SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
Baixar para ler offline
การมีส่วนร่ วมของประชาชนเพือสร้ างชุ มชนเข้ มแข็ง : กรณีศึกษา
                              เชียงคานโมเดลด้ านการท่ องเทียวเชิงอนุรักษ์
                                                                    พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต 
                                                                    กัญจน์ วงศ์อาจ 

บทคัดย่อ
         เชียงคานเป็ นเมืองต้นแบบที ควรศึก ษาในหลายประเด็น ตังแต่ อิทธิพลความเชือโบราณ ไป
จนถึงการเปลียนแปลงในปั จ จุบัน ชาวเชี ย งคานมีพืนฐานรั ก สงบ จิ ตใจงาม เปิ ดใจเป็ นมิต รกับคน
ภายนอกทุ ก คน มีค วามเชื อเป็ นกฎการสื บทอดวัฒนธรรม(คะลํา) มีประเพณี อน ดีงาม ที ได้รั บจาก
                                                                              ั
อิทธิพลของพุทธศาสนาผสมผสานกับความเชือแบบชนเผ่าตังแต่สมัยล้านช้าง แต่จากกระแสการพัฒนา
จากภาครัฐจึงผลักดันให้เกิดการพัฒนาทีเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตนขึ นมาใหม่ เพือการค้นหาอัตลักษณ์
ความเป็ น “เชียงคาน” จึงเกิดเชียงคานโมเดลขึ นเพือเป็ นต้นแบบในการกําหนดทิศทางการพัฒนาของ
อําเภอเชียงคาน แต่การพัฒนาเพือทีจะทําให้เกิดชุมชนเข้มแข็งทียังยืน จึงมีความจําเป็ นต้องระดมความ
คิดเห็นจากคนในชุมชนหลายฝ่ าย

คําสําคัญ การมีส่วนร่ วมของประชาชน, การท่องเทียวเชิงอนุรักษ์, ชุมชนเข้มแข็ง.

บทนํา
         เชียงคานมีประวัติศาสตร์ยาวนาน เดิมเป็ นเมืองในราชอาณาจักรล้านช้างสมัยปฐมกษัตริ ยลาว์
สร้างโดยขุนคาน กษัตริ ยเ์ มืองเชียงทอง โอสรขุนคัว (หลวงพระบาง) เชือสายขุนลอ ในพงศาวดารล้าน
ช้าง มีการเฉลิมฉลองครบรอบ ปี เมือ พ.ศ.              เชียงคานเป็ นเมืองต้นแบบทีควรศึกษาในหลาย
ประเด็นตังแต่อิทธิพลความเชือโบราณ ไปจนถึงการเปลียนแปลงในอนาคต
         เชียงคานได้รับการยอมรับว่าเป็ นเมืองงาม ในความทรงจําของผูคนทีมาเยียมเยือน เนื องจากมี
                                                                     ้
เอกลักษณ์เฉพาะของกลุ่มอาคารบ้านไม้เก่า ทีเป็ นกลุ่มก้อนมากทีสุดแห่งหนึงในประเทศไทยเป็ นเมืองที
ตังอยูริมแม่นาโขง ในฤดูหนาวจะมีเมฆหมอกลอยละล่องตัดกับผืนแผ่นแม่นาโขงและทิวเขาทีสวยงาม
      ่       ํ                                                          ํ
ในฝังประเทศสปป.ลาว มีวดวาอารามทีเก่าแก่เป็ นศิลปะดังเดิมและเป็ นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน รวม
                           ั
งานศิลปะทังแบบล้านนาและล้านช้าง มีศิลปวัตถุโบราณหลายชิ นและจิตรกรรมนิ ทานชาดกทีมีคุณค่า
ทางประวัติศาสตร์ ด้วยเหตุนี จํานวนนักท่องเทียวจึงมีการขยายตัวเรื อยมา ทําให้เกิดการพัฒนาด้านการ


    คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย

     ประธานเครื อข่ายชมรม “รักษ์ถินไทเลย” นักวิจยชาวบ้าน
                                                ั
ท่องเทียวอย่างต่อเนือง ทีพักอาศัยแบบ Home stay และร้านค้า การลงทุนด้านธุรกิจทีเกียวข้องกับการ
ท่องเทียวมีมากขึน พร้อมมีการเขียนสนับสนุ นทางการตลาดในสื อต่างๆ มากมาย แม้ว่าเชียงคานจะมี
ความเข้มแข็งของศูนย์วฒนธรรมไทยสายใยชุมชนทีมีคณะกรรมการชุมชน ฝ่ าย ทํางานกันอย่าง
                            ั
สามัคคีทีวัดศรี คุณเมือง (มีพิพิธภัณฑ์พืนบ้านแสดงมรดกทางวัฒนธรรมภายในวัด โดยได้รับรางวัล
ระดับภูมิภาคชุมชนเข้มแข็งดีเด่นในปี          แม้เพิงจะเริ มโครงการมาเพียง - ปี เท่านัน) แต่อาจเกิด
ผลกระทบจากการท่องเทียวในด้านลบทีมีต่อมรดกทางวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมของเมืองเชียงคาน
ได้
           จากกระแสของการพัฒนาบนพืนฐานของความขัดแย้งทางการเมืองระดับประเทศนัน ส่ งผลดี
ในด้านงบประมาณของโครงการพัฒนาภาครัฐ การค้าการลงทุนจากภายนอกทีส่ งเสริ มให้จงหวัดเล็กๆ    ั
ทีมีชายขอบติดแม่นาโขง พรมแดนไทย-สปป.ลาว อันสงบ
                       ํ
           ปัจจุบนจังหวัดเลยมีแผนงานโครงการเลยโมเดล ในอําเภอเชียงคานจึงเกิด ”เชียงคานโมเดล” มี
                  ั
โครงการบูรณะ ปรับปรุ ง และพัฒนาอาคารทีควรค่าแก่การอนุ รักษ์ ฯลฯ เป็ นการพัฒนาอย่างเร่ งรี บซึง
ผูวิจ ัยเห็น ว่าล้ว นเกิด มาจากการชี นําจากภายนอก และอํานาจรั ฐทังสิ น แล้ว คนทีอยู่ในชุ มชนที ไม่มี
  ้
ภูมิคุมกันหรื อมีรากฐานทางสังคมอ่อนแอจะปรับตัวอย่างไร ดังนัน การค้นหาเอกลักษณ์ความเป็ น”
       ้
เชียงคาน” และทิศทางการพัฒนาไปข้างหน้า จึงมีความจําเป็ นอย่างยิงต่อขบวนการตัดสิ นใจกําหนดใช้
แผนพัฒ นาโดยกระบวนการการมีส่วนร่ วมของประชาชนเพือสร้างชุ มชนเข้มแข็ง เพือศึกษาค้นหา
มรดกทีเป็ นอัตลักษณ์ของตนเองด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิตของชาวเชียงคานจากมุมมองของคนในชุมชน
และการวิ เคราะห์ห าแนวทาง วิ ธี ก าร และรู ป แบบที เหมาะสมในการส่ งเสริ มความเข้มแข็ ง และ
พัฒนาการของชุมชนทียังยืน (กรอบแนวคิดเชียงคานโมเดล)
           บทความนี ได้รั บ การเรี ยบเรี ยงขึ นจากงานภาคสนาม และการค้น คว้า เอกสาร โดยมี
วัตถุประสงค์เพือฉายภาพของชุมชน บริ บทของชาวอําเภอเชียงคาน และสรุ ปเชิงวิเคราะห์ถึงประเด็นที
ต้องพิจารณาในการกําหนดนโยบายพัฒนาเชียงคานด้านการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ โดยมีรายละเอียด
ดังนี

วัตถุประสงค์การวิจย ั
             . เพือศึกษาค้นหามรดกทางวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคานจากมุมมองของชุมชน
             . เพือศึกษาแนวทางและความเป็ นไปได้ของศักยภาพในการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์
             . วิ เคราะห์ แนวทาง วิ ธีก าร และรู ปแบบที เหมาะสมในการส่ งเสริ มและพัฒ นาการ
ท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ ตําบลเชียงคาน อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
รูปแบบการศึกษาวิจย (Research Design)
                 ั

        การวิจยโดยมุ่งศึกษารู ปแบบการส่งเสริ มการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ชุมชนตําบลเชียงคาน อําเภอ
               ั
เชียงคาน และศึกษาเพือค้นหามรดกทางวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน โดยใช้วิธีเสวนาเชิงปฏิบติการ   ั
เพือระดมความคิด แลกเปลียนความคิดเห็นโดยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลผสมผสานระหว่างการศึกษา
จากเอกสาร (Documentary Research) เพือวิเคราะห์แนวคิดจากทฤษฎีและข้อมูลงานวิจยทีเกียวข้อง
                                                                                     ั
และการวิจยภาคสนาม (Field Research) โดยมีการกลันกรอง เลือกสรร และเรี ยนเชิญบุคคลทีจะมาเข้า
          ั
ร่ วมเสวนาเชิงปฏิบติก่อนล่วงหน้า เพือความพร้อมเพรี ยงกันในวันประชุม
                  ั

        การเลือกประชากรกลุ่มตัวอย่าง
       ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และใช้วิธีการ Snowball Technique เพือให้
ได้คุณภาพและปริ มาณบุคคลทีจะเข้าร่ วมเสวนาให้มากทีสุด ซึงในการวิจยครังนีมีผตอบรับและเข้าร่ วม
                                                                 ั         ู้
เสวนาทังสิน คน

       ขอบเขตด้ านเวลาการวิจย มกราคม – มิถุนายน
                            ั

          กิจกรรมภาคสนาม
          การวิจยภาคสนาม แบ่งเป็ น ภาคส่วนใหญ่ๆ
                 ั
            . ค้นหามรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน แบ่งเป็ น กลุ่ม ๆ ละ คน โดยมีการจัดวางตัว
บุคคลให้เกิดความหลากหลายตังแต่ผเู้ ฒ่า ผูแก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผูรู้ภูมิปัญญาท้องถิน ข้าราชการบํานาญ
                                          ้                  ้
ผูประกอบการธุรกิจท่องเทียว ตัวแทนเยาวชนคนรุ่ นใหม่ แกนนําชุมชนทังภาคเอกชนและภาคราชการ
  ้
โดยมีผสงเกตุการณ์รอบ ๆ อีกประมาณ - คน
       ู้ ั
            . เสวนาแลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับแนวความคิดทิศทางในการพัฒนาเมืองเชียงคาน โดย
เฉพาะทีเกียวข้องกับการท่องเทียว โดยมีคาถามว่าชาวเชียงคานจะเตรี ยบรับมืออย่างไรให้มีการพัฒนา
                                        ํ
ด้านการท่ องเที ยวที ยังยืน โดยได้มีก ารระดมความคิ ด เปิ ดโอกาสให้ชาวบ้านที ต้องการพูด เสนอ
ข้อคิดเห็นได้มีโอกาสได้แสดงออกในประเด็นทีทุกคนควรใส่ ใจ เพือลูกหลานชาวเชียงคานในอนาคต
จะได้มี “มรดก” ทังทางวัฒนธรรมและสิงแวดล้อมอยูคู่กนไปตราบนานเท่านาน
                                                 ่ ั

       การวิเคราะห์ ข้อมูลและตรวจสอบข้ อมูล
       ผูวิจยได้นาข้อมูลเอกสารและข้อมูลภาคสนามทีได้จากการสังเกตและสัมมนานํามาตรวจสอบ
         ้ ั     ํ
ความถูกต้องของข้อมูล และจัดหมวดหมู่แยกแยะเป็ นประเด็นต่าง ๆ ทีพบโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ขอมูล
                                                                                       ้
ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื อหา (Content Analysis) ตามประเด็นทีค้นหา (Topic) และนํามาพรรณาเชิ ง
อุปนัย (Inductive) เพือสรุ ปข้อมูลในการนําไปใช้งานต่อไป

บริบททัวไปของชุมชนเชียงคาน

        ในอดีตอําเภอเชียงคานขึนกับเมืองพิชย จังหวัดอุตรดิตถ์ พอเสี ยดินแดนให้กบฝรังเศสจึงเป็ น
                                           ั                                  ั
เมืองอิสระแต่ก็มีการขอความช่วยเหลือจากจังหวัดเลยตลอดมา จนมีการโอนการปกครองมาขึนกับเมือง
เลย มณฑลอุดร ตามหนังสือที 31/2224 วันที 5 มิถุนายน 2454 (ร.ศ.130) และการก่อสร้างถนนมากขึ น
ในช่วง พ.ศ. 2486-2494 จากประวัติการสํารวจเส้นทางทุกภาคส่วนของประเทศ การเกิดของถนนเชียง
คาน-ปากชมเกิดขึนตามโครงการสํารวจแผนทีธรณี วิทยาจังหวัดเลย โดยนายเกษตร พิทกษ์ ไพรวัน
                                                                                  ั
หัวหน้ากองธรณี วิทยา (100 ปี กรมทรัพย์ฯ กระทรวงอุตสาหกรรม ;มกราคม 2535) ปัจจุบนพืนทีในเขต
                                                                                ั
ตําบลเชียงคาน แบ่งการปกครองทังหมด 6 หมู่บาน 9 ชุมชน โดยมีพืนทีประมาณ ตารางกิโลเมตร
                                             ้
อยูในเขตความรับผิดชอบของ องค์การบริ หารส่วนตําบลเชียงคาน และเขตเทศบาลตําบลเชียงคาน
   ่

