิดอยางไร
เดือดรอนอยางไรเชื่ออยางไรเพื่อเราจะไดปฏิบัติเขากับสังคมไดอยางถูกตอง
๗. ปุคคลัญุตา (Knowing the individual, Knowing the different individuals)
หมายถึง “ความเปนผูรูจักบุคคล” ควรรูวิธีเลือกบุคคลวาผูนี้เปนคนดี ควรคบผูนี้เปนคนไมดีไมควรคบ คือ
การวางแผนการบริ หารงานตอ งใชคนทํ างานและจํ าเปนตอ งติดตอกั บบุ คคลในชุมชนการจัดหาคนเขา
ทํางานตองสอบสัมภาษณคนเขาเปนพนักงานตองเลือกใหถูกตองกับความรูความสามารถและตองเปนคนดี
ดวยงานจึงจะบรรลุความสําเร็จ
การวางแผนการบริ ห ารงานตามสถานการณ เ ชิ ง พุ ท ธนี้ แ ท จ ริ ง แล ว ก็ เ ป น การบริ ห ารงานที่
ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณทั้งภายนอกและภายในตัวเรา ในแตละเหตุการณ แตละปญหามันก็มีวิธีการ
แก ปญ หาแตกตางกันไป ตามวัฒ นธรรมองคการ สถานที่เ กิดเหตุป จจั ยอื่ น ๆ ความถนัดของผูวางแผน
เพราะฉะนั้นตองเลือกใชธรรมะใหถูกฝา ถูกตอง ภาษาพระเรียกวาธรรมานุธรรมะปฏิบัติ คือ ปฏิบัติธรรม
นอยใหคลอยธรรมใหญ เลือกธรรมะยอยๆมาปฏิบัติใหสอดคลองกับเปาหมายที่ตองการการเลือกใชธรรมะ
ใหถูกตองนี่แหละคือการวางแผนการบริหารเชิงพุทธ
๓. ความสําคัญของการวางแผนงาน (Planing)
การวางแผนงานในการบริ ห ารจั ด การขององค ก ารทุ ก ระดั บ จะมี แ นวคิ ด ว า การวางแผน
เปรียบเสมือนเข็มทิศชี้ทางเดินใหแกองคการนั้นๆ การวางแผนงานนับวาเปนองคประกอบที่สําคัญตอการ
บริหารจัดการองคการทุกประเภททั้งภาครัฐและเอกชน ถาปราศจากการวางแผนแลวก็จะเหมือนเรือที่ไร
หางเสื อ องคการก็ จ ะถูกพั ดพาไปตามกระแสลมของการเปลี่ยนแปลงซึ่ งมาจากสิ่ งแวดล อมทางสัง คม
เศรษฐกิจ เทคโนโลยีและการเมืองโดยไมมีทิศทางที่แนนอน
“การวางแผน” (Planning) มาจากคําในภาษาละตินวา “แพลนัม” (Planum) หมายถึงพื้นที่
ราบหรือพิมพเขียวคําภาษาอังกฤษใช “Planning”ซึ่งหมายถึงขั้นตอนการกําหนดและการดําเนินการเพื่อ
บรรลุเป าหมาย หรือทําใหเปาหมายเป นจริง๓กระบวนการวิเคราะหและการตัดสินใจของผูบริ หารที่จ ะ
กํ า หนดวิ ธี ก ารไว ล ว งหน าอย า งเป นระบบเพื่ อ ใช เ ป น แนวทางปฏิ บั ติ ใ ห บ รรลุ ผ ลตามเป า หมายและ
วัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพโดยนําเอาขอมูลขาวสาร (Information) ในอดีตมากําหนด
หรือพยากรณอนาคตดังนั้นแนวคิดของการวางแผนจึงมีลกษณะเปน “ศาสตร” ที่ตองใชขอมูลเชิงประจักษ
ั
๓

วันชั ย มี ชาติ . อางอิงใน Judith R. Gordon and associates, Menagement and Organization
Behevior, (Massachusetts :Allyn& Bacon, 1990), p. 107.
๔
(Empirical Information) ที่มีความแมนตรงและเชื่อถือไดและจะตองประกอบดวยองคประกอบที่ชัดเจน
และมีความตอเนื่องกั นตามลํ าดับ ทั้ง นี้เพื่ อให ผูใชแผนมีความรูและความเขาใจที่ จะสามารถนําแผนไป
ปฏิบัติใหบรรลุผลสําเร็จได การวางแผนงานประกอบดวยการวางแผน ๓ ประการ ดังนี้
๑. การวางแผนการบริหาร ประกอบดวย การวางแผนยุทธศาสตรการวางแผนกลยุทธและการ
วางแผนปฏิบัติการ
๒. การวางแผนการจัดการความเสี่ยง
๓. การวางแผนการจัดการความรู
ซึ่งสามารถสรุปเปนแผนภาพได ดังนี้
คน(Man)
การวางแผนการบริหาร
การวางแผนการจัดการความรู

Manegement Planning

การวางแผนยุทธศาสตร strategy planning
การวางแผนกลยุทธgold planning
การวางแผนปฏิบัติการaction planning

Knowledge Planning

การวางแผน
Planning

เงิน(Money)

งาน(Work)