          ลักษณะเด่ นของอําเภอเชียงคาน
          เป็ นเมืองทีมีธรรมชาติสวยงาม มีการพัฒนาผสมผสานชาติพนธุ์-เผ่าพันธุ์มาหลายร้อยปี จนเกิด
                                                                 ั
เป็ นวัฒนธรรม-ประเพณี -ภาษาเฉพาะถิน มีโบราณวัตถุและศิลปะโดยรับอิทธิพลจากล้านช้าง ล้านนา
เวียงจันทร์ ขอม มอญ เป็ นต้น มีวิถีชีวิตรักความสะงบ มีชุมชนเข้มแข็ง มีความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สินของประชาชนและนักท่องเทียว
          มีสถานทีท่องเทียวทางธรรมชาติทีสวยงาม ได้แก่ แก่งคุดคู้ วัดพระพุทธบาทภูควายเงิน จุดชม
วิวภูทอก จิตรกรรมฝาผนังวัดศรี คุณเมือง ชมทิวทัศน์ริมฝังโขง ศูนย์วฒนธรรมไทดําบ้านนาป่ าหนาด
                                                                    ั
ศูนย์วฒนธรรมผีขนนํา บ้านนาซ่าว พระพุทธนวมินทรมงคลลีลาทวินคราภิรักษ์ (พระใหญ่) วัดปากนํา
        ั
เหือง บ้านท่าดีหมี เป็ นต้น
          มีความอุดมสมบูรณ์ มีอากาศเหมาะสมต่อการปลูกพืชผลได้ทุกชนิ ด และมีแหล่งนําเพือการ
เพาะปลูกทีสามารถพัฒนาศักยภาพได้
          และมีศกยภาพในการอํานวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุนตลอดชายแดนกับ สปป.ลาว (มี
                   ั
ท่าเรื อขนส่งสินค้าเข้า-ออก)

       ประเด็นปัญหาทีสําคัญของอําเภอเชียงคาน
        ) ปัญหาขาดเอกสารสิทธิในทีดินทํากินและทีอยูอาศัย(ทีดินทับซ้อนราชพัสดุ ป่ าไม้ ป่ าสงวน)
                                                  ่
) ปัญหาสภาพเส้นทางคมนาคมไม่สะดวกและมีสภาพชํารุ ดทรุ ดโทรม (จากการขุดทรายและ
รถบรรทุกแร่ )
         ) ปัญหาขาดแคลนแหล่งเก็บกักนําเพือการเกษตร (ลํานําสาขาทีเป็ นแหล่งต้นนํา)
         ) ปัญหาการลักลอบขนยาเสพติดเข้ามาในราชอาณาจักร
         ) ปัญหาตลิงริ มแม่นาโขงถูกกัดเซาะพังทลาย และผลกระทบจากเขือนจีน (การกัดเซาะ การ
                            ํ
ไหลของตะกอน การขึน-ลงของระดับนํา การลดลงของปลาในระบบนิเวศแหล่งธรรมชาติ)
         ) ปัญหาบุคคลต่างด้าวลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย เพือค้าแรงงาน และการค้าประเวณี
(แอบแฝงในรู ปร้านอาหารทัวไป)
         ) ปัญหา การลักลอบขุดแร่ เถือน การบุกรุ กพืนทีป่ าเพือครอบครองปลูกยางพาราของนายทุน
การขาดความสมดุลทางทรัพยากรธรรมชาติ (พืชเชิงเดียวและการใช้สารเคมี)
          ) ปั ญ หาความยากจนจากสภาพสังคมเศรษฐกิ จ ที เปลียนไป, ความไม่แน่ น อนจากแผน
บริ หารงานท้องถิน, การซือสิทธิ-ขายเสียงทางการเมือง, หนี สินนอกระบบ และปัญหาสังคมจากค่านิ ยม
วัตถุของเยาวชน
         ) ปัญหา จากนโยบายสาธารณะ (สร้างเขือน อุตสาหกรรมแร่ ทองคํา-เหล็ก โครงการผันนํา
ขนาดใหญ่)

ความเข้ มแข็งของชุ มชนเครืองมือแก้วกฤตการณ์สังคมไทย
                                   ิ

          ในเรื องการสร้างชุมชนเข้มแข็ง พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในพรรษาสุ ดท้ายก่อนทีจะปริ นิพพาน
โดยใช้หลักอปริ ยหานิยธรรม 7 ประการ เป็ นธรรมะแห่งการคิดการทําร่ วมกัน เช่น การประชุมกันเนื อง
นิด เป็ นต้น ดังนันจึงไม่ใช่เรื องใหม่ ซึงชุมชนเข้มแข็งนี จะก่อให้เกิดพลัง 4 ประการ คือ พลังทางสังคม
พลังทางจิต คือ ผูคนมีวตถุประสงค์ร่วมกัน มีการไว้วางใจกัน พลังทางปัญญา เกิดขึนได้เพราะคนมีการ
                   ้     ั
วิจยและคิดร่ วมกัน และพลังทางการจัดการ เกิดผูนาตามธรรมชาติ ราษฎรอาวุโส กล่าวว่า สัจจะธรรม
    ั                                              ้ ํ
อันเป็ นทียอมรับกันทัวโลกประการหนึ ง คือ ความเข้มแข็งของชุมชน จะเป็ นเครื องมือแก้ปัญหาได้ 8
ประการ คือ 1) เศรษฐกิจจะดีขึน 2) จิตใจของคนจะดีขึน 3) ครอบครัวจะอบอุ่นเข้มแข็ง 4) สังคมจะ
น่าอยู่ 5) สิงแวดล้อมจะดีขึน 6) สุขภาพคนจะเข้มแข็งทัง 4 ประการ 7) วัฒนธรรมได้รับการพัฒนาเป็ น
วัฒนธรรมของชุมชน ซึงทัง 7 ประการจะนําไปสู่ผล คือ สังคมจะยังยืน
          การพัฒนาชุมชนไปสู่ความเข้มแข็งนันต้องอาศัยผูนาประเภทผูนาตามธรรมชาติเท่านัน เพราะ
                                                            ้ ํ          ้ ํ
ผูนาธรรมชาติมีคุณสมบัติทีเชือถือได้อย่างน้อย 5 ประการ คือ 1) มีความฉลาด รู้สภาพข้อเท็จจริ งทุก
  ้ ํ
ด้านในชุมชน 2) มีความซือสัตย์ ซึงคุณสมบัติขอนี คนในชุมชนจะรู้ดีว่า ผูนาแต่ละคนเป็ นเช่นไร 3) เห็น
                                                 ้                           ้ ํ
แก่ประโยชน์ส่วนรวม 4) สือสารกับคนในชุมชนได้ดี เพราะมีความรู้ความเข้าใจ รู้ขอมูลดังกล่าวข้างต้น
                                                                               ้
และ 5) เป็ นทียอมรับของคนทังปวง
            นอกจากนี การทีชุมชนทีจะนําไปสู่การแก้ปัญหาความยากจนได้ตองเป็ นชุมชนทีมีกระบวนการ
                                                                      ้
เรี ยนรู้ คือ ต้องตกผลึกใน 3 เรื อง คือ 1) ได้มีการทําการวิจยโดยชุมชนเองเพราะการวิจยจะทําให้เกิด
                                                            ั                      ั
จิตสํานึกทีจะนําไปสู่การเปลียนแปลงพฤติกรรมใหม่ รู้ตวตนของตนเอง 2) เอาผลการวิจยนันไปสู่การ
                                                         ั                           ั
วางแผนแก้ปัญหาของตนเอง และ 3) มีการปฏิบติตามแผนงานนัน เป็ นการเคลือนงานอย่างบูรณาการทัง
                                                 ั
3 กระบวนการ คือกระบวนการเรี ยนรู้ใครเรี ยนรู้คนนันเข้มแข็ง และแก้ปัญหาความยากจนได้ตองมี     ้
ข้อเสนอเชิงนโยบายทีชัดเจน เพราะการแก้ปัญหาความยากจน ต้องได้และหนุนจากรัฐบาลไม่ใช่เอาเงิน
ไปแจก เพราะจะทําให้ค นวิ งเข้าไปหาเงิน แต่ ตองทําให้ค นวิ งไปหาคน โดยให้คนในท้องถินเรี ย นรู้
                                                   ้
กันเอง วางแผนกันเอง ปฏิบติกนเอง ซึงการทําแผนชุมชนทีชาวบ้านร่ วมกันทําทีผ่านมาคิดว่า สามารถ
                             ั ั
ทําให้ชาวชุมชนมีความเข้มแข็ง แต่ในขณะเดียวกันก็จะต้องทําให้ระดับนโยบายมีความเข้าใจและหันมา
สนับสนุนด้วย ซึงเห็นว่าในเชิงนโยบายนัน รัฐบาลควรสนับสนุ นองค์กรชุมชนใน 2 ประการ คือ การ
หนุนเสริ มการทําแผนของชุมชนให้ครบทุกตําบล ภายใน 5 ปี และให้รัฐบาลสนับสนุ นเรื องสิ ทธิชุมชน
โดยการออกมาเป็ นกฎหมายลูก ใน 4 ประการ สิทธิชุมชนพืนฐานทีว่านี คือ 1) สิ ทธิในการทํามาหากิน
ไม่ใช่ผกขาดอยูทีกลุ่มผลประโยชน์อย่างทีเป็ นอยู่ 2) สิทธิการใช้ทรัพยากรอย่างเป็ นธรรมและยังยืน 3)
          ู       ่
สิทธิในการสื อสารชุมชน เช่น ในเรื องของวิทยุชุมชน ทีชาวบ้านสามารถบอกกล่าวข้อมูลข่าวสารใน
เรื องต่างๆ ของตนเองได้ และ 4) สิ ทธิในการมีระบบทุนชุมชนเพือป้ องกันการเอาเปรี ยบจากภายนอก
เชือว่าหากรัฐสามารถสนับสนุนในเรื องดังกล่าวได้ ก็จะเป็ นการหนุ นช่วยชุมชนเพือนําไปสู่การแก้ไข
ปัญหาความยากจนได้อย่างยังยืน

         กระบวนการสร้ างการมีส่วนร่ วม
         การเสริ มสร้างกระบวนการมีส่วนร่ วมของชุมชน หรื อกลุ่มบุคคล องค์กรในการร่ วมคิด ร่ วมทํา
ร่ วมใช้ประโยชน์ เป็ นกลวิ ธีหนึ งช่วยการแก้ไขปั ญ หา ได้อย่างยังยืน โดยเฉพาะการมีส่ว นร่ วมของ
ชุมชน ครอบครัว จะมีส่วนสําคัญอย่างยิง ในการเพิมประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผลของการดําเนิ นการ ซึง
การออกแบบในการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่ วมของประชาชน เพือหาวิธีทีเหมาะสมและการวางแผน
ส่งเสริ มการมีส่วนร่ วมนันอยูกบลักษณะการตัดสินใจบนพืนฐานของข้อมูล ตลอดจนความคาดหวังของ
                             ่ ั
สาธารณชนทีมีต่อกระบวนการหรื อการพัฒนานัน กระบวนการมีส่วนร่ วมอาจจะมีขนตอน ดังนี
                                                                              ั
          ) ประเมินความต้องการในการเข้าร่ วม ทําการรวบรวมและประเมินข้อมูลสาธารณะเบื องต้น
เพือแยกแยะผลกระทบต่ อ บุ ค คลหรื อกลุ่ม เบื องต้น หาข้อมูล สภาพสังคมของชุ มชนที ถูก กระทบ
ประเมิน ความต้องการของชุมชนในการเข้าร่ วมในแผนงานโครงการต่างๆ และวิธีการมีส่วนร่ วมที
เหมาะสม โดยอาจใช้วิธีการค้นหาข้อมูลหรื อการปรึ กษากับชุมชนในระยะแรก เช่นการประชุมร่ วมกับ
ชุมชน การนําเสนอข้อมูลกับผูนาชุมชนหรื อการกระจายข่าวสารด้วยวิธีการต่างๆ จัดตังผูประสานงาน
                            ้ ํ                                                 ้
ระดับชุมชนเพือชีแจงและสร้างความเข้าใจ การแสวงหาวิธีการมีส่วนร่ วมทีชุมชนเห็นด้วย เป็ นต้น
         ) จัดสร้างกระบวนการมีส่วนร่ วม โดย สร้างความเข้าใจร่ วมกันในประเด็นต่างๆ ของการ
พัฒนาและการมีส่วนร่ วมโดยมีการแยกแยะความสนใจ ความต้องการของบุคคลหรื อกลุ่มและความ
ต้องการในการมีส่ว นร่ ว ม กําหนดเป้ าหมายและสร้างแนวทางแก้ไขต่างๆ ที อาจเป็ นไปได้ร่ วมกัน
ประเมินแนวทางการพัฒนา ยืนยันแนวทางทีถูกเลือก โดยวิธีการมีส่วนร่ วมตามความเหมาะสม
         ) จัดสร้างกระบวนการมีส่วนร่ วม กระบวนการนําไปปฏิบติและติดตามผล ติด ตามการนํา
                                                                ั
แผนงาน โครงการไปปฏิบติ ให้เกิดการดําเนินการเป็ นเครื อข่ายความร่ วมมือ ในการพัฒนาระบบ การ
                         ั
ทบทวน และปรับปรุ ง วิธีการการมีส่วนร่ วม การติดตามประเมินผลภายใต้การมีส่วนร่ วม ซึงกิจกรรม
การพัฒนาที มีผลกระทบต่ อคุ ณ ภาพชี วิ ตของบุค คลในชุ มชนท้องถิน อํานาจการตัด สิ น ใจควรอยู่ที
ประชาชนในชุมชนท้องถินนันๆ
        ดังนันการทีประชาชนจะสามารถเข้ามามีส่วนร่ วมและรับผิดชอบในกิจกรรมสาธารณะทีมีผล
ต่อคุณภาพชีวิต ส่วนหนึงจะต้องจัดกระบวนการทีเหมาะสม เพือให้ประชาชนมีส่วนร่ วมทีแท้จริ ง คือ
อํานาจการตัดสินใจอยูทีประชาชน และภาครัฐ องค์กรปกครองส่ วนท้องถินหรื อหน่ วยสนับสนุ นปรับ
                     ่
แนวคิดไปสู่การสนับสนุนขบวนการของประชาชน และพัฒนาความร่ วมมือให้มีประสิทธิภาพต่อไป

รูปแบบการศึกษาวิจย (Research Design)
                   ั
         การวิจยโดยมุ่งศึกษารู ปแบบการส่งเสริ มการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ชุมชนตําบลเชียงคาน อําเภอ
               ั
เชียงคาน และศึกษาเพือค้นหามรดก(อัตลักษณ์)ทางวัฒนธรรม-วิถีความเป็ นเชียงคาน โดยใช้วิธีเสวนา
เชิงปฏิบติ การเพือระดมความคิด แลกเปลียนความคิ ดเห็น โดยวิธีการเก็ บรวบรวมข้อมูลผสมผสาน
         ั
ระหว่างการศึกษาจากเอกสาร (Documentary Research) เพือวิ เคราะห์แนวคิดจากทฤษฎีและข้อมูล
งานวิจยทีเกียวข้องและการวิจยภาคสนาม (Field Research) โดยมีการกลันกรอง เลือกสรร และเรี ยน
       ั                       ั
เชิญบุคคลทีจะมาเข้าร่ วมเสวนาเชิงปฏิบติก่อนล่วงหน้า เพือความพร้อมเพรี ยงกันในวันประชุม
                                     ั

       การเลือกประชากรกลุ่มตัวอย่าง
       ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และใช้วิธีการ Snowball Technique เพือให้
ได้คุณภาพและปริ มาณบุคคลทีจะเข้าร่ วมเสวนาให้มากทีสุด ซึงในการวิจยครังนีมีผตอบรับและเข้าร่ วม
                                                                 ั         ู้
เสวนาทังสิน คน
การวิจยภาคสนาม แบ่ งเป็ น ภาคส่ วนใหญ่ ๆ
                     ั
              ) ค้นหามรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน แบ่งเป็ น กลุ่ม ๆ ละ คน โดยมีการจัดวางตัว
บุคคลให้เกิดความหลากหลายตังแต่ผเู้ ฒ่า ผูแก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผูรู้ภูมิปัญญาท้องถิน ข้าราชการบํานาญ
                                          ้                  ้
ผูประกอบการธุรกิจท่องเทียว ตัวแทนเยาวชนคนรุ่ นใหม่ แกนนําชุมชนทังภาคเอกชนและภาคราชการ
  ้
โดยมีผสงเกตุการณ์รอบ ๆ อีกประมาณ - คน ซึงนับว่าเป็ นการประชุมระดับท้องถินทีมีคนสําคัญ
         ู้ ั
ๆ ของหลากหลายหมู่บานมาเข้าร่ วมมากทีสุดครังหนึงในประวัติศาสตร์ทีเดียว โดยเลือกเอาวันพระเป็ น
                         ้
วันลงพืนที และมีการประชาสัมพันธ์ก่อนล่วงหน้าเป็ นอย่างดี ทําให้ชาวบ้านมีความพร้อมมีเวลามาพบ
เสวนาเชิงปฏิบติการได้โดยสะดวกหลังจากทําบุญ ตักบาตร ตอนเช้าในวันพระใหญ่เสร็ จสิ น โดยมีการ
                   ั
เริ มลงทะเบียนการประชุมประมาณ . น. ทุกกลุ่มมีการระดมความคิด และจดบันทึกสิ งทีคิดว่าเป็ น
มรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน ลงบนกระดาษโปสการ์ดแผ่นใหญ่ โดยใช้เวลาประมาณครึ งชัวโมง
ก่อนทีจะเริ ม Vote กันภายในแต่ละกลุ่มย่อยว่าคําใดน่าจะมีความสําคัญสูงสุ ดเรี ยงลําดับจากมากสุ ดไป
หาน้อยสุด โดยทีมนักวิจยได้ช่วยสนทนาอธิบายรายละเอียดให้กบทีมทีมีคาถาม ก่อนทีทุกกลุ่มจะจด
                           ั                                   ั         ํ
บัน ทึ ก ข้อความทังหมดลงในแผ่น บัน ทึ กสี แถบกาวติ ด ต่ อกันจากบนลงล่าง (รู ปแบบฉัน ทามติ ใน
โครงการสร้ างสํานึ ก พลเมืองของกองทุ นพัฒ นาการเมืองภาคพลเมือง (Project Citizen) ตามลําดับ
ความสําคัญ)




        ภาพการเสวนาเพือค้นหามรดกทางวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน, พฤษภาคม
        ทีวัดป่ าใต้ วัดศรี คูณเมืองและวัดท่าคก ตําบลเชียงคาน อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
จากนันทีมนักวิจยได้นาแผ่นบันทึกสีทีมีการต่อเชือมกันในแนวตังของทุกกลุ่มมาแปะติดไว้ที
                          ั    ํ
กระดานหน้าทีประชุม เพือให้ทุกคนได้มีสิทธิ vote แสดงความคิดเห็นส่วนตัวอีกครัง ด้วยการยกมือขึน
ทุกครังทีเห็นด้วยกับคําหรื อข้อความทีสมควรเป็ นมรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคานให้ลูกหลานได้
ดูแลสืบต่อไป เพราะสิ งเหล่านี ย่อมเป็ น แง่คิด ทีชาวบ้านชาวเชียงคานทุกคนควรตระหนักและรักษาไว้
มากกว่า การเปลียนแปลงตัวเองไปเพือเน้นธุรกิจการท่องเทียวเป็ นหลักอย่างเดียว เพราะนักท่องเทียว
มาแล้วก็ไปไม่ยงยืนเหมือนชาวบ้านทีต้องอยูกบทรัพยากรท้องถินทุกวันทุกคืน หากไม่รักษาไว้ให้ดีก็จะ
                ั                             ่ ั
มีว น หมดสิ นหรื อเสื อมสลายค่ อยๆ ไป โดยไม่สามารถนํากลับมาชื นชมให้ค งอยู่อย่างสมบูร ณ์ ไ ด้
    ั
เหมือนเดิม
          ) เสวนาแลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับแนวความคิดทิศทางในการพัฒนาเมืองเชียงคาน โดย
เฉพาะทีเกียวข้องกับการท่องเทียว โดยมีคาถามว่าชาวเชียงคานจะเตรี ยบรับมืออย่างไรให้มีการพัฒนา
                                           ํ
ด้านการท่ องเที ยวที ยังยืน โดยได้มีก ารระดมความคิ ด เปิ ดโอกาสให้ชาวบ้านที ต้องการพูด เสนอ
ข้อคิดเห็นได้มีโอกาสได้แสดงออกในประเด็นทีทุกคนควรใส่ ใจ เพือลูกหลานชาวเชียงคานในอนาคต
จะได้มี “มรดก” ทังทางวัฒนธรรมและสิงแวดล้อม อยูคู่กนไปตราบนานเท่านาน
                                                       ่ ั
         ทังนี ทีมนักวิจยเองก็มีการเสนอความคิดเห็นแง่มุมต่าง ๆ ทีเห็นว่าเหมาะสมกับบริ บทเมือง
                        ั
เชียงคาน โดยได้มีการจดบันทึกไว้บนกระดาษการ์ ดทีกระดานหน้าเวทีก ารประชุมให้ทุกคนได้เห็ น
ก่อนมีการสรุ ปและสิ นสุ ดการประชุมเพือถ่ายรู ปและรับประทานอาหารร่ วมกันในเวลาประมาณหลัง
เทียงวัน

         การวิเคราะห์ ข้อมูลและตรวจสอบข้ อมูล
         ผูวิจยได้นาข้อมูลเอกสารและข้อมูลภาคสนามทีได้จากการสังเกตและสัมมนานํามาตรวจสอบ
           ้ ั      ํ
ความถูกต้องของข้อมูล และจัดหมวดหมู่แยกแยะเป็ นประเด็นต่าง ๆ ทีพบโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ขอมูล้
ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื อหา(Content Analysis) ตามประเด็นทีค้นหา (Topic) และนํามาพรรณาเชิงอุปนัย
(Inductive) เพือสรุ ปข้อมูลในการนําไปใช้งานต่อไป


       ผลวิเคราะห์ ของการลงคะแนน
        หลังจากทุ กกลุ่มได้แสดงความคิ ด เห็ น และจดบันทึ ก เรี ย บร้ อยแล้ว ขันตอนต่อไปคือการ
ประมวลลําดับความสําคัญของมรดกทางวัฒนธรรมเหล่านันทังหมด โดยใช้วิธียกมือเห็นด้วย (หนึ งคน
= หนึ งเสี ยง) กับคําหรื อข้อความทีเห็นสมควรรัก ษาไว้เป็ นมรดกวัฒ นธรรมของคนเชีย งคาน โดยผู้
สังเกตการณ์รอบ ๆ สามารถลงคะแนน Vote ได้ในรอบนี
กลุ่มที : ให้ ความสําคัญมากทีสุ ด
 ที        ความคิดเห็น                                             ผู้ลงคะแนน/คน
 1         การตักบาตรตอนเช้า
 2         นําใจไมตรี ความเอือเฟื อเผือแผ่
 3         ธรรมชาติทีสวยงาม อากาศแม่นาโขง    ํ
 4         ภู มิ ปั ญ ญา เช่ น งานประดิ ษ ฐ์เ ครื องจัก สาน สานหวด
           ตระกร้า ฮังไข่ ไพรหญ้าคา
 5         วัดวาอาราม
 6         ตํานานนิทานพืนบ้านเชียงคาน
 7         งานบุญแห่ประเพณี เชียงคานทัง เดือน
 8         ประวัติศาสตร์

กลุ่มที : ให้ ความสําคัญมาก
 ที        ความคิดเห็น                                               ผู้ลงคะแนน/คน
 1         ทีอยูอาศัย บ้านเรื อนไม้เก่า
                ่
 2         ผ้าห่มนวม
 3         อาหารพืนถิน

กลุ่มที : ให้ ความสําคัญปานกลาง
 ที        ความคิดเห็น                                                  ผู้ลงคะแนน/คน
 1         ภาษาท้องถิน
 2         การแต่งกายพืนถิน
 3         การละเล่นพืนบ้าน
 4         วิถีการดําเนินชีวิต ความเรี ยบง่าย วิถีชีวิตประมงนําโขง เช่น
           การร่ อนทองคําในนําโขง (อําเภอเชียงคานถึงอําเภอปาก
           ชม) ในช่ ว งระหว่ างเดื อนมกราคม - เมษายน วิ ถีชีวิ ต
           การกินข้าวโฮมกันแต่ละบ้านทํากับข้าวอย่างเดียวแล้วมากิน
           ข้างหน้าบ้าน วิถีชีวิตในครัวเรื อน การปลูกผักตามนําโขง
           ผักสวนครัว
จากผลการลงคะแนนของชาวบ้านว่าในความสําคัญมากทีสุ ดกับ “จิตใจ” ของคนเชียงคานทีมี
นําใจไมตรี ทีดีงามต่อผูทีมาเยียมเยือนเสมอ อีกทังยังมีวฒนธรรมทําบุญตักบาตรตอนเช้าทีสมควรอย่าง
                          ้                           ั
ยิงทีจะอนุรักษ์เอาไว้เท่าๆ กับภูมิปัญญาท้องถิน รวมถึงประวัติศาสตร์ ตํานานพืนบ้าน วัดวาอาราม และ
งานบุญแห่ประเพณี ทง เดือน อีกทังยังมีภูมิทศน์ทีเป็ นธรรมชาติสวยงามของแม่นาโขงทีชาวบ้านให้
                       ั                       ั                                ํ
ความสําคัญมากทีสุดเช่นกัน
         นอกจากนันชาวบ้านยังให้ความสําคัญกับบ้านเรื อนไม้เก่า ผ้าห่ มนวม และอาหารพืนถิน อยู่
ในระดับทีมากสูงกว่าภาษาท้องถิน การแต่งกาย การละเล่นพืนบ้าน และวิถีการดําเนิ นชีวิตทีเรี ยบง่าย
แบบเชียงคาน
         คําถามต่ อไปที ควรนําไปต่ อยอดพัฒ นาทางความคิ ดก็ คื อ จะทําอย่างไรให้ชาวเชี ย งคานมี
จิตสํานึก รู้คุณค่า “มรดก” ทีมีอยูของตนเอง และสามารถพัฒนาเชิงอนุรักษ์ได้อย่างสร้างสรรค์เพือจะได้
                                  ่
ดํารงสืบสานสู่รุ่นลูกรุ่ นหลานได้อย่างต่อเนืองตลอดไปหรื อให้ได้ยาวนานทีสุดเท่าทีจะทําได้