การวางแผนความเสี่ยง
Risk Planning
แผนภาพที่ ๑ แสดงกระบวนการวางแผน

จากแผนภาพแสดงกระบวนการวางแผนนั้นมีองคประกอบในการวางแผนที่สําคัญอยู ๓ อยาง คือ
คน (Man) เงิน (Money) และงาน (Work) ในการกระบวนการการบริหารจัดการระหวางคนและเงินนั้นจะ
มีการวางแผนการบริหารงานที่สําคัญอยู ๓ แผนงาน คือ การวางแผนยุทธศาสตร(Strategy planning)
การวางแผนกลยุทธ (Gold planning) และการวางแผนปฏิบัติการ (Action planning) ในกระบวนการ
การบริหารจัดการระหวางเงินและงานนั้นจะมีการวางแผนการบริหารความเสี่ยง (Risk Planning) และใน
กระบวนการการบริ ห ารจั ด การระหวา งคนและงานนั้ นจะมี ก ารวางแผนการบริ ห ารจั ด การความรู
(Knowledge Planning)
๕
ฉะนั้นการวางแผนทุกระดับจะมีประโยชนทั้งตอผูบริหารและผูปฏิบัติคือ ปองกันมิใหเกิดปญหา
และความผิดพลาด หรือลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในการปฏิบัติงานในอนาคตทําใหองคการมีกรอบหรือ
ทิศทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนวาจะทําอะไร ที่ไหนเมื่อไร อยางไร และใครทําทําใหนักบริหารมีความ
มั่นใจในการปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จไดงายชวยใหเกิดการประหยัดทรัพยากรทางการบริหาร เชนคน
เงิ น วัส ดุอุ ป กรณ เ วลาฯลฯชว ยให ก ารปฏิ บั ติง านรวดเร็ ว มี ป ระสิ ท ธิภ าพ เพราะมี แผนเป น แนวทาง
“เปรียบเสมือนเรือที่มีหางเสือ” ชวยใหการปฏิบัติงานเปนระบบนักบริหารสามารถควบคุมติดตามการ
ปฏิบัติงานไดงาย
ถาจะแบงระดับของการวางแผนตามลักษณะของการบริหารงานในองคการสามารถแบงออกเปน๓
ระดับ๔ คือ
๑. การวางแผนระดับนโยบาย (Policy Planning) เปนแผนระดับสูงสุดขององคการ
มักจะระบุแนวทางอยางกวางๆซึ่งเปนพื้นฐานที่จะกอใหเกิดแผนชนิดอื่นๆสวนใหญจะเปนแผนระยะยาว
(Long - Range Plan) เชนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่๑๐
๒. การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) เปนการวางแผนหลอมรวมครอบคลุม
กิจกรรมทั้งหมดขององคการหรือแผนงานใหญขององคการโดยจะระบุไว “อยางกวาง” และ “มองไกล” ไป
พรอมๆกันซึ่งมักจะเปนแผนระยะยาว๕–๑๐ปซึ่งจะตองสอดคลองกับแผนระดับนโยบาย
๓. แผนปฏิบัติการหรือแผนดําเนินงาน (Operation Plan) เปนการวางแผนที่กําหนด
จุดมุงหมายระยะสั้น ระยะเวลาไมเกิน๑ป ซึ่งถายทอดมาจากแผนกลยุทธองคประกอบของแผนปฏิบัติการ
จะประกอบด วยวัตถุ ป ระสงค เ ป าหมาย กิ จ กรรมขั้น ตอนการปฏิ บั ติง บประมาณผู รั บ ผิ ดชอบในการ
ดําเนินงานแผนปฏิบัติการแบงออกเปน๒ประเภท คือแผนใชประจํา (Standing Plans) และแผนใช
เฉพาะครั้ง (Single - use Plans)
การวางแผนยุทธศาสตร หรือ การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) เป นกระบวนการ
ตัดสินใจเพื่อกําหนดทิศทางในอนาคตขององคการ โดยกําหนดสภาพการณในอนาคตที่ตอ งบรรลุและ
กําหนดแนวทางในการบรรลุสภาพการณที่กําหนดบนพื้นฐานขอมูลที่รอบดานอยางเปนระบบการกําหนด
แนวทางที่จะบรรลุสภาพการณในอนาคตที่ตองการใหเกิด จะตองตั้งอยูบนพื้นฐานของขอมูลที่รอบดาน
คือ จะตองคํานึงถึงสภาพการณที่ตอ งการใหเ กิดศัก ยภาพหรือ ขีดความสามารถขององคการ และการ
เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมตาง ๆ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดลอมการกําหนด
แนวทางที่จ ะบรรลุสภาพการณในอนาคตที่ ตองการใหเกิดจะตองเปนระบบ คือ แนวทางที่กําหนดขึ้น
จะตองดําเนินไปอยางเปนขั้นเปนตอน การวางแผนยุทธศาสตรจะตองตอบคําถามหลัก ๓ ประการ
คือ

๔

วันชัย มีชาติ. การบริหารองคการ. พิมพครั้งที่ ๔ (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย)
๒๕๕๔, หนา ๑๕๕-๑๕๖
๖
๑. องคการกําลังจะกาวไปทางไหน (Where are you going?)
๒. สภาพแวดลอมเปนอยางไร (What is the environment?)
๓. องคการจะไปถึงจุดหมายไดอยางไร (How do you get there?)
กระบวนการการวางแผนยุทธศาสตร (Strategic Planning Processes) มีขั้นตอนดังตอไปนี้
๑) กําหนดวิสัยทัศน (Vision)
๒) กําหนดภารกิจหรือพันธกิจ (Mission)
๓) กําหนดเปาประสงคหรือจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนา (Goal)
๔) กําหนดประเด็นยุทธศาสตรหรือยุทธศาสตร (Strategy)
๕) กําหนดกลยุทธหรือแนวทางการพัฒนา

นามธรรม

วิสัยทัศน (Vision)

ตองการเปนอะไร

พันธกิจ (Mission)

ตองทําอะไร

จุดมุงหมายเพื่อการพัฒนา

ทําเพื่ออะไร

ยุทธศาสตร

ทําอยางไร

แนวทางการ

ทําโดยวิธีการใด

พัฒนา

รูปธรรม

เปาหมาย

ทําแคไหน/เทาใด/กับใคร/เมื่อใด

แผนภาพที่ ๒ แสดงกระบวนการการวางแผนยุทธศาสตร (Strategic Planning Processes)
คําว า “ยุ ท ธศาสตร ” (Strategy)” มี ค วามหมายรวมถึ ง “จุ ดหมายปลายทาง (End)” และ
“วิธีก ารสู จุ ด หมายปลายทาง (Means) เชิง นโยบาย” ซึ่ ง ใช ในการกํ า หนดนโยบายจากการวิเ คราะห
สภาพแวดล อ มภายในและภายนอกองค ก าร (SWOT) ตามหลั ก วิ ช าการ ส ว นคํ า ว า “กลยุ ท ธ ”
(Strategies)” หมายถึง “วิธีก ารสู จุดหมายปลายทาง (Means) ระดับ ปฏิบัติการและเปนแนวทางเพื่ อ
ตอบสนองวิธีการสูจุดหมายปลายทางระดับนโยบาย”
๗