สรุปทิศทางการพัฒนาชุมชนเชียงคานโมเดล
         ความ “พอดี” ในการพัฒนาการท่องเทียวแบบยังยืนนันอยู่ทีไหนและจะทําอย่างไรให้เกิดการ
ท่องเทียวเชิงอนุรักษ์แบบมีความสุขทังผูมาเยียมเยือน ผูอยูอาศัย และผูทามาหากินในเชียงคาน
                                        ้              ้ ่            ้ ํ
          ) ค่อยเป็ นค่อยไปในการพัฒนาท่องเทียว (Slow Tourism) โดยมีการสร้างกฎระเบียบขึ นมา
ควบคุมดูแลคุณภาพมาตรฐานให้เกิดความเหมาะสม เช่น ราคาทีพัก ราคาอาหาร และสิ นค้าทีขายต่อ
นักท่องเทียว เป็ นต้น
          ) อย่าเห็นแก่เงิน ไม่ขายบ้านเก่าง่ายๆ ถ้าสามารถพัฒนาเป็ นผูประกอบการเองได้ก็ควรทํา ถ้า
                                                                        ้
ทําเองไม่ได้ก็ไม่ควรให้เช่านาน (สัญญาเช่ าทําปี ต่อปี น่ าจะดีทีสุ ดหรื อหากจําเป็ นก็ไม่ควรเกิน ปี )
ทังนี ทุกครอบครัวควรมีการปลูกจิตสํานึกให้ลกหลานเห็นคุณค่าของบ้านไม้เก่าของเมืองเชียงคาน
                                                    ู
          ) หมันฝึ กทักษะทีเกียวข้องกับการบริ การ และการท่องเทียวอย่างต่อเนือง เพือพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐาน เสริ มสร้างรายได้ โดยเฉพาะกลุ่มเครื อข่ายเยาวชนลูกหลานคนรักเชียงคานทีมีสานึ กรักบ้าน
                                                                                           ํ
เกิดอาจมีการรวมตัวกันจัดตังเป็ น “กลุ่มลูกหลานคนเชียงคาน” เพือสานต่องานให้เป็ นรู ปธรรม
          ) ฟื นฟูจุดเด่น ๆ ทางประเพณี วฒนธรรม และเชือมโยงกับนักท่องเทียวให้ได้ เช่น มีการ
                                          ั
จัด ทําแผนที แหล่งท่ องเที ยวภายในเมืองเชี ย งคานและพืนที โดยรอบ พร้ อมรายละเอีย ดเรื องที พัก
ร้านอาหาร ร้านขายของทีระลึก จุดเด่นทีเป็ นมรดกวัฒนธรรมและงานประเพณี ทีมีตลอดทังปี
          ) พัฒนารู ปแบบการท่องเทียว เชิงวัฒนธรรมประเพณี จิตวิญญาณครบวงจรแบบมีส่วนร่ วม
               . ) การพัฒนา Hardware เช่น การสร้างพิพิธภัณฑ์ชุมชน/ครัวเรื อนเป็ นศูนย์เรี ยนรู้ทีมีชีวิต
ต่อเนืองได้กบลานศิลปวัฒนธรรมชุมชนทีอาจมีโรงละครแบบธรรมชาติสามารถมีการแสดงเล่าเรื อง
             ั
ตํานานผสมผสานกับการละเล่นพืนถินทีมีการนํามาพัฒนาประยุกต์ให้เกิดความน่าสนใจในรู ปแบบการ
นําเสนอต่อนักท่องเทียว
                . ) การพัฒนา Software เช่น การนําองค์ความรู้ ภูมิปัญญา เนื อหาเรื องราว เรื องเล่าจากผู้
เฒ่าสู่เยาวชนมาใช้แปลความหมายของมรดกทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมโดยสามารถพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานตัวเองให้เป็ น “นักเล่าเรื อง” ได้อย่างมีเสน่ห์ น่าสนใจไม่น่าเบือ
          สิ งเหล่านี เป็ นเพียงตัวอย่างการพัฒนาจากทรัพยากรทางวัฒนธรรม (Cultural Resources) สู่การ
พัฒนาผลิต ภัณ ฑ์ (Production Development) ให้เกิด เป็ นสิ นค้าทางการท่ องเที ยวทีสามารถส่ งเสริ ม
เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ให้เกิดขึนได้อย่างต่อเนือง
           ) ใช้การพูดคุยทีเน้นการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนเพือให้เกิดการควบคุมและส่ งเสริ มการ
ท่องเทียวเชิงอนุรักษ์แบบยังยืน
                . ) ตัวแทนกลุ่ม Home stay เจ้าของบ้าน ผูนาชุมชน
                                                         ้ ํ
                . ) ตัวแทนกลุ่มผูประกอบการธุรกิจอืน ๆ ทีเกียวข้องกับการท่องเทียว การบริ การ
                                    ้
                . ) ตัวแทนเยาวชนคนรุ่ นใหม่
                . ) ตัวแทนภาครัฐ ส่วนท้องถิน หน่วยงานราชการทุกภาคส่วนทีเกียวข้อง
           6.5) ตัวแทนกลุ่มอนุรักษ์ ต่างๆ
         โดยตัวแทนเหล่านี ต้องมีการพูดคุยปรึ กษาหารื ออย่างสมําเสมอเกียวกับทิศทางการพัฒนาเมือง
เชียงคาน ปรึ กษาหารื อกันว่าจะทําอย่างไรจึงจะสามารถรักษา “มรดก” ทางวัฒนธรรมเหล่านี ไว้ได้
และมีการนําเสนอสู่นกท่องเทียว ให้มีส่วนมาร่ วมชืนชมได้อย่างน่าประทับใจตลอดไป
                      ั
         ทังนี การสร้าง Roadmap หรื อแผนทิศทางการพัฒนาเมืองเชียงคานให้เป็ นเมืองท่องเทียวเชิง
อนุรักษ์ทียังยืน โดยมีการกําหนดคณะทํางานภาคพลเมืองชาวเชียงคานให้เกิดความชัดเจนขึ น โดยมี
เป้ าหมายหลักเพือเป็ นแกนนําสําคัญในการประสานงานกับทุกภาคส่วน (ทังภาครัฐและเอกชน) และทุก
ระดับการบริ หารจัดการ (ส่วนกลางและส่วนท้องถิน) จึงมีความจําเป็ นอย่างยิงสําหรับเมืองเชียงคาน


ข้ อเสนอแนะ

        จากคําถามทีว่าจะทําอย่างไรไม่ให้เชียงคานถูกกระแสแห่ งความเจริ ญของการพัฒนาเมืองและ
การท่ องเทียวทีกําลังคืบคลานเข้ามากลืนกิ น “ความเป็ นเชีย งคาน” อย่างไม่หยุด หย่อน โดยเฉพาะ
ในช่วงปลายปี            เป็ นต้นมา จึงจําเป็ นอย่างยิงทีคนทุกคน จะต้องร่ วมมือกันปกป้ องรักษามรดกทาง
วัฒ นธรรมที มี คุ ณ ค่ า โดยหวัง ว่ า งานวิ จ ัย ชิ นนี จะเป็ นประตู ไ ปสู่ โ อกาสในการคิ ด ริ เริ มกิ จ กรรม
สร้างสรรค์ของชุมชนในมุมมองทางวัฒนธรรม เช่น พิพิธภัณฑ์พนบ้านทีมีชีวิต บอกเล่าเรื องราวด้วย
                                                                       ื
ความภาคภูมิใจจากผูเ้ ฒ่าเล่าเรื องให้ผูเ้ ยาว์ได้เรี ยนรู้ จดจํา นําเสนอสู่ ผูมาเยียมเยือนอย่างเรี ย บง่ าย
                                                                              ้
กันเอง แต่น่าจดจํา ประทับใจ จนสามารถทีจะเป็ นแบบอย่างการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์วฒนธรรมให้กบ
                                                                                         ั                ั
ชุมชนอืน ๆ ในภูมิภาคลุ่มแม่นาโขงหรื อแม้แต่ความหวังทีจะมีการพัฒนาทางความคิดอย่างต่อเนืองของ
                             ํ
ชุมชนทีเข้มแข็ง เพือประเทศอืน ๆ ทัวโลกจะได้มาเรี ยนรู้ ดูงานเป็ นกรณี ศึกษาได้ต่อไปในอนาคต
          แนวความคิดเกียวกับรู ปแบบของเชียงคานโมเดล จากการวิจยสะท้อนถึงความสําคัญในการ
                                                                     ั
อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และจิตวิญญาณความเป็ นเชียงคานโดยเฉพาะด้านทีเกียวข้องโดยตรงกับ
“คน” ชาวเชียงคานตังแต่เรื องวิถีชีวิต ประเพณี การทําบุญตักบาตร ความมีนาใจไมตรี เอืออารี ต่อผูมา
                                                                           ํ                 ้
เยียมเยือน ตํานานเรื องราวทางประวัติ ศ าสตร์ ทังในชุ ม ชนและในวัด วาอาราม อี ก ทังทัศนี ย ภาพ
บรรยากาศของเมืองเชียงคานทีสงบ เรี ยบง่าย ไม่รีบเร่ ง โดยมีแม่นาโขงเป็ นทรัพยากรธรรมชาติทีสําคัญ
                                                               ํ
ต่อความเป็ นอยูของคนเชียงคานทีผูกพันกับวิถีชีวิตโดย มีฐานทางสังคมเศรษฐกิจจากการเกษตรและ
                  ่
การประมงเป็ นหลัก
          Roadmap สู่การพัฒนาด้านการท่องเทียวทียังยืนนันจําเป็ นต้องมีการจัดตังคณะกรรมการภาค
พลเมืองชาวเชียงคาน เพือการท่องเทียวทียังยืน โดยมีหน้าทีรับผิดชอบทีสําคัญ ด้านหลัก ดังต่อไปนี
           . ด้ านการมีส่วนร่ วม: จําเป็ นต้องมี
             ก. การกลันกรองเลือกเฟ้ นตัวบุคคลทีน่ าเคารพ น่ าเชือถือ สมควรเป็ นตัวแทนชุมชนได้ มี
จิตใจทีสามารถทํางานให้ชุมชนได้อย่างเต็มที สมําเสมอ เพือวางเป้ าหมายและความต้องการในการ
พัฒนาการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ร่วมกัน
             ข. ความเป็ นผูนาทีใช้หลักธรรมาภิบาลเน้นความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ในการประชุมเสวนา
                           ้ ํ
ในการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิ ทธิผล ดูแล แก้ไข ปรับเปลียนกฎหมายเทศบัญญัติ
และธรรมนูญเชียงคาน โดยไม่มีผลประโยชน์ส่วนตัวเข้ามาเกียวข้อง และมีบทลงโทษต่อผูกระทําผิด ้
เป็ นขันตอนอย่างชัดเจน
             ค. การอบรม สร้ างจิตสํานึ กสาธารณะของคนเชียงคานทุ กคนให้มีค วามรัก หวงแหนใน
“มรดก” ความเป็ นเชียงคานอย่างถาวรและต่อเนืองโดยเฉพาะเยาวชนคนรุ่ นใหม่
           . ด้ านความร่ วมมือ: ต้องสร้างกลไกให้เกิดการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพ
             ก. ระหว่างหน่วยงานภาครัฐทีเกียวข้องทังส่วนกลางและส่ วนท้องถินโดยต้องมีงบประมาณ
มาสนับสนุนอย่างเพียงพอและต่อเนือง ตรงตามแนวทาง อนุรักษ์อย่างยังยืน
             ข. ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ผูประกอบการธุรกิจ ทีเกียวข้องในเชียงคานเกิด
                                                        ้
การประสานงานแก้ปัญหา และวางแผนป้ องกันรักษา “มรดก” ของคนเชียงคานให้คงอยูต่อไป      ่
             ค. ระหว่างภาคเอกชน NGOs ชมรมต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับผูประกอบการ ร้านค้า รวมทัง
                                                                       ้
ธุร กิ จการท่ องเที ยวในเชี ยงคานทังหมดที ต้องมีเวลามานังคุ ยปรึ กษาปั ญ หาและพัฒ นางานกันอย่าง
สมําเสมอ
. ด้ านการเจริญเติบโตในการพัฒนา: จําเป็ นต้องมี
           ก. การเลือกพิจารณาข้อมูล ข้อเท็จจริ ง แหล่งทีสนับสนุ นการพัฒนาจากภายนอก ทีเชือถือได้
อย่างรอบคอบระมัดระวังในการตัดสินใจก่อนการพัฒนาในทุกๆด้าน ทีจะเกิดขึนใหม่ในชุมชน
           ข. การอบรม ฝึ กพัฒ นาทัก ษะ ความรู้ ความสามารถที เกียวข้องกับการบริ ก ารในธุ ร กิจ การ
ท่องเทียวด้านต่าง ๆ ทังภาษาไทยและภาษาต่างประเทศทีสําคัญ ๆ โดยไม่หลงลืมทีจะส่ งเสริ มการใช้
ภาษาท้องถินสื อสารระหว่างคนเชียงคานกันด้วย โดยควรมีการฝึ กปฏิบติแบบค่ อยเป็ นค่อยไปอย่าง
                                                                        ั
ต่อเนืองและสมําเสมอในการสร้างสรรค์กิจกรรมทีมีคุณประโยชน์ทงต่อชุมชนผูอยู่อาศัยในเชียงคาน
                                                                   ั          ้
และนักท่องเทียวทีมาเยียมเยือน
           ค. การประเมินผลและตรวจสอบ ประสิ ทธิ ภาพ โดยคณะกรรมการพิเศษที จัดตังขึ นมาจาก
ตัวแทนผูมีความรู้ ความสามารถและน่านับถือในชุมชน ผูประกอบการทีมีความน่าเคารพเชือถือจากทุก
              ้                                               ้
ฝ่ ายทีเกียวข้อง
         ข้อเสนอแนะการพัฒนา บนฐานความขัดแย้งของชุมชนเชียงคาน ในอนาคตเพือลดผลกระทบ
จากกระแสเลยโมเดล ทังภาคสังคม เศรษฐกิ จ การเมือง และการศึก ษา จึงมีค วามจําเป็ นอย่างยิงที
คณะทํางานภาคพลเมือง ตามกรอบเชียงคานโมเดล จะต้องมีการวางแผน กําหนดทิศทางทีเป็ นขันตอน
กําหนดผูรับผิดชอบ และกรรมการผูตรวจสอบ ประเมินผลอย่างในแต่ละแผนปฏิบติงาน ทังระยะสัน
            ้                            ้                                      ั
ระยะกลาง และระยะยาว เช่น
           ) ดําเนิ นการจัดตังคณะทํางานภาคพลเมืองชาวเชียงคาน โดยมีการกลันกรองคุณสมบัติจาก
ความศรั ทธา น่ าเชื อถือ (การไม่มีส่ว นได้ส่ว นเสี ย ในผลประโยชน์ -การเมือง) และความเป็ นผูน ําที
                                                                                             ้
สามารถประสานงานได้อย่างราบรื น มีประสิทธิภาพ มีความโปร่ งใส ซือสัตย์กบทุกฝ่ ายทุกชมรมทีมี
                                                                            ั
อยู่ในชุ มชน และผลักดัน ให้มีก ารปฏิบัติ งานได้ผลอย่างจริ งจัง ต่ อเนื อง และสมําเสมอด้ว ยความ
ปรองดอง สามัคคีของทุกฝ่ ายทีเกียวข้อง
                ) จัดตังคณะกรรมการทีปรึ กษาในการประเมินผลและตรวจสอบประสิทธิภาพและผลงานของ
คณะทํางานข้างต้น ประกอบด้วยภาครัฐ ส่วนท้องถิน และภาคเอกชนทีมีความรู้ความสามารถและน่ า
เคารพนับถือ จากทุก ฝ่ ายทีเกียวข้องโดยต้องไม่มีผลประโยชน์ส่วนตัว-การเมือง เข้ามาเกียวข้องโดย
เด็ดขาด (มีบทลงโทษทีรุ นแรงและชัดเจน)
          3) มีแผนพัฒนาต่อยอดชุดความคิดในการอนุ รักษ์มรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคานจากการ
ระดมความคิดสู่รูปแบบการปฏิบติจริ ง โดยเริ มจากกลุ่มเล็ก ๆ แล้วค่อย ๆ พัฒนารู ปแบบให้น่าสนใจ
                                      ั
อย่างต่ อเนื องโดยสมควรที จะต้องมีก ารสนับสนุ น จากผูเ้ ชี ยวชาญทังภายนอกและภายในท้องถิ น
ตัว อย่างเช่ น การสร้ างสรรค์ฟื นฟูถนนสายวัฒ นธรรมที มีก ารตัก บาตรตอนเช้าแบบถูก ต้อ งตาม
ขนบธรรมเนียมประเพณี มีการเตรี ยมพร้อมอย่างเป็ นระบบระเบียบทีเป็ นธรรมต่อนักท่องเทียวทังชาว
ไทยและชาวต่างประเทศทีต้องการมีส่วนร่ วมต่อกิจกรรมทีแสดงออกทางวัฒนธรรมประเพณี เหล่านี
โดยไม่เน้นการ “ขาย” เชิงพาณิ ชย์เป็ นตัวตัง แต่ส่งเสริ มเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมทีสวยงามอย่างมีคุณค่า
ทางจิตวิญญาณเป็ นหลัก เพือสร้างความประทับใจต่อผูพบเห็นในระยะยาวได้อย่างยังยืน
                                                         ้
          4) มีการวิจยพัฒนา “ผลิตภัณฑ์ชุมชน” ทีมีเอกลักษณ์ความเป็ นเชียงคาน โดยมีการออกแบบ
                        ั
อย่างหลากหลายรู ปแบบ เพือสามารถเพิมคุณค่าเชิงเศรษฐกิจจากมรดกทางวัฒนธรรมทีมีอยู่เป็ นการ
เสริ มรายได้ให้กบชาวบ้านกลุ่มต่างๆ โดยเฉพาะผูเ้ ฒ่า แม่บาน และเยาวชน ให้เกิดความภาคภูมิใจ และ
                    ั                                        ้
มีจิ ตสํานึ ก ที ดีงามต่ อประวัติ ศาสตร์ ประเพณี วฒ นธรรมความเป็ นเชี ย งคานที มีสัจ ธรรมแห่ งความ
                                                  ั
เปลียนแปลงตามธรรมชาติของยุคสมัยจากอดีตสู่ปัจจุบน โดยเน้นยําให้เห็นถึงความสําคัญต่อวุฒิภาวะ
                                                           ั
ทางความคิด และจิตใจทีมีการสํานึกรู้กตัญ ูต่อแผ่นดินเกิดของเยาวชนคนรุ่ นใหม่ ซึงไม่จาเป็ นต้องไป
                                                                                        ํ
หางานทีในกรุ งเทพฯ หรื อเมืองใหญ่ๆ เสมอไป ถ้าเขาเหล่านันสามารถมาช่วยกันเสริ มสร้างความเป็ น
เชียงคานให้มีความเข้มแข็งจาก “รากแก้ว” ด้วยเอกลักษณ์ความภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรมของ
ชุมชนตัวเอง อันจะนําไปสู่ความเจริ ญเติบโต ผลิดอกออกผลในทางเศรษฐกิจ ทีสร้างสรรค์ได้อย่าง
ยังยืนต่อไปชัวลูกหลานทุกยุดทุกสมัย หากไม่ใช้ “เงิน” เป็ นตัวตังหรื อเป้ าหมายหลักเพียงด้านเดียว
          5) มีแผนกิจกรรมด้านการพัฒนาศิลปวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ (Creative Cultural Arts) ทังใน
ระดับท้องถิน ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ เพือให้เกิดการแลกเปลียนและต่อยอดทางความคิด
ของงานศิลปวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ โดยนําศิลปิ นทีหลากหลายมาสู่ชุมชนเชียงคานอย่างต่อเนื อง
เป็ นเทศกาล ประจําเดือน/ฤดู กาล หรื อประจําปี ให้เหมาะสมกับงานเทศกาล ในท้องถินเช่น ในช่ ว ง
เทศกาลสงกรานต์ หรื อ ออกพรรษา งานประเพณี แห่เจ้าพ่อ โดยให้มีระยะยาวสอดคล้องกับช่วงเทศกาล
ในแหล่งท่องเทียวทีสําคัญรอบๆ เช่น เทศกาลงานประเพณี บุญหลวงและการละเล่นผีตาโขน ทีอําเภอ
ด่ า นซ้ายในช่ ว งเดื อ นมิ ถุน ายนหรื อกรกฎาคมของทุ ก ปี เป็ นต้น นอกจากนี อาจมีก ารจัด “ลาน
ศิลปวัฒนธรรม” แสดงการละเล่นพืนเมือง เล่าเรื องราวของตํานานเมืองเชียงคานแบบน่าสนใจจากผูเ้ ฒ่า
สู่เยาวชน หรื อแม้กระทังการจัดเทศกาล “ลานคนเดิน” เพลิน ๆ แบบเชียงคานทีมีการคัดสรรงานศิลปะ
สร้างสรรค์ทีหลากหลายเฉพาะทีผลิตโดยคนเชียงคานเท่านัน ตัวอย่างเช่น ผ้านวมเชียงคานทีมีกลิน
หอมเป็ นเอกลักษณ์ควรมีการพัฒนางานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Development and Brand
Making) ให้เกิ ดความหลากหลายและเหมาะสมกับผูใช้สอยทีจะนําไปใช้หรื อซื อเป็ นของทีระลึกที มี
                                                       ้
ความโดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะถินอย่างแท้จริ ง
          6) มีการพัฒนาแผนให้เกิดเครื อข่ายเป็ นยุทธศาสตร์การท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ ระดับตําบล ระดับ
อําเภอ และระดับจังหวัด โดยส่งเสริ มการอนุรักษ์แบบยังยืน ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต การบริ การ ความ
ปลอดภัย แบบมีสานึกร่ วมกันทุกภาคส่วน
                      ํ
บทสรุป
           แม้ว่าเทศบาลตําบลเชียงคานจะมีการประชาสัมพันธ์ให้เมืองเชียงคานเป็ นเมืองโบราณริ มแม่นา
                                                                                               ํ
โขง ทีมีกิจกรรมให้นกท่องเทียวทํามากมาย แต่ก็ยงไม่มีการจัดทําเป็ นแผนทีการท่องเทียวทีเชือมโยงสิ ง
                         ั                       ั
ทีเป็ นอัตลักษณ์ของเชียงคานเพือให้นกท่องเทียวได้ไปสัมผัสได้อย่างเป็ นรู ปธรรมอย่างชัดเจน และยัง
                                      ั
เป็ นเรื องทีควรมีการค้นหาต่อไปว่าในมุมมองของชาวบ้านชาวเชียงคานนัน อยากจะนําเสนอสิ งใดที
เป็ นมรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคานทีแท้จริ งและควรให้ความสําคัญกับสิงเหล่านันเพียงใดทีแกนนํา
ชาวบ้านช่วยกันระดมความคิดค้นหาว่าอะไรคือสิ งทีเป็ นมรดกวัฒนธรรม ความเป็ นเชียงคาน ทีควรดูแล
รักษาไว้
           กําเนิ ดเชียงคานโมเดลนัน เกิ ดจากการมีส่วนร่ วมของภาคประชาชน ทีลุกขึ นมาต่อสู้กบการ
                                                                                           ั
ผูกขาดอํานาจรัฐ ของฝ่ ายปกครอง ฝ่ ายบริ หารทีคิดทํา หรื อสังการอะไร ล้วนแต่อางถึงการกินดีอยู่ดี
                                                                                ้
ของประชาชนเสมอ พอหมดงบประมาณ หมดกระแส ก็ปล่อยทิงเป็ นโครงการร้างให้เป็ นปัญหาชุมชน
แก้ไขเอาเอง ซึงเป็ นการพัฒนาทีล่มสลายโดยสินเชิง กําเนิดเชียงคานโมเดลต้องเกิดจากจิตใต้สานึกของ
                                                                                        ํ
คนเชีย งคาน คนเชีย งคานต้องค้น หาตัว เอง ค้น หาอัต ลัก ษณ์ ความเป็ นตัว ตนของคนเชี ยงคาน เพือ
ลูกหลาน และเพือชุมชนทีเข้มแข็งทียังยืนอยูคู่ชาวเชียงคานต่อไป
                                            ่


                                “เชียงคานชายเคียงเรี ยงริ มโขง
                                 ค้ อมโค้ งโยงใจให้ คิดถึง
                                 สงบงามนําใจไมตรี ตรึ ง
                                 คือหนึงรั ตนมณี ...ศรี เชียงคาน”

                                                                                 เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
                                                      ศิลปิ นแห่งชาติ และนักเขียนรางวัลซี ไรต์ ประพันธ์


เอกสารอ้างอิง
กรมศิลปากร, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัตศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมปัญญา จังหวัดเลย.
                                          ิ                  ิ
       กรมศิลปากร. 2544.
กระทรวงอุตสาหกรรม. 100 ปี กรมทรัพย์ฯ กระทรวงอุตสาหกรรม ; มกราคม 2535.
รวี หาญเผชิญ และคณะ, การค้นหามรดกทางวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน. สถาบันวิจยและพัฒนา
                                                                         ั
       มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มิถุนายน 2553.
ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์. กระบวนการเสริมสร้ างชุมชนเข้ มแข็งประชาคม ประชาสังคม. พิมพ์ครัง
       ที 4 .พิมพ์ลกษณ์ [ขอนแก่น] : ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาค
                    ั
       ตะวันออกเฉียงเหนือ, เครื อข่ายประชาคมสุขภาพในท้องถิน. 2543.
อคิ น รพีพฒ น์ . การมีส่วนร่ วมของชุ มชนในการพัฒ นาชนบทในสภาพสั ง คมและวัฒ นธรรมไทย.
           ั
       กรุ งเทพมหานคร : ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล, .