๔.ประโยชนการใชหลักสัปปุริสสธรรม ๗ มาใชในการวางแผนการบริหาร
เมื่อสัปปุริสธรรม ๗หมายถึงธรรมที่ทําใหคนเปนสัตบุรษหรือ เปนคนดี มีคุณธรรม เปนคนเกง หาก
ุ
นํามาใชกับการวางแผนการ ยอมทําใหเกิดประโยชนในการวางแผนการบริหาร ดังนี๕
้
๑.ธัมมัญูรูจักเหตุคือ รูจักเหตุ คือรูหลักความจริง รูหลักการ รูหลักเกณฑ รูกฎเกณฑแหงเหตุผล
และรูหลักการที่จะทําใหเกิดผล เชนเห็นเหตุการณอะไรก็ตามแตก็จะรูไดวาเกิดจากเหตุอะไรเชน ทําไมฝน
จึงตกสาเหตุมาจากอะไร และผลจะเปนอยางไร รูวาจะตองกระทําเหตุแบบนี้จึงจะใหเกิดผลที่ตองการนั้นๆ
เปนตน
๒.อั ตถัญ ูรู จั ก ผลรู ความหมายรู ความมุ ง หมาย รู ป ระโยชนที่ ป ระสงคคือ รู จั ก ผลที่ จ ะเกิ ดขึ้น
สืบเนื่องจากการกระทํา ซึ่งสามารถกอใหเกิดประโยชนเกิดผลไดจริง
๓.อัตตัญูรูจั กตนเปนผู รูจักตนคือ รูจักตัวตนของเราเอง วาโดยฐานะ ภาวะ เพศ กํ าลังความรู
ความสามารถ ความถนัดและคุณธรรม สามารถประเมินตนเองไดในหลักธรรม ดังนี้ศรัทธา (ชอบ รักในงาน
อะไร)ศีล (วินัย)สุตะ(ความรู)จาคะ (ความเสียสละ)ปญญา (กระบวนการในการพัฒนาความรูที่มีอยู)เปนตน
แลวประพฤติใหเหมาะสมและรูที่จะแกไขปรับปรุงตอไป
ตัวอยางของผูที่รูจักตน สตีเฟนพอลจอบส (Steven Paul Jobs) (เกิดเมื่อวันที่ ๒๔กุมภาพันธ
ค.ศ. ๑๙๕๕) ผูบริหารระดับสูงของแอปเปล คอมพิวเตอร และ พิกซารแอนิเมชันสตูดิโอสและเปนบุคคลชั้น
นําในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร ในฐานะผูรวมกอตั้งแอปเปลคอมพิวเตอร รวมกับสตีฟ วอซเนียก ใน
ปค.ศ. ๑๙๗๖เขาไดชวยทําใหแนวความคิดเรื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลเปนที่นิยมขึ้นมาดวยเครื่องApple II
ตอมาเขาไดเปนผูแรกที่มองเห็นศักยภาพทางการคาของสวนประสานงานผูใชแบบกราฟกสและเมาส ที่ถูก
พัฒนาขึ้นในศูนยวิจัยซีร็อกซพารค ของบริษัทซีร็อกซและไดมีการผนวกเทคโนโลยีเหลานี้เขาไวในเครื่อง
แอปเปล แมคอินทอชสตีฟยังเปนประธานกรรมการบริหาร และผูบริหารระดับสูงของ พิกซารแอนิเมชัน
สตูดิโอสผูนําดานการผลิตภาพยนตรแอนิเมชันดวยคอมพิวเตอรกราฟกส
๔.มั ต ตัญ ู รู จั ก ประมาณเป น ผู รู จั ก ประมาณคื อ ความพอดี ความเหมาะสม สอดคล อ งกั บ
สภาพการณ
๕.กาลัญ ูรูจัก กาลเปนผูรู จักกาลคือรู กาลเวลาอั นเหมาะสม และระยะเวลาที่จะตองใชในการ
ประกอบกิจ กระทําหนาที่การงานเชน แบงเวลา ทําใหถูกจังหวะ ใหตรงเวลา ใหเปนเวลา ใหทันเวลา ให
พอเวลาใหเหมาะเวลา เปนตน
๖.ปริสัญูรูจักบริษัทเปนผูรูจักบริษัทคือ รูจักชุมชน และรูจักที่ประชุม รูกิริยาที่จะประพฤติตอ
ชุมชนนั้นๆ วาชุมชนนี้เมื่อเขาไปหา จะตองทํากิริยาอยางนี้ จะตองพูดอยางนี้ชุมชนนี้ควรสงเคราะหอยางนี้
เปนตน

๕

ม.อุ. ๑๔/๑๔๓/๑๑๒., พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม,
พิมพครั้งที่ ๑๖, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส จํากัด, ๒๕๕๑), หนา ๒๑๙-๒๒๐.
๘
๗.ปุคคลปโรปรัญู รูจักเลือกคบคนปุคคลัญุตา หรือปุคคลปโรปรัญุตา เปนผูรูจักบุคคล คือ
ความแตกตางแหงบุคคลวา โดยอัธยาศัยความสามารถ และคุณธรรม เปนตน ใครๆ ยิ่งหรือหยอนอยางไร
และรู ที่ จะปฏิบั ติตอ บุคคลนั้นๆ ดวยดี วาควรจะคบหรื อ ไม จะใชจ ะตําหนิ ยกยองและแนะนําสั่ งสอน
อยางไร เปนตน
ดวยการนําหลักสัปปุริสธรรม ๗ มาใชในการวางแผนนี้เอง ทําใหผูวางแผนสามารถพิจารณาถึง
องคประกอบที่สําคัญสําหรับการวางแผนทั้ง ๓ อยาง คือ คน(Man) เงิน(Money) และงาน(Work) ไดอยาง
ถูกตองและรอบคอบชัดเจนยิ่งขึ้นนําสิ่งตางๆที่มีความเกี่ยวของ เชน กําหนดวัตถุประสงคและทิศทางการ
ดําเนินงานตางๆ อีกทั้งยังสามารถตอบคําถามหลักสามประการในการวางแผนยุทธศาสตร คือ องคการ
กําลังจะกาวไปทางไหน สภาพแวดลอมเปนอยางไร องคการจะไปถึงจุดหมายไดอยางไรเกิดกระบวนการ
วางแผนที่มีประสิทธิภาพทุกระดับการวางแผน เชน แผนระดับนโยบาย แผนระดับกลยุทธ แผนปฏิบัติการ
๕. บทสรุป
หลักพุทธธรรม มิไดมีจุดหมายเพื่อพัฒนาองคการหรือหนวยงาน และเปนทฤษฎีขององคการใน
การบริหาร แตหลักพุทธธรรมไดใหความสําคัญสําหรับคน ในสังคมที่อยูรวมกัน หมายความวา พุทธธรรม
นั้นตองการใหมนุษย ไมวาจะอยูในฐานะใดก็ตาม สามารถพัฒนาตนในทางคุณธรรมไดแสดงออกมาโดย
ธรรมที่ ค วรประพฤติ ทั้ ง องคค วามรู ความสามารถ หลั ก สั ป ปุ ริ ส ธรรมเป น หลั ก หลั ก คนดี ที่ ถู ก ต อ ง
ประกอบดวย ความเปนคนรูจักเหตุ รูจักผล รูจักตน รูจักประมาณ รูจักกาล รูจักชุมชน และรูจักบุคคล
“การวางแผน” (Planning) คือ กระบวนการวิเคราะหและการตัดสินใจของผูบริหารที่จะกําหนดวิธีการไว
ลวงหนาอยางเปนระบบเพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติใหบรรลุผลตามเปาหมายและวัตถุประสงคที่กําหนดไว
อยางมี ป ระสิ ท ธิภาพการวางแผนการบริ ห ารงานตามสถานการณเ ชิง พุ ท ธนี้แท จ ริ ง แล วก็ เ ป นการวาง
แผนการบริหารงานที่ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณทั้งภายนอกและภายในตัวเรา ในแตละเหตุการณ แต
ละปญหามันก็มีวิธีการการวางแผนแตกตางกันไป ตามวัฒนธรรมองคการ สถานที่เกิดเหตุปจจัยอื่น ๆ ความ
ถนัดของผูแกปญหาวาจะเลือกอาวุธอะไรมาใชงานธรรมะอื่น ๆ ที่เนนตามสถานการณก็ยังมีอีกมาก
๙
๖. บรรณานุกรม
๑. ภาษาไทย
ก. ขอมูลปฐมภูมิ
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโ ต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. พิ ม พ ครั้ ง ที่ ๑๖.
กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส จํากัด, ๒๕๕๑.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
ข. ขอมูลทุติยภูมิ
(๑).หนังสือ
ณัฎฐพันธ เขจรนันทน, ผศ.ดร.. การจัดการเชิงกลยุทธ (ฉบับปรับปรุงใหม). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น,
๒๕๕๒.
วันชัย มี ชาติ. การบริหารองคการ. พิ ม พ ครั้ ง ที่ ๔. กรุ ง เทพมหานคร : สํ านัก พิ ม พ แห ง จุ ฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔.
(๒). บทความ
ปฐมพงษ ทิ นบรรเจิ ดฤทธิ์, ผศ. “พุ ท ธจริ ย ศาสตร กั บ รั ฐ ศาสตร ” , พระพุทธศาสนากับจริย ศาสตร .
กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (กันยายน ๒๕๕๑) : ๓๕๓-๓๖๕
๒. ภาษาอังกฤษ
๓. สื่ออิเล็กทรอนิคส
พระมหาทวี มหาปฺโญ (ละลง).การบริหารแบบ “POSDCORB” เชิงพุทธ.
http://cdn.learners.in.th/assets/media/files/000/303/204/original_Acr28.doc?12865
38512 สืบคนเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๕.
สมหวังวิทยาปญญานนท. บริหารดวยสัปปุริส
ธรรม.http://www.budmgt.com/budman/bm01/goodman.html สืบคนเมื่อวันที่ ๒๐
มีนาคม ๒๕๕๕.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกBeeBee ComEdu
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2wifi5822
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์niralai
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวPhuchit Mondath
 
นิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษานิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษาtanongsak
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Hikaru Sai
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วยโครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วยPleawkie Chukyu
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญKrudoremon
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 

Mais procurados (20)

จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
นิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษานิเทศการศึกษา
นิเทศการศึกษา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
ใบงาน-ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วยโครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
โครงงาน เรื่องกล้วยกล้วย
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 

Semelhante a การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร

ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjornT
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนathapol anunthavorasakul
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการChanida_Aingfar
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
การบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการการบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการchonlataz
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์pomkritta
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรsukanya56106930005
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธDrDanai Thienphut
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 

Semelhante a การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร (20)

ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Kamjorn tuntaned
Kamjorn tuntanedKamjorn tuntaned
Kamjorn tuntaned
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการ
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
Km
KmKm
Km
 
การบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการการบริหาร&การจัดการ
การบริหาร&การจัดการ
 
News
NewsNews
News
 
ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์ทุนมนุษย์
ทุนมนุษย์
 
T01 080156
T01 080156T01 080156
T01 080156
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
ผู้นำแห่งวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
 

Mais de pentanino

การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยpentanino
 

Mais de pentanino (20)

การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 

การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร

  • 1. การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร นายธงชัย สิงอุดม๑ รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๑. บทนํา การบริหารงานหรือการจัดการองคการมี ความจําเปนตองใชศาสตร และศิลปในการบริหารงาน อยางหลีกเลี่ยงไมได เนื่องจากในยุคปจจุบันเปนระบบทุนนิยม หรือบริโภคนิยมที่แสวงหาผลกําไร และมี การแขงขันกันสูงทั้งในเชิงการบริหารงานและการพัฒนาองคการ ใหบรรลุผลตามเปาประสงคขององคการ เพื่อใหเหนือกวาองคการอื่น จึงไดมีหลักการบริหารสมัยใหมเขามาเปนแผนกลยุทธ หรือหลักการในการ บริห ารจัดการ ในสถานการณปจ จุบั นก็มี นัก วิชาการทางซี กโลกตะวันตกใหความสนใจหลัก การในทาง พระพุ ทธศาสนามาผสมผสาน และประยุก ตใชกับหลั กการบริห ารจัดการ ยกตัวอยางเชน สตีเวน พอล จอบส (Steven Paul Jobs) หรือสตีฟจอบส เปนผูนําธุรกิจและนักประดิษฐชาวอเมริกัน ผูรวมกอตั้ง ประธาน อดีตประธานกรรมการบริหารของแอปเปลคอมพิวเตอรไดเอาหลักการทางพระพุทธศาสนาแบบ เซนมาประยุกตใชในการเปนซีอีโอของบริษัทแอปเปลคอมพิวเตอรเพราะเขาถือวา การที่จะใชหลักการ วิธีการหรือเทคนิค ของนักวิชาการชาวตะวันตก ซึ่งพัฒนาการการบริหารจัดการมาไมเกิน ๑๐๐ป นั้นยัง เปนหลักการที่ยังยึดกับวัตถุนิยม รวมทั้งมีผูแพผูชนะ เปนการบริหารจัดการที่มุงหวังกําไรและการแขงขัน ดังนั้นเมื่อนักวิชาการทางตะวันตก ไดเขามาศึกษาพระพุทธศาสนา ทําใหเขารูวาศาสตรแหงการบริหาร จัดการที่ยั่งยืนและดํารงความเปนมนุษยที่จะอยูรวมกันโดยสันติสุขนั่นคือ ศาสตรในการบริหารจัดการเชิง พุทธศาสตร ซึ่งในที่นี้จะกลาวถึง การวางแผน ซึ่งการวางแผนมีความสําคัญมากทั้งแกบุคลและองคการ โดย การผสมผสานเขากับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา นั่นคือหลักสัปปุริสธรรม๗ มาใชเปนเครื่องมือที่สําคัญ สําหรับการวางแผน อีกทั้งเปนแนวทางที่มีความสอดคลองกับหลักการบริหารสมัยใหมไดอยางกลมกลืน ถึงแมวาจะเปนหลักธรรมคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจากาวมาถึง ๒,๖๐๐ ปแลวก็ตาม ๒. การวางแผนการบริหารดวยหลักสัปปุริสธรรม ๗ การวางแผนการบริหารดวยสัปปุริสธรรม ๗ ธรรมที่ทําใหคนเปนสัตบุรุษหรือเปนคนดี มีคุณธรรม ประกอบดวย ความเปนผูรูจักเหตุ (เห็นเหตุแลวคาดการณถึงผลในอนาคต) รูจักผล (เห็นผลตอนนี้แลว หยั่งรูถึงสาเหตุไดในอดีต) รูจักตน (รูจักตนเอง สมรรถนะความรูความสามารถของตน) รูจักประมาณ (รูจัก ความพอเพียงพอดีของตนเองและสิ่งตางๆ) รูจักกาล (รูจักเวลาวาควรทําอยางไร จึงจะเหมาะสมและมี ประสิทธิผล) รูจักชุมชน (รูจักการประพฤติตนเอง เมื่ออยูในสังคมตางๆ ในเรื่องของการคิด การพูด และ ๑ นิสิตปริญญาเอก สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • 2. ๒ การทํา) และรูจักบุคคล (รูวิธีการเลือกคบแตคนดี หรือกัลยาณมิตร และหลีกเลี่ยงการคบคนพาล ตลอดจน การรูจักการมอบหมายงานแกบุคคลที่เหมาะสม) ทานพุทธทาสไดบรรยาย “การบริหารธุรกิจแบบพุทธ” ซึ่งไดกลาวถึงสัปปุริสธรรมอยูเหมือนกันใน การใชสัปปุริสธรรมในการบริหารตามหลักการบริหาร มี ๔M ที่สําคัญคือ Man (คน) Machine (เครื่องจักร) Money (เงินทุน) และ Material (วัสดุ)และเชื่อวา M ที่สําคัญที่สุดคือ Man (คน)เพราะคนสามารถหา เครื่องจักรหาเงินและหาวัสดุมาใหไดหากเราทําใหคนนั้นเปนคนดีที่ถูกตองแลวเชื่อแนวาจะบริหารงานได สําเร็จสมประสงคคนดีที่ถูกตองนี้ คือตองเปนทั้งคนดีและคนเกงดวย เมื่อพิจารณาอยางผิวเผินแลวสัปปุริส ธรรม ๗คือ เหตุ – ผล – ตน – ประมาณ – กาล – ชุมชน – บุคคลจะไปเกี่ยวของกับการวางแผนการ บริหารไดอยางไรเพราะยังเปนการรูจักยังไมรูจริงและยังไมรูแจงและเปนเพียงแคความรู (ปริยัติ)ยังไมได นําไปปฏิบัติ (ปฏิบัติ)และยังไมกอใหเกิดประโยชน (ปฏิเวธ)แนวคิดในเรื่องการบริหารหากรูจัก “บริหาร ตน” แลวหลักการบริหารนี้ยอมสามารถประยุกตใชกับ “การวางแผนการบริหารชีวิตประจําวันการวาง แผนการบริ ห ารครอบครั วการวางแผนการบริ ห ารงานของตนเองการวางแผนการบริ หารธุร กิจ ระดับ ผูจัดการการวางแผนระดับองคการและการวางแผนการบริหารประเทศชาติได หลักสัปปุริสธรรม ที่พระพุทธเจาทรงแสดง ไวในสัปปุริสสูตร (พระไตรปฎกเลมที่ ๒๓)๒อันเปน แนวทางในการบริหารจัดการเชิงพุทธศาสตรเพียงหลักธรรมหนึ่ง เพื่อประกอบการพิจารณาวาหลักการ บริหารเชิงพุทธศาสตรมิไดมุงหวังกําไร หรือการแขงขันเพียงอยางเดียว แตไดบรรจุหลักการที่สรางความ ยั่งยืน การไมเบียดเบียนการอยูรวมกันอยางสงบสันติ มีความเมตตาตอกัน และรูเทาทันโลกโดยมิไดปฎิเสธ กระแสโลกาภิวัตน หรือระบบทุนนิยมในปจจุบันแตใหยึดหลักการอยูรวมกันและรูเทาทันโลก หลักสัปปุริส ธรรมที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการ มี ๗ประการ คือ ๑. ธัมมัญุตา (Knowing the Law, Knowing the Cause)หมายถึง “ความเปนผูรูจักเหตุ” เชนรูจักวาสิ่งนี้เปนเหตุแหงสุขสิ่งนี้เปนเหตุแหงทุกข คือ เห็นเหตุหรือการกระทําเกิดขึ้นในปจจุบันแลวรูวา จะสงผลในอนาคตอยางไรเพื่อเปนขอมูลเตือนภัยในการวางแผนปองกันตอไป ๒. อัตถัญุตา (Knowing the Meaning, Knowing the Purpose)หมายถึง “ความเปนผูรู จักผล” เชน รูจักวาสุขเปนผลแหงเหตุอันนี้ทุกขเปนผลแหงเหตุอันนี้คือ เห็นผลที่เกิดขึ้นในปจจุบันแลวรูวา เกิดจากสาเหตุอะไรในอดีตเพื่อเปนขอมูลในการแกไขปญหาหรือใชประโยชนในปจจุบันและอนาคตโดยการ ขจัดสาเหตุรากเหงาหรือปฏิบัติตามวิธีการที่ไดผลดีมาแลว ๓. อัตตัญุตา (Knowing Oneself)หมายถึง “ความเปนผูรูจักตน” วาโดยชาติตระกูลยศศักดิ์ สมบัติบริวารความรูและคุณธรรมเพียงเทานี้ๆแลวประพฤติตนใหสมควรแกที่เปนอยูอยางไรคือมองตัวเอง หรือ องคก ารแลวทบทวนดูวาสถานะที่ตัวเองเปนและฐานะที่ตัวเองมีเ ปนอยางไรเพื่อ เปนขอ มูล ในการ บริหารตนบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพตอไป ๔. มัตตัญุตา (Moderation, Knowing how to be temperate) “ความเปนผูรูจั ก ประมาณ” ในการแสวงหาเครื่องเลี้ยงชีวิตแตโดยทางที่ชอบและรูจักประมาณในการบริโภคแตพอควรคือ มองงานที่ตนเองทําอยูแลวพิจารณาวิเคราะหดวยปญญาวาความพอเหมาะความพอดีความพอเพียงอยูที่ ไหนเทาไรเพื่อจะไดกําหนดแผนการปฏิบัติไดเหมาะสมอันมุงไปสูผลลัพธอยางดีเลิศ ๒ ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๑๐๕/๑๒๕-๑๓๕.
  • 3. ๓ ๕. กาลัญุตา (Knowing the Propertime)หมายถึง “ความเปนผูรูจักกาลเวลา” เชน รูวา เวลานี้เ ป นเวลาอั นสมควรในอั นประกอบกิ จ นั้นๆ คือ มองงานที่ จ ะทํ าแล วพิ จ ารณาบริ ห ารเวลาโดย ดําเนินการปฏิบัติวาควรจะทําใหทันเวลากําหนดทําใหถูกเวลาที่ตองทําทําตามเวลาที่กําหนดและทําใหเริ่ม และเสร็จตามเวลาที่วางแผนโดยคํานึงถึงวิธีที่กอใหเกิดประโยชนสูงสุด ๖. ปริสัญุตา (Knowing the Assembly, Knowing the Society)หมายถึง “ความเปนผูรู จักชุมชน” โดยกิริยาที่จะตองประพฤติตอชุมชนนั้นๆวาชุมชนหมูนี้เมื่อเขาไปหาจะตองประพฤติตอชุมชน นั้นๆวาชุมชนหมูนี้เมื่อเขาไปหาจะตองทํากริ ยาอยางนี้จะตอ งพูดอยางนี้ คือ มองงานของตัวเองวาตอ ง เกี่ ยวขอ งกั บชุม ชนอะไรบางในเชิง ธุรกิ จ และมี ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล อ มอยางไรแล วชุม ชนนั้นคิดอยางไร เดือดรอนอยางไรเชื่ออยางไรเพื่อเราจะไดปฏิบัติเขากับสังคมไดอยางถูกตอง ๗. ปุคคลัญุตา (Knowing the individual, Knowing the different individuals) หมายถึง “ความเปนผูรูจักบุคคล” ควรรูวิธีเลือกบุคคลวาผูนี้เปนคนดี ควรคบผูนี้เปนคนไมดีไมควรคบ คือ การวางแผนการบริ หารงานตอ งใชคนทํ างานและจํ าเปนตอ งติดตอกั บบุ คคลในชุมชนการจัดหาคนเขา ทํางานตองสอบสัมภาษณคนเขาเปนพนักงานตองเลือกใหถูกตองกับความรูความสามารถและตองเปนคนดี ดวยงานจึงจะบรรลุความสําเร็จ การวางแผนการบริ ห ารงานตามสถานการณ เ ชิ ง พุ ท ธนี้ แ ท จ ริ ง แล ว ก็ เ ป น การบริ ห ารงานที่ ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณทั้งภายนอกและภายในตัวเรา ในแตละเหตุการณ แตละปญหามันก็มีวิธีการ แก ปญ หาแตกตางกันไป ตามวัฒ นธรรมองคการ สถานที่เ กิดเหตุป จจั ยอื่ น ๆ ความถนัดของผูวางแผน เพราะฉะนั้นตองเลือกใชธรรมะใหถูกฝา ถูกตอง ภาษาพระเรียกวาธรรมานุธรรมะปฏิบัติ คือ ปฏิบัติธรรม นอยใหคลอยธรรมใหญ เลือกธรรมะยอยๆมาปฏิบัติใหสอดคลองกับเปาหมายที่ตองการการเลือกใชธรรมะ ใหถูกตองนี่แหละคือการวางแผนการบริหารเชิงพุทธ ๓. ความสําคัญของการวางแผนงาน (Planing) การวางแผนงานในการบริ ห ารจั ด การขององค ก ารทุ ก ระดั บ จะมี แ นวคิ ด ว า การวางแผน เปรียบเสมือนเข็มทิศชี้ทางเดินใหแกองคการนั้นๆ การวางแผนงานนับวาเปนองคประกอบที่สําคัญตอการ บริหารจัดการองคการทุกประเภททั้งภาครัฐและเอกชน ถาปราศจากการวางแผนแลวก็จะเหมือนเรือที่ไร หางเสื อ องคการก็ จ ะถูกพั ดพาไปตามกระแสลมของการเปลี่ยนแปลงซึ่ งมาจากสิ่ งแวดล อมทางสัง คม เศรษฐกิจ เทคโนโลยีและการเมืองโดยไมมีทิศทางที่แนนอน “การวางแผน” (Planning) มาจากคําในภาษาละตินวา “แพลนัม” (Planum) หมายถึงพื้นที่ ราบหรือพิมพเขียวคําภาษาอังกฤษใช “Planning”ซึ่งหมายถึงขั้นตอนการกําหนดและการดําเนินการเพื่อ บรรลุเป าหมาย หรือทําใหเปาหมายเป นจริง๓กระบวนการวิเคราะหและการตัดสินใจของผูบริ หารที่จ ะ กํ า หนดวิ ธี ก ารไว ล ว งหน าอย า งเป นระบบเพื่ อ ใช เ ป น แนวทางปฏิ บั ติ ใ ห บ รรลุ ผ ลตามเป า หมายและ วัตถุประสงคที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพโดยนําเอาขอมูลขาวสาร (Information) ในอดีตมากําหนด หรือพยากรณอนาคตดังนั้นแนวคิดของการวางแผนจึงมีลกษณะเปน “ศาสตร” ที่ตองใชขอมูลเชิงประจักษ ั ๓ วันชั ย มี ชาติ . อางอิงใน Judith R. Gordon and associates, Menagement and Organization Behevior, (Massachusetts :Allyn& Bacon, 1990), p. 107.
  • 4. ๔ (Empirical Information) ที่มีความแมนตรงและเชื่อถือไดและจะตองประกอบดวยองคประกอบที่ชัดเจน และมีความตอเนื่องกั นตามลํ าดับ ทั้ง นี้เพื่ อให ผูใชแผนมีความรูและความเขาใจที่ จะสามารถนําแผนไป ปฏิบัติใหบรรลุผลสําเร็จได การวางแผนงานประกอบดวยการวางแผน ๓ ประการ ดังนี้ ๑. การวางแผนการบริหาร ประกอบดวย การวางแผนยุทธศาสตรการวางแผนกลยุทธและการ วางแผนปฏิบัติการ ๒. การวางแผนการจัดการความเสี่ยง ๓. การวางแผนการจัดการความรู ซึ่งสามารถสรุปเปนแผนภาพได ดังนี้ คน(Man) การวางแผนการบริหาร การวางแผนการจัดการความรู Manegement Planning การวางแผนยุทธศาสตร strategy planning การวางแผนกลยุทธgold planning การวางแผนปฏิบัติการaction planning Knowledge Planning การวางแผน Planning เงิน(Money) งาน(Work) การวางแผนความเสี่ยง Risk Planning แผนภาพที่ ๑ แสดงกระบวนการวางแผน จากแผนภาพแสดงกระบวนการวางแผนนั้นมีองคประกอบในการวางแผนที่สําคัญอยู ๓ อยาง คือ คน (Man) เงิน (Money) และงาน (Work) ในการกระบวนการการบริหารจัดการระหวางคนและเงินนั้นจะ มีการวางแผนการบริหารงานที่สําคัญอยู ๓ แผนงาน คือ การวางแผนยุทธศาสตร(Strategy planning) การวางแผนกลยุทธ (Gold planning) และการวางแผนปฏิบัติการ (Action planning) ในกระบวนการ การบริหารจัดการระหวางเงินและงานนั้นจะมีการวางแผนการบริหารความเสี่ยง (Risk Planning) และใน กระบวนการการบริ ห ารจั ด การระหวา งคนและงานนั้ นจะมี ก ารวางแผนการบริ ห ารจั ด การความรู (Knowledge Planning)
  • 5. ๕ ฉะนั้นการวางแผนทุกระดับจะมีประโยชนทั้งตอผูบริหารและผูปฏิบัติคือ ปองกันมิใหเกิดปญหา และความผิดพลาด หรือลดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในการปฏิบัติงานในอนาคตทําใหองคการมีกรอบหรือ ทิศทางในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนวาจะทําอะไร ที่ไหนเมื่อไร อยางไร และใครทําทําใหนักบริหารมีความ มั่นใจในการปฏิบัติงานใหบรรลุผลสําเร็จไดงายชวยใหเกิดการประหยัดทรัพยากรทางการบริหาร เชนคน เงิ น วัส ดุอุ ป กรณ เ วลาฯลฯชว ยให ก ารปฏิ บั ติง านรวดเร็ ว มี ป ระสิ ท ธิภ าพ เพราะมี แผนเป น แนวทาง “เปรียบเสมือนเรือที่มีหางเสือ” ชวยใหการปฏิบัติงานเปนระบบนักบริหารสามารถควบคุมติดตามการ ปฏิบัติงานไดงาย ถาจะแบงระดับของการวางแผนตามลักษณะของการบริหารงานในองคการสามารถแบงออกเปน๓ ระดับ๔ คือ ๑. การวางแผนระดับนโยบาย (Policy Planning) เปนแผนระดับสูงสุดขององคการ มักจะระบุแนวทางอยางกวางๆซึ่งเปนพื้นฐานที่จะกอใหเกิดแผนชนิดอื่นๆสวนใหญจะเปนแผนระยะยาว (Long - Range Plan) เชนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่๑๐ ๒. การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) เปนการวางแผนหลอมรวมครอบคลุม กิจกรรมทั้งหมดขององคการหรือแผนงานใหญขององคการโดยจะระบุไว “อยางกวาง” และ “มองไกล” ไป พรอมๆกันซึ่งมักจะเปนแผนระยะยาว๕–๑๐ปซึ่งจะตองสอดคลองกับแผนระดับนโยบาย ๓. แผนปฏิบัติการหรือแผนดําเนินงาน (Operation Plan) เปนการวางแผนที่กําหนด จุดมุงหมายระยะสั้น ระยะเวลาไมเกิน๑ป ซึ่งถายทอดมาจากแผนกลยุทธองคประกอบของแผนปฏิบัติการ จะประกอบด วยวัตถุ ป ระสงค เ ป าหมาย กิ จ กรรมขั้น ตอนการปฏิ บั ติง บประมาณผู รั บ ผิ ดชอบในการ ดําเนินงานแผนปฏิบัติการแบงออกเปน๒ประเภท คือแผนใชประจํา (Standing Plans) และแผนใช เฉพาะครั้ง (Single - use Plans) การวางแผนยุทธศาสตร หรือ การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) เป นกระบวนการ ตัดสินใจเพื่อกําหนดทิศทางในอนาคตขององคการ โดยกําหนดสภาพการณในอนาคตที่ตอ งบรรลุและ กําหนดแนวทางในการบรรลุสภาพการณที่กําหนดบนพื้นฐานขอมูลที่รอบดานอยางเปนระบบการกําหนด แนวทางที่จะบรรลุสภาพการณในอนาคตที่ตองการใหเกิด จะตองตั้งอยูบนพื้นฐานของขอมูลที่รอบดาน คือ จะตองคํานึงถึงสภาพการณที่ตอ งการใหเ กิดศัก ยภาพหรือ ขีดความสามารถขององคการ และการ เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมตาง ๆ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดลอมการกําหนด แนวทางที่จ ะบรรลุสภาพการณในอนาคตที่ ตองการใหเกิดจะตองเปนระบบ คือ แนวทางที่กําหนดขึ้น จะตองดําเนินไปอยางเปนขั้นเปนตอน การวางแผนยุทธศาสตรจะตองตอบคําถามหลัก ๓ ประการ คือ ๔ วันชัย มีชาติ. การบริหารองคการ. พิมพครั้งที่ ๔ (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) ๒๕๕๔, หนา ๑๕๕-๑๕๖
  • 6. ๖ ๑. องคการกําลังจะกาวไปทางไหน (Where are you going?) ๒. สภาพแวดลอมเปนอยางไร (What is the environment?) ๓. องคการจะไปถึงจุดหมายไดอยางไร (How do you get there?) กระบวนการการวางแผนยุทธศาสตร (Strategic Planning Processes) มีขั้นตอนดังตอไปนี้ ๑) กําหนดวิสัยทัศน (Vision) ๒) กําหนดภารกิจหรือพันธกิจ (Mission) ๓) กําหนดเปาประสงคหรือจุดมุงหมายเพื่อการพัฒนา (Goal) ๔) กําหนดประเด็นยุทธศาสตรหรือยุทธศาสตร (Strategy) ๕) กําหนดกลยุทธหรือแนวทางการพัฒนา นามธรรม วิสัยทัศน (Vision) ตองการเปนอะไร พันธกิจ (Mission) ตองทําอะไร จุดมุงหมายเพื่อการพัฒนา ทําเพื่ออะไร ยุทธศาสตร ทําอยางไร แนวทางการ ทําโดยวิธีการใด พัฒนา รูปธรรม เปาหมาย ทําแคไหน/เทาใด/กับใคร/เมื่อใด แผนภาพที่ ๒ แสดงกระบวนการการวางแผนยุทธศาสตร (Strategic Planning Processes) คําว า “ยุ ท ธศาสตร ” (Strategy)” มี ค วามหมายรวมถึ ง “จุ ดหมายปลายทาง (End)” และ “วิธีก ารสู จุ ด หมายปลายทาง (Means) เชิง นโยบาย” ซึ่ ง ใช ในการกํ า หนดนโยบายจากการวิเ คราะห สภาพแวดล อ มภายในและภายนอกองค ก าร (SWOT) ตามหลั ก วิ ช าการ ส ว นคํ า ว า “กลยุ ท ธ ” (Strategies)” หมายถึง “วิธีก ารสู จุดหมายปลายทาง (Means) ระดับ ปฏิบัติการและเปนแนวทางเพื่ อ ตอบสนองวิธีการสูจุดหมายปลายทางระดับนโยบาย”
  • 7. ๗ ๔.ประโยชนการใชหลักสัปปุริสสธรรม ๗ มาใชในการวางแผนการบริหาร เมื่อสัปปุริสธรรม ๗หมายถึงธรรมที่ทําใหคนเปนสัตบุรษหรือ เปนคนดี มีคุณธรรม เปนคนเกง หาก ุ นํามาใชกับการวางแผนการ ยอมทําใหเกิดประโยชนในการวางแผนการบริหาร ดังนี๕ ้ ๑.ธัมมัญูรูจักเหตุคือ รูจักเหตุ คือรูหลักความจริง รูหลักการ รูหลักเกณฑ รูกฎเกณฑแหงเหตุผล และรูหลักการที่จะทําใหเกิดผล เชนเห็นเหตุการณอะไรก็ตามแตก็จะรูไดวาเกิดจากเหตุอะไรเชน ทําไมฝน จึงตกสาเหตุมาจากอะไร และผลจะเปนอยางไร รูวาจะตองกระทําเหตุแบบนี้จึงจะใหเกิดผลที่ตองการนั้นๆ เปนตน ๒.อั ตถัญ ูรู จั ก ผลรู ความหมายรู ความมุ ง หมาย รู ป ระโยชนที่ ป ระสงคคือ รู จั ก ผลที่ จ ะเกิ ดขึ้น สืบเนื่องจากการกระทํา ซึ่งสามารถกอใหเกิดประโยชนเกิดผลไดจริง ๓.อัตตัญูรูจั กตนเปนผู รูจักตนคือ รูจักตัวตนของเราเอง วาโดยฐานะ ภาวะ เพศ กํ าลังความรู ความสามารถ ความถนัดและคุณธรรม สามารถประเมินตนเองไดในหลักธรรม ดังนี้ศรัทธา (ชอบ รักในงาน อะไร)ศีล (วินัย)สุตะ(ความรู)จาคะ (ความเสียสละ)ปญญา (กระบวนการในการพัฒนาความรูที่มีอยู)เปนตน แลวประพฤติใหเหมาะสมและรูที่จะแกไขปรับปรุงตอไป ตัวอยางของผูที่รูจักตน สตีเฟนพอลจอบส (Steven Paul Jobs) (เกิดเมื่อวันที่ ๒๔กุมภาพันธ ค.ศ. ๑๙๕๕) ผูบริหารระดับสูงของแอปเปล คอมพิวเตอร และ พิกซารแอนิเมชันสตูดิโอสและเปนบุคคลชั้น นําในวงการอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร ในฐานะผูรวมกอตั้งแอปเปลคอมพิวเตอร รวมกับสตีฟ วอซเนียก ใน ปค.