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

15 clusters (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
15 clusters  (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา15 clusters  (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
15 clusters (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนาSuthat Wannalert
 
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีนิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออกSuthat Wannalert
 
15 clusters (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสานSuthat Wannalert
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนMaykin Likitboonyalit
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนnun_napassorn
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลjeabjeabloei
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต FURD_RSU
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงFURD_RSU
 

Mais procurados (12)

15 clusters (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
15 clusters  (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา15 clusters  (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
15 clusters (4) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
 
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
 
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก15 clusters  (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
15 clusters (3) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันออก
 
15 clusters (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน15 clusters  (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
15 clusters (1) แผนพัฒนาการท่องเที่ยวธรณีวิทยาถิ่นอีสาน
 
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคนบทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
บทบาทของห้องสมุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ การเงิน และการพัฒนาคน
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 
Public administration information system
Public administration information systemPublic administration information system
Public administration information system
 
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียงความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
ความเป็นเมืองของจังหวัดนครปฐมและพื้นที่ใกล้เคียง
 

Destaque

บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 

Destaque (6)

บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
เชียงคาน 2010
เชียงคาน 2010เชียงคาน 2010
เชียงคาน 2010
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 

Semelhante a เชียงคานโมเดล

สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗Boonlert Aroonpiboon
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1tongsuchart
 
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)Khwanchai Phunchanat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cake WhiteChocolate
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templateMai Lovelove
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2watdang
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-78
ยางนาสาร-ฉบับที่-78ยางนาสาร-ฉบับที่-78
ยางนาสาร-ฉบับที่-78Mr-Dusit Kreachai
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคSittisak Rungcharoensuksri
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมSittisak Rungcharoensuksri
 

Semelhante a เชียงคานโมเดล (20)

สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ๒๕๕๗
 
Skillmapping version2
Skillmapping version2Skillmapping version2
Skillmapping version2
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
 
เต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบเต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Pastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-templatePastel watercolor-painted-power point-template
Pastel watercolor-painted-power point-template
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
ยางนาสาร-ฉบับที่-78
ยางนาสาร-ฉบับที่-78ยางนาสาร-ฉบับที่-78
ยางนาสาร-ฉบับที่-78
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาคโครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
โครงการพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายสังคม-วัฒนธรรม 4 ภูมิภาค
 
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016Museum Forum | Museum without walls 2016
Museum Forum | Museum without walls 2016
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 

Mais de pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

Mais de pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 

เชียงคานโมเดล

  • 1. การมีส่วนร่ วมของประชาชนเพือสร้ างชุ มชนเข้ มแข็ง : กรณีศึกษา เชียงคานโมเดลด้ านการท่ องเทียวเชิงอนุรักษ์ พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺ โต  กัญจน์ วงศ์อาจ  บทคัดย่อ เชียงคานเป็ นเมืองต้นแบบที ควรศึก ษาในหลายประเด็น ตังแต่ อิทธิพลความเชือโบราณ ไป จนถึงการเปลียนแปลงในปั จ จุบัน ชาวเชี ย งคานมีพืนฐานรั ก สงบ จิ ตใจงาม เปิ ดใจเป็ นมิต รกับคน ภายนอกทุ ก คน มีค วามเชื อเป็ นกฎการสื บทอดวัฒนธรรม(คะลํา) มีประเพณี อน ดีงาม ที ได้รั บจาก ั อิทธิพลของพุทธศาสนาผสมผสานกับความเชือแบบชนเผ่าตังแต่สมัยล้านช้าง แต่จากกระแสการพัฒนา จากภาครัฐจึงผลักดันให้เกิดการพัฒนาทีเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตนขึ นมาใหม่ เพือการค้นหาอัตลักษณ์ ความเป็ น “เชียงคาน” จึงเกิดเชียงคานโมเดลขึ นเพือเป็ นต้นแบบในการกําหนดทิศทางการพัฒนาของ อําเภอเชียงคาน แต่การพัฒนาเพือทีจะทําให้เกิดชุมชนเข้มแข็งทียังยืน จึงมีความจําเป็ นต้องระดมความ คิดเห็นจากคนในชุมชนหลายฝ่ าย คําสําคัญ การมีส่วนร่ วมของประชาชน, การท่องเทียวเชิงอนุรักษ์, ชุมชนเข้มแข็ง. บทนํา เชียงคานมีประวัติศาสตร์ยาวนาน เดิมเป็ นเมืองในราชอาณาจักรล้านช้างสมัยปฐมกษัตริ ยลาว์ สร้างโดยขุนคาน กษัตริ ยเ์ มืองเชียงทอง โอสรขุนคัว (หลวงพระบาง) เชือสายขุนลอ ในพงศาวดารล้าน ช้าง มีการเฉลิมฉลองครบรอบ ปี เมือ พ.ศ. เชียงคานเป็ นเมืองต้นแบบทีควรศึกษาในหลาย ประเด็นตังแต่อิทธิพลความเชือโบราณ ไปจนถึงการเปลียนแปลงในอนาคต เชียงคานได้รับการยอมรับว่าเป็ นเมืองงาม ในความทรงจําของผูคนทีมาเยียมเยือน เนื องจากมี ้ เอกลักษณ์เฉพาะของกลุ่มอาคารบ้านไม้เก่า ทีเป็ นกลุ่มก้อนมากทีสุดแห่งหนึงในประเทศไทยเป็ นเมืองที ตังอยูริมแม่นาโขง ในฤดูหนาวจะมีเมฆหมอกลอยละล่องตัดกับผืนแผ่นแม่นาโขงและทิวเขาทีสวยงาม ่ ํ ํ ในฝังประเทศสปป.ลาว มีวดวาอารามทีเก่าแก่เป็ นศิลปะดังเดิมและเป็ นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้าน รวม ั งานศิลปะทังแบบล้านนาและล้านช้าง มีศิลปวัตถุโบราณหลายชิ นและจิตรกรรมนิ ทานชาดกทีมีคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ ด้วยเหตุนี จํานวนนักท่องเทียวจึงมีการขยายตัวเรื อยมา ทําให้เกิดการพัฒนาด้านการ  คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย  ประธานเครื อข่ายชมรม “รักษ์ถินไทเลย” นักวิจยชาวบ้าน ั
  • 2. ท่องเทียวอย่างต่อเนือง ทีพักอาศัยแบบ Home stay และร้านค้า การลงทุนด้านธุรกิจทีเกียวข้องกับการ ท่องเทียวมีมากขึน พร้อมมีการเขียนสนับสนุ นทางการตลาดในสื อต่างๆ มากมาย แม้ว่าเชียงคานจะมี ความเข้มแข็งของศูนย์วฒนธรรมไทยสายใยชุมชนทีมีคณะกรรมการชุมชน ฝ่ าย ทํางานกันอย่าง ั สามัคคีทีวัดศรี คุณเมือง (มีพิพิธภัณฑ์พืนบ้านแสดงมรดกทางวัฒนธรรมภายในวัด โดยได้รับรางวัล ระดับภูมิภาคชุมชนเข้มแข็งดีเด่นในปี แม้เพิงจะเริ มโครงการมาเพียง - ปี เท่านัน) แต่อาจเกิด ผลกระทบจากการท่องเทียวในด้านลบทีมีต่อมรดกทางวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมของเมืองเชียงคาน ได้ จากกระแสของการพัฒนาบนพืนฐานของความขัดแย้งทางการเมืองระดับประเทศนัน ส่ งผลดี ในด้านงบประมาณของโครงการพัฒนาภาครัฐ การค้าการลงทุนจากภายนอกทีส่ งเสริ มให้จงหวัดเล็กๆ ั ทีมีชายขอบติดแม่นาโขง พรมแดนไทย-สปป.ลาว อันสงบ ํ ปัจจุบนจังหวัดเลยมีแผนงานโครงการเลยโมเดล ในอําเภอเชียงคานจึงเกิด ”เชียงคานโมเดล” มี ั โครงการบูรณะ ปรับปรุ ง และพัฒนาอาคารทีควรค่าแก่การอนุ รักษ์ ฯลฯ เป็ นการพัฒนาอย่างเร่ งรี บซึง ผูวิจ ัยเห็น ว่าล้ว นเกิด มาจากการชี นําจากภายนอก และอํานาจรั ฐทังสิ น แล้ว คนทีอยู่ในชุ มชนที ไม่มี ้ ภูมิคุมกันหรื อมีรากฐานทางสังคมอ่อนแอจะปรับตัวอย่างไร ดังนัน การค้นหาเอกลักษณ์ความเป็ น” ้ เชียงคาน” และทิศทางการพัฒนาไปข้างหน้า จึงมีความจําเป็ นอย่างยิงต่อขบวนการตัดสิ นใจกําหนดใช้ แผนพัฒ นาโดยกระบวนการการมีส่วนร่ วมของประชาชนเพือสร้างชุ มชนเข้มแข็ง เพือศึกษาค้นหา มรดกทีเป็ นอัตลักษณ์ของตนเองด้านวัฒนธรรม วิถีชีวิตของชาวเชียงคานจากมุมมองของคนในชุมชน และการวิ เคราะห์ห าแนวทาง วิ ธี ก าร และรู ป แบบที เหมาะสมในการส่ งเสริ มความเข้มแข็ ง และ พัฒนาการของชุมชนทียังยืน (กรอบแนวคิดเชียงคานโมเดล) บทความนี ได้รั บ การเรี ยบเรี ยงขึ นจากงานภาคสนาม และการค้น คว้า เอกสาร โดยมี วัตถุประสงค์เพือฉายภาพของชุมชน บริ บทของชาวอําเภอเชียงคาน และสรุ ปเชิงวิเคราะห์ถึงประเด็นที ต้องพิจารณาในการกําหนดนโยบายพัฒนาเชียงคานด้านการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์ โดยมีรายละเอียด ดังนี วัตถุประสงค์การวิจย ั . เพือศึกษาค้นหามรดกทางวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคานจากมุมมองของชุมชน . เพือศึกษาแนวทางและความเป็ นไปได้ของศักยภาพในการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ . วิ เคราะห์ แนวทาง วิ ธีก าร และรู ปแบบที เหมาะสมในการส่ งเสริ มและพัฒ นาการ ท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ ตําบลเชียงคาน อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
  • 3. รูปแบบการศึกษาวิจย (Research Design) ั การวิจยโดยมุ่งศึกษารู ปแบบการส่งเสริ มการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ชุมชนตําบลเชียงคาน อําเภอ ั เชียงคาน และศึกษาเพือค้นหามรดกทางวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน โดยใช้วิธีเสวนาเชิงปฏิบติการ ั เพือระดมความคิด แลกเปลียนความคิดเห็นโดยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลผสมผสานระหว่างการศึกษา จากเอกสาร (Documentary Research) เพือวิเคราะห์แนวคิดจากทฤษฎีและข้อมูลงานวิจยทีเกียวข้อง ั และการวิจยภาคสนาม (Field Research) โดยมีการกลันกรอง เลือกสรร และเรี ยนเชิญบุคคลทีจะมาเข้า ั ร่ วมเสวนาเชิงปฏิบติก่อนล่วงหน้า เพือความพร้อมเพรี ยงกันในวันประชุม ั การเลือกประชากรกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และใช้วิธีการ Snowball Technique เพือให้ ได้คุณภาพและปริ มาณบุคคลทีจะเข้าร่ วมเสวนาให้มากทีสุด ซึงในการวิจยครังนีมีผตอบรับและเข้าร่ วม ั ู้ เสวนาทังสิน คน ขอบเขตด้ านเวลาการวิจย มกราคม – มิถุนายน ั กิจกรรมภาคสนาม การวิจยภาคสนาม แบ่งเป็ น ภาคส่วนใหญ่ๆ ั . ค้นหามรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน แบ่งเป็ น กลุ่ม ๆ ละ คน โดยมีการจัดวางตัว บุคคลให้เกิดความหลากหลายตังแต่ผเู้ ฒ่า ผูแก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผูรู้ภูมิปัญญาท้องถิน ข้าราชการบํานาญ ้ ้ ผูประกอบการธุรกิจท่องเทียว ตัวแทนเยาวชนคนรุ่ นใหม่ แกนนําชุมชนทังภาคเอกชนและภาคราชการ ้ โดยมีผสงเกตุการณ์รอบ ๆ อีกประมาณ - คน ู้ ั . เสวนาแลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับแนวความคิดทิศทางในการพัฒนาเมืองเชียงคาน โดย เฉพาะทีเกียวข้องกับการท่องเทียว โดยมีคาถามว่าชาวเชียงคานจะเตรี ยบรับมืออย่างไรให้มีการพัฒนา ํ ด้านการท่ องเที ยวที ยังยืน โดยได้มีก ารระดมความคิ ด เปิ ดโอกาสให้ชาวบ้านที ต้องการพูด เสนอ ข้อคิดเห็นได้มีโอกาสได้แสดงออกในประเด็นทีทุกคนควรใส่ ใจ เพือลูกหลานชาวเชียงคานในอนาคต จะได้มี “มรดก” ทังทางวัฒนธรรมและสิงแวดล้อมอยูคู่กนไปตราบนานเท่านาน ่ ั การวิเคราะห์ ข้อมูลและตรวจสอบข้ อมูล ผูวิจยได้นาข้อมูลเอกสารและข้อมูลภาคสนามทีได้จากการสังเกตและสัมมนานํามาตรวจสอบ ้ ั ํ ความถูกต้องของข้อมูล และจัดหมวดหมู่แยกแยะเป็ นประเด็นต่าง ๆ ทีพบโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ขอมูล ้
  • 4. ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื อหา (Content Analysis) ตามประเด็นทีค้นหา (Topic) และนํามาพรรณาเชิ ง อุปนัย (Inductive) เพือสรุ ปข้อมูลในการนําไปใช้งานต่อไป บริบททัวไปของชุมชนเชียงคาน ในอดีตอําเภอเชียงคานขึนกับเมืองพิชย จังหวัดอุตรดิตถ์ พอเสี ยดินแดนให้กบฝรังเศสจึงเป็ น ั ั เมืองอิสระแต่ก็มีการขอความช่วยเหลือจากจังหวัดเลยตลอดมา จนมีการโอนการปกครองมาขึนกับเมือง เลย มณฑลอุดร ตามหนังสือที 31/2224 วันที 5 มิถุนายน 2454 (ร.ศ.130) และการก่อสร้างถนนมากขึ น ในช่วง พ.ศ. 2486-2494 จากประวัติการสํารวจเส้นทางทุกภาคส่วนของประเทศ การเกิดของถนนเชียง คาน-ปากชมเกิดขึนตามโครงการสํารวจแผนทีธรณี วิทยาจังหวัดเลย โดยนายเกษตร พิทกษ์ ไพรวัน ั หัวหน้ากองธรณี วิทยา (100 ปี กรมทรัพย์ฯ กระทรวงอุตสาหกรรม ;มกราคม 2535) ปัจจุบนพืนทีในเขต ั ตําบลเชียงคาน แบ่งการปกครองทังหมด 6 หมู่บาน 9 ชุมชน โดยมีพืนทีประมาณ ตารางกิโลเมตร ้ อยูในเขตความรับผิดชอบของ องค์การบริ หารส่วนตําบลเชียงคาน และเขตเทศบาลตําบลเชียงคาน ่ ลักษณะเด่ นของอําเภอเชียงคาน เป็ นเมืองทีมีธรรมชาติสวยงาม มีการพัฒนาผสมผสานชาติพนธุ์-เผ่าพันธุ์มาหลายร้อยปี จนเกิด ั เป็ นวัฒนธรรม-ประเพณี -ภาษาเฉพาะถิน มีโบราณวัตถุและศิลปะโดยรับอิทธิพลจากล้านช้าง ล้านนา เวียงจันทร์ ขอม มอญ เป็ นต้น มีวิถีชีวิตรักความสะงบ มีชุมชนเข้มแข็ง มีความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนและนักท่องเทียว มีสถานทีท่องเทียวทางธรรมชาติทีสวยงาม ได้แก่ แก่งคุดคู้ วัดพระพุทธบาทภูควายเงิน จุดชม วิวภูทอก จิตรกรรมฝาผนังวัดศรี คุณเมือง ชมทิวทัศน์ริมฝังโขง ศูนย์วฒนธรรมไทดําบ้านนาป่ าหนาด ั ศูนย์วฒนธรรมผีขนนํา บ้านนาซ่าว พระพุทธนวมินทรมงคลลีลาทวินคราภิรักษ์ (พระใหญ่) วัดปากนํา ั เหือง บ้านท่าดีหมี เป็ นต้น มีความอุดมสมบูรณ์ มีอากาศเหมาะสมต่อการปลูกพืชผลได้ทุกชนิ ด และมีแหล่งนําเพือการ เพาะปลูกทีสามารถพัฒนาศักยภาพได้ และมีศกยภาพในการอํานวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุนตลอดชายแดนกับ สปป.ลาว (มี ั ท่าเรื อขนส่งสินค้าเข้า-ออก) ประเด็นปัญหาทีสําคัญของอําเภอเชียงคาน ) ปัญหาขาดเอกสารสิทธิในทีดินทํากินและทีอยูอาศัย(ทีดินทับซ้อนราชพัสดุ ป่ าไม้ ป่ าสงวน) ่
  • 5. ) ปัญหาสภาพเส้นทางคมนาคมไม่สะดวกและมีสภาพชํารุ ดทรุ ดโทรม (จากการขุดทรายและ รถบรรทุกแร่ ) ) ปัญหาขาดแคลนแหล่งเก็บกักนําเพือการเกษตร (ลํานําสาขาทีเป็ นแหล่งต้นนํา) ) ปัญหาการลักลอบขนยาเสพติดเข้ามาในราชอาณาจักร ) ปัญหาตลิงริ มแม่นาโขงถูกกัดเซาะพังทลาย และผลกระทบจากเขือนจีน (การกัดเซาะ การ ํ ไหลของตะกอน การขึน-ลงของระดับนํา การลดลงของปลาในระบบนิเวศแหล่งธรรมชาติ) ) ปัญหาบุคคลต่างด้าวลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย เพือค้าแรงงาน และการค้าประเวณี (แอบแฝงในรู ปร้านอาหารทัวไป) ) ปัญหา การลักลอบขุดแร่ เถือน การบุกรุ กพืนทีป่ าเพือครอบครองปลูกยางพาราของนายทุน การขาดความสมดุลทางทรัพยากรธรรมชาติ (พืชเชิงเดียวและการใช้สารเคมี) ) ปั ญ หาความยากจนจากสภาพสังคมเศรษฐกิ จ ที เปลียนไป, ความไม่แน่ น อนจากแผน บริ หารงานท้องถิน, การซือสิทธิ-ขายเสียงทางการเมือง, หนี สินนอกระบบ และปัญหาสังคมจากค่านิ ยม วัตถุของเยาวชน ) ปัญหา จากนโยบายสาธารณะ (สร้างเขือน อุตสาหกรรมแร่ ทองคํา-เหล็ก โครงการผันนํา ขนาดใหญ่) ความเข้ มแข็งของชุ มชนเครืองมือแก้วกฤตการณ์สังคมไทย ิ ในเรื องการสร้างชุมชนเข้มแข็ง พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้ในพรรษาสุ ดท้ายก่อนทีจะปริ นิพพาน โดยใช้หลักอปริ ยหานิยธรรม 7 ประการ เป็ นธรรมะแห่งการคิดการทําร่ วมกัน เช่น การประชุมกันเนื อง นิด เป็ นต้น ดังนันจึงไม่ใช่เรื องใหม่ ซึงชุมชนเข้มแข็งนี จะก่อให้เกิดพลัง 4 ประการ คือ พลังทางสังคม พลังทางจิต คือ ผูคนมีวตถุประสงค์ร่วมกัน มีการไว้วางใจกัน พลังทางปัญญา เกิดขึนได้เพราะคนมีการ ้ ั วิจยและคิดร่ วมกัน และพลังทางการจัดการ เกิดผูนาตามธรรมชาติ ราษฎรอาวุโส กล่าวว่า สัจจะธรรม ั ้ ํ อันเป็ นทียอมรับกันทัวโลกประการหนึ ง คือ ความเข้มแข็งของชุมชน จะเป็ นเครื องมือแก้ปัญหาได้ 8 ประการ คือ 1) เศรษฐกิจจะดีขึน 2) จิตใจของคนจะดีขึน 3) ครอบครัวจะอบอุ่นเข้มแข็ง 4) สังคมจะ น่าอยู่ 5) สิงแวดล้อมจะดีขึน 6) สุขภาพคนจะเข้มแข็งทัง 4 ประการ 7) วัฒนธรรมได้รับการพัฒนาเป็ น วัฒนธรรมของชุมชน ซึงทัง 7 ประการจะนําไปสู่ผล คือ สังคมจะยังยืน การพัฒนาชุมชนไปสู่ความเข้มแข็งนันต้องอาศัยผูนาประเภทผูนาตามธรรมชาติเท่านัน เพราะ ้ ํ ้ ํ ผูนาธรรมชาติมีคุณสมบัติทีเชือถือได้อย่างน้อย 5 ประการ คือ 1) มีความฉลาด รู้สภาพข้อเท็จจริ งทุก ้ ํ ด้านในชุมชน 2) มีความซือสัตย์ ซึงคุณสมบัติขอนี คนในชุมชนจะรู้ดีว่า ผูนาแต่ละคนเป็ นเช่นไร 3) เห็น ้ ้ ํ