ศ. ๑๙๗๖เขาไดชวยทําใหแนวความคิดเรื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลเปนที่นิยมขึ้นมาดวยเครื่องApple II ตอมาเขาไดเปนผูแรกที่มองเห็นศักยภาพทางการคาของสวนประสานงานผูใชแบบกราฟกสและเมาส ที่ถูก พัฒนาขึ้นในศูนยวิจัยซีร็อกซพารค ของบริษัทซีร็อกซและไดมีการผนวกเทคโนโลยีเหลานี้เขาไวในเครื่อง แอปเปล แมคอินทอชสตีฟยังเปนประธานกรรมการบริหาร และผูบริหารระดับสูงของ พิกซารแอนิเมชัน สตูดิโอสผูนําดานการผลิตภาพยนตรแอนิเมชันดวยคอมพิวเตอรกราฟกส ๔.มั ต ตัญ ู รู จั ก ประมาณเป น ผู รู จั ก ประมาณคื อ ความพอดี ความเหมาะสม สอดคล อ งกั บ สภาพการณ ๕.กาลัญ ูรูจัก กาลเปนผูรู จักกาลคือรู กาลเวลาอั นเหมาะสม และระยะเวลาที่จะตองใชในการ ประกอบกิจ กระทําหนาที่การงานเชน แบงเวลา ทําใหถูกจังหวะ ใหตรงเวลา ใหเปนเวลา ใหทันเวลา ให พอเวลาใหเหมาะเวลา เปนตน ๖.ปริสัญูรูจักบริษัทเปนผูรูจักบริษัทคือ รูจักชุมชน และรูจักที่ประชุม รูกิริยาที่จะประพฤติตอ ชุมชนนั้นๆ วาชุมชนนี้เมื่อเขาไปหา จะตองทํากิริยาอยางนี้ จะตองพูดอยางนี้ชุมชนนี้ควรสงเคราะหอยางนี้ เปนตน ๕ ม.อุ. ๑๔/๑๔๓/๑๑๒., พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพครั้งที่ ๑๖, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส จํากัด, ๒๕๕๑), หนา ๒๑๙-๒๒๐.
  • 8. ๘ ๗.ปุคคลปโรปรัญู รูจักเลือกคบคนปุคคลัญุตา หรือปุคคลปโรปรัญุตา เปนผูรูจักบุคคล คือ ความแตกตางแหงบุคคลวา โดยอัธยาศัยความสามารถ และคุณธรรม เปนตน ใครๆ ยิ่งหรือหยอนอยางไร และรู ที่ จะปฏิบั ติตอ บุคคลนั้นๆ ดวยดี วาควรจะคบหรื อ ไม จะใชจ ะตําหนิ ยกยองและแนะนําสั่ งสอน อยางไร เปนตน ดวยการนําหลักสัปปุริสธรรม ๗ มาใชในการวางแผนนี้เอง ทําใหผูวางแผนสามารถพิจารณาถึง องคประกอบที่สําคัญสําหรับการวางแผนทั้ง ๓ อยาง คือ คน(Man) เงิน(Money) และงาน(Work) ไดอยาง ถูกตองและรอบคอบชัดเจนยิ่งขึ้นนําสิ่งตางๆที่มีความเกี่ยวของ เชน กําหนดวัตถุประสงคและทิศทางการ ดําเนินงานตางๆ อีกทั้งยังสามารถตอบคําถามหลักสามประการในการวางแผนยุทธศาสตร คือ องคการ กําลังจะกาวไปทางไหน สภาพแวดลอมเปนอยางไร องคการจะไปถึงจุดหมายไดอยางไรเกิดกระบวนการ วางแผนที่มีประสิทธิภาพทุกระดับการวางแผน เชน แผนระดับนโยบาย แผนระดับกลยุทธ แผนปฏิบัติการ ๕. บทสรุป หลักพุทธธรรม มิไดมีจุดหมายเพื่อพัฒนาองคการหรือหนวยงาน และเปนทฤษฎีขององคการใน การบริหาร แตหลักพุทธธรรมไดใหความสําคัญสําหรับคน ในสังคมที่อยูรวมกัน หมายความวา พุทธธรรม นั้นตองการใหมนุษย ไมวาจะอยูในฐานะใดก็ตาม สามารถพัฒนาตนในทางคุณธรรมไดแสดงออกมาโดย ธรรมที่ ค วรประพฤติ ทั้ ง องคค วามรู ความสามารถ หลั ก สั ป ปุ ริ ส ธรรมเป น หลั ก หลั ก คนดี ที่ ถู ก ต อ ง ประกอบดวย ความเปนคนรูจักเหตุ รูจักผล รูจักตน รูจักประมาณ รูจักกาล รูจักชุมชน และรูจักบุคคล “การวางแผน” (Planning) คือ กระบวนการวิเคราะหและการตัดสินใจของผูบริหารที่จะกําหนดวิธีการไว ลวงหนาอยางเปนระบบเพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติใหบรรลุผลตามเปาหมายและวัตถุประสงคที่กําหนดไว อยางมี ป ระสิ ท ธิภาพการวางแผนการบริ ห ารงานตามสถานการณเ ชิง พุ ท ธนี้แท จ ริ ง แล วก็ เ ป นการวาง แผนการบริหารงานที่ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณทั้งภายนอกและภายในตัวเรา ในแตละเหตุการณ แต ละปญหามันก็มีวิธีการการวางแผนแตกตางกันไป ตามวัฒนธรรมองคการ สถานที่เกิดเหตุปจจัยอื่น ๆ ความ ถนัดของผูแกปญหาวาจะเลือกอาวุธอะไรมาใชงานธรรมะอื่น ๆ ที่เนนตามสถานการณก็ยังมีอีกมาก
  • 9. ๙ ๖. บรรณานุกรม ๑. ภาษาไทย ก. ขอมูลปฐมภูมิ พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโ ต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. พิ ม พ ครั้ ง ที่ ๑๖. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอส. อาร. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส จํากัด, ๒๕๕๑. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. ข. ขอมูลทุติยภูมิ (๑).หนังสือ ณัฎฐพันธ เขจรนันทน, ผศ.ดร.. การจัดการเชิงกลยุทธ (ฉบับปรับปรุงใหม). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, ๒๕๕๒. วันชัย มี ชาติ. การบริหารองคการ. พิ ม พ ครั้ ง ที่ ๔. กรุ ง เทพมหานคร : สํ านัก พิ ม พ แห ง จุ ฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๔. (๒). บทความ ปฐมพงษ ทิ นบรรเจิ ดฤทธิ์, ผศ. “พุ ท ธจริ ย ศาสตร กั บ รั ฐ ศาสตร ” , พระพุทธศาสนากับจริย ศาสตร . กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, (กันยายน ๒๕๕๑) : ๓๕๓-๓๖๕ ๒. ภาษาอังกฤษ ๓. สื่ออิเล็กทรอนิคส พระมหาทวี มหาปฺโญ (ละลง).การบริหารแบบ “POSDCORB” เชิงพุทธ. http://cdn.learners.in.th/assets/media/files/000/303/204/original_Acr28.doc?12865 38512 สืบคนเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๕. สมหวังวิทยาปญญานนท. บริหารดวยสัปปุริส ธรรม.http://www.budmgt.com/budman/bm01/goodman.html สืบคนเมื่อวันที่ ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๕.