  • 6. แก่ประโยชน์ส่วนรวม 4) สือสารกับคนในชุมชนได้ดี เพราะมีความรู้ความเข้าใจ รู้ขอมูลดังกล่าวข้างต้น ้ และ 5) เป็ นทียอมรับของคนทังปวง นอกจากนี การทีชุมชนทีจะนําไปสู่การแก้ปัญหาความยากจนได้ตองเป็ นชุมชนทีมีกระบวนการ ้ เรี ยนรู้ คือ ต้องตกผลึกใน 3 เรื อง คือ 1) ได้มีการทําการวิจยโดยชุมชนเองเพราะการวิจยจะทําให้เกิด ั ั จิตสํานึกทีจะนําไปสู่การเปลียนแปลงพฤติกรรมใหม่ รู้ตวตนของตนเอง 2) เอาผลการวิจยนันไปสู่การ ั ั วางแผนแก้ปัญหาของตนเอง และ 3) มีการปฏิบติตามแผนงานนัน เป็ นการเคลือนงานอย่างบูรณาการทัง ั 3 กระบวนการ คือกระบวนการเรี ยนรู้ใครเรี ยนรู้คนนันเข้มแข็ง และแก้ปัญหาความยากจนได้ตองมี ้ ข้อเสนอเชิงนโยบายทีชัดเจน เพราะการแก้ปัญหาความยากจน ต้องได้และหนุนจากรัฐบาลไม่ใช่เอาเงิน ไปแจก เพราะจะทําให้ค นวิ งเข้าไปหาเงิน แต่ ตองทําให้ค นวิ งไปหาคน โดยให้คนในท้องถินเรี ย นรู้ ้ กันเอง วางแผนกันเอง ปฏิบติกนเอง ซึงการทําแผนชุมชนทีชาวบ้านร่ วมกันทําทีผ่านมาคิดว่า สามารถ ั ั ทําให้ชาวชุมชนมีความเข้มแข็ง แต่ในขณะเดียวกันก็จะต้องทําให้ระดับนโยบายมีความเข้าใจและหันมา สนับสนุนด้วย ซึงเห็นว่าในเชิงนโยบายนัน รัฐบาลควรสนับสนุ นองค์กรชุมชนใน 2 ประการ คือ การ หนุนเสริ มการทําแผนของชุมชนให้ครบทุกตําบล ภายใน 5 ปี และให้รัฐบาลสนับสนุ นเรื องสิ ทธิชุมชน โดยการออกมาเป็ นกฎหมายลูก ใน 4 ประการ สิทธิชุมชนพืนฐานทีว่านี คือ 1) สิ ทธิในการทํามาหากิน ไม่ใช่ผกขาดอยูทีกลุ่มผลประโยชน์อย่างทีเป็ นอยู่ 2) สิทธิการใช้ทรัพยากรอย่างเป็ นธรรมและยังยืน 3) ู ่ สิทธิในการสื อสารชุมชน เช่น ในเรื องของวิทยุชุมชน ทีชาวบ้านสามารถบอกกล่าวข้อมูลข่าวสารใน เรื องต่างๆ ของตนเองได้ และ 4) สิ ทธิในการมีระบบทุนชุมชนเพือป้ องกันการเอาเปรี ยบจากภายนอก เชือว่าหากรัฐสามารถสนับสนุนในเรื องดังกล่าวได้ ก็จะเป็ นการหนุ นช่วยชุมชนเพือนําไปสู่การแก้ไข ปัญหาความยากจนได้อย่างยังยืน กระบวนการสร้ างการมีส่วนร่ วม การเสริ มสร้างกระบวนการมีส่วนร่ วมของชุมชน หรื อกลุ่มบุคคล องค์กรในการร่ วมคิด ร่ วมทํา ร่ วมใช้ประโยชน์ เป็ นกลวิ ธีหนึ งช่วยการแก้ไขปั ญ หา ได้อย่างยังยืน โดยเฉพาะการมีส่ว นร่ วมของ ชุมชน ครอบครัว จะมีส่วนสําคัญอย่างยิง ในการเพิมประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผลของการดําเนิ นการ ซึง การออกแบบในการพัฒนากระบวนการมีส่วนร่ วมของประชาชน เพือหาวิธีทีเหมาะสมและการวางแผน ส่งเสริ มการมีส่วนร่ วมนันอยูกบลักษณะการตัดสินใจบนพืนฐานของข้อมูล ตลอดจนความคาดหวังของ ่ ั สาธารณชนทีมีต่อกระบวนการหรื อการพัฒนานัน กระบวนการมีส่วนร่ วมอาจจะมีขนตอน ดังนี ั ) ประเมินความต้องการในการเข้าร่ วม ทําการรวบรวมและประเมินข้อมูลสาธารณะเบื องต้น เพือแยกแยะผลกระทบต่ อ บุ ค คลหรื อกลุ่ม เบื องต้น หาข้อมูล สภาพสังคมของชุ มชนที ถูก กระทบ ประเมิน ความต้องการของชุมชนในการเข้าร่ วมในแผนงานโครงการต่างๆ และวิธีการมีส่วนร่ วมที เหมาะสม โดยอาจใช้วิธีการค้นหาข้อมูลหรื อการปรึ กษากับชุมชนในระยะแรก เช่นการประชุมร่ วมกับ
  • 7. ชุมชน การนําเสนอข้อมูลกับผูนาชุมชนหรื อการกระจายข่าวสารด้วยวิธีการต่างๆ จัดตังผูประสานงาน ้ ํ ้ ระดับชุมชนเพือชีแจงและสร้างความเข้าใจ การแสวงหาวิธีการมีส่วนร่ วมทีชุมชนเห็นด้วย เป็ นต้น ) จัดสร้างกระบวนการมีส่วนร่ วม โดย สร้างความเข้าใจร่ วมกันในประเด็นต่างๆ ของการ พัฒนาและการมีส่วนร่ วมโดยมีการแยกแยะความสนใจ ความต้องการของบุคคลหรื อกลุ่มและความ ต้องการในการมีส่ว นร่ ว ม กําหนดเป้ าหมายและสร้างแนวทางแก้ไขต่างๆ ที อาจเป็ นไปได้ร่ วมกัน ประเมินแนวทางการพัฒนา ยืนยันแนวทางทีถูกเลือก โดยวิธีการมีส่วนร่ วมตามความเหมาะสม ) จัดสร้างกระบวนการมีส่วนร่ วม กระบวนการนําไปปฏิบติและติดตามผล ติด ตามการนํา ั แผนงาน โครงการไปปฏิบติ ให้เกิดการดําเนินการเป็ นเครื อข่ายความร่ วมมือ ในการพัฒนาระบบ การ ั ทบทวน และปรับปรุ ง วิธีการการมีส่วนร่ วม การติดตามประเมินผลภายใต้การมีส่วนร่ วม ซึงกิจกรรม การพัฒนาที มีผลกระทบต่ อคุ ณ ภาพชี วิ ตของบุค คลในชุ มชนท้องถิน อํานาจการตัด สิ น ใจควรอยู่ที ประชาชนในชุมชนท้องถินนันๆ ดังนันการทีประชาชนจะสามารถเข้ามามีส่วนร่ วมและรับผิดชอบในกิจกรรมสาธารณะทีมีผล ต่อคุณภาพชีวิต ส่วนหนึงจะต้องจัดกระบวนการทีเหมาะสม เพือให้ประชาชนมีส่วนร่ วมทีแท้จริ ง คือ อํานาจการตัดสินใจอยูทีประชาชน และภาครัฐ องค์กรปกครองส่ วนท้องถินหรื อหน่ วยสนับสนุ นปรับ ่ แนวคิดไปสู่การสนับสนุนขบวนการของประชาชน และพัฒนาความร่ วมมือให้มีประสิทธิภาพต่อไป รูปแบบการศึกษาวิจย (Research Design) ั การวิจยโดยมุ่งศึกษารู ปแบบการส่งเสริ มการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ชุมชนตําบลเชียงคาน อําเภอ ั เชียงคาน และศึกษาเพือค้นหามรดก(อัตลักษณ์)ทางวัฒนธรรม-วิถีความเป็ นเชียงคาน โดยใช้วิธีเสวนา เชิงปฏิบติ การเพือระดมความคิด แลกเปลียนความคิ ดเห็น โดยวิธีการเก็ บรวบรวมข้อมูลผสมผสาน ั ระหว่างการศึกษาจากเอกสาร (Documentary Research) เพือวิ เคราะห์แนวคิดจากทฤษฎีและข้อมูล งานวิจยทีเกียวข้องและการวิจยภาคสนาม (Field Research) โดยมีการกลันกรอง เลือกสรร และเรี ยน ั ั เชิญบุคคลทีจะมาเข้าร่ วมเสวนาเชิงปฏิบติก่อนล่วงหน้า เพือความพร้อมเพรี ยงกันในวันประชุม ั การเลือกประชากรกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) และใช้วิธีการ Snowball Technique เพือให้ ได้คุณภาพและปริ มาณบุคคลทีจะเข้าร่ วมเสวนาให้มากทีสุด ซึงในการวิจยครังนีมีผตอบรับและเข้าร่ วม ั ู้ เสวนาทังสิน คน
  • 8. การวิจยภาคสนาม แบ่ งเป็ น ภาคส่ วนใหญ่ ๆ ั ) ค้นหามรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน แบ่งเป็ น กลุ่ม ๆ ละ คน โดยมีการจัดวางตัว บุคคลให้เกิดความหลากหลายตังแต่ผเู้ ฒ่า ผูแก่ ปราชญ์ชาวบ้าน ผูรู้ภูมิปัญญาท้องถิน ข้าราชการบํานาญ ้ ้ ผูประกอบการธุรกิจท่องเทียว ตัวแทนเยาวชนคนรุ่ นใหม่ แกนนําชุมชนทังภาคเอกชนและภาคราชการ ้ โดยมีผสงเกตุการณ์รอบ ๆ อีกประมาณ - คน ซึงนับว่าเป็ นการประชุมระดับท้องถินทีมีคนสําคัญ ู้ ั ๆ ของหลากหลายหมู่บานมาเข้าร่ วมมากทีสุดครังหนึงในประวัติศาสตร์ทีเดียว โดยเลือกเอาวันพระเป็ น ้ วันลงพืนที และมีการประชาสัมพันธ์ก่อนล่วงหน้าเป็ นอย่างดี ทําให้ชาวบ้านมีความพร้อมมีเวลามาพบ เสวนาเชิงปฏิบติการได้โดยสะดวกหลังจากทําบุญ ตักบาตร ตอนเช้าในวันพระใหญ่เสร็ จสิ น โดยมีการ ั เริ มลงทะเบียนการประชุมประมาณ . น. ทุกกลุ่มมีการระดมความคิด และจดบันทึกสิ งทีคิดว่าเป็ น มรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน ลงบนกระดาษโปสการ์ดแผ่นใหญ่ โดยใช้เวลาประมาณครึ งชัวโมง ก่อนทีจะเริ ม Vote กันภายในแต่ละกลุ่มย่อยว่าคําใดน่าจะมีความสําคัญสูงสุ ดเรี ยงลําดับจากมากสุ ดไป หาน้อยสุด โดยทีมนักวิจยได้ช่วยสนทนาอธิบายรายละเอียดให้กบทีมทีมีคาถาม ก่อนทีทุกกลุ่มจะจด ั ั ํ บัน ทึ ก ข้อความทังหมดลงในแผ่น บัน ทึ กสี แถบกาวติ ด ต่ อกันจากบนลงล่าง (รู ปแบบฉัน ทามติ ใน โครงการสร้ างสํานึ ก พลเมืองของกองทุ นพัฒ นาการเมืองภาคพลเมือง (Project Citizen) ตามลําดับ ความสําคัญ) ภาพการเสวนาเพือค้นหามรดกทางวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน, พฤษภาคม ทีวัดป่ าใต้ วัดศรี คูณเมืองและวัดท่าคก ตําบลเชียงคาน อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
  • 9. จากนันทีมนักวิจยได้นาแผ่นบันทึกสีทีมีการต่อเชือมกันในแนวตังของทุกกลุ่มมาแปะติดไว้ที ั ํ กระดานหน้าทีประชุม เพือให้ทุกคนได้มีสิทธิ vote แสดงความคิดเห็นส่วนตัวอีกครัง ด้วยการยกมือขึน ทุกครังทีเห็นด้วยกับคําหรื อข้อความทีสมควรเป็ นมรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคานให้ลูกหลานได้ ดูแลสืบต่อไป เพราะสิ งเหล่านี ย่อมเป็ น แง่คิด ทีชาวบ้านชาวเชียงคานทุกคนควรตระหนักและรักษาไว้ มากกว่า การเปลียนแปลงตัวเองไปเพือเน้นธุรกิจการท่องเทียวเป็ นหลักอย่างเดียว เพราะนักท่องเทียว มาแล้วก็ไปไม่ยงยืนเหมือนชาวบ้านทีต้องอยูกบทรัพยากรท้องถินทุกวันทุกคืน หากไม่รักษาไว้ให้ดีก็จะ ั ่ ั มีว น หมดสิ นหรื อเสื อมสลายค่ อยๆ ไป โดยไม่สามารถนํากลับมาชื นชมให้ค งอยู่อย่างสมบูร ณ์ ไ ด้ ั เหมือนเดิม ) เสวนาแลกเปลียนความคิดเห็นเกียวกับแนวความคิดทิศทางในการพัฒนาเมืองเชียงคาน โดย เฉพาะทีเกียวข้องกับการท่องเทียว โดยมีคาถามว่าชาวเชียงคานจะเตรี ยบรับมืออย่างไรให้มีการพัฒนา ํ ด้านการท่ องเที ยวที ยังยืน โดยได้มีก ารระดมความคิ ด เปิ ดโอกาสให้ชาวบ้านที ต้องการพูด เสนอ ข้อคิดเห็นได้มีโอกาสได้แสดงออกในประเด็นทีทุกคนควรใส่ ใจ เพือลูกหลานชาวเชียงคานในอนาคต จะได้มี “มรดก” ทังทางวัฒนธรรมและสิงแวดล้อม อยูคู่กนไปตราบนานเท่านาน ่ ั ทังนี ทีมนักวิจยเองก็มีการเสนอความคิดเห็นแง่มุมต่าง ๆ ทีเห็นว่าเหมาะสมกับบริ บทเมือง ั เชียงคาน โดยได้มีการจดบันทึกไว้บนกระดาษการ์ ดทีกระดานหน้าเวทีก ารประชุมให้ทุกคนได้เห็ น ก่อนมีการสรุ ปและสิ นสุ ดการประชุมเพือถ่ายรู ปและรับประทานอาหารร่ วมกันในเวลาประมาณหลัง เทียงวัน การวิเคราะห์ ข้อมูลและตรวจสอบข้ อมูล ผูวิจยได้นาข้อมูลเอกสารและข้อมูลภาคสนามทีได้จากการสังเกตและสัมมนานํามาตรวจสอบ ้ ั ํ ความถูกต้องของข้อมูล และจัดหมวดหมู่แยกแยะเป็ นประเด็นต่าง ๆ ทีพบโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ขอมูล้ ด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื อหา(Content Analysis) ตามประเด็นทีค้นหา (Topic) และนํามาพรรณาเชิงอุปนัย (Inductive) เพือสรุ ปข้อมูลในการนําไปใช้งานต่อไป ผลวิเคราะห์ ของการลงคะแนน หลังจากทุ กกลุ่มได้แสดงความคิ ด เห็ น และจดบันทึ ก เรี ย บร้ อยแล้ว ขันตอนต่อไปคือการ ประมวลลําดับความสําคัญของมรดกทางวัฒนธรรมเหล่านันทังหมด โดยใช้วิธียกมือเห็นด้วย (หนึ งคน = หนึ งเสี ยง) กับคําหรื อข้อความทีเห็นสมควรรัก ษาไว้เป็ นมรดกวัฒ นธรรมของคนเชีย งคาน โดยผู้ สังเกตการณ์รอบ ๆ สามารถลงคะแนน Vote ได้ในรอบนี
  • 10. กลุ่มที : ให้ ความสําคัญมากทีสุ ด ที ความคิดเห็น ผู้ลงคะแนน/คน 1 การตักบาตรตอนเช้า 2 นําใจไมตรี ความเอือเฟื อเผือแผ่ 3 ธรรมชาติทีสวยงาม อากาศแม่นาโขง ํ 4 ภู มิ ปั ญ ญา เช่ น งานประดิ ษ ฐ์เ ครื องจัก สาน สานหวด ตระกร้า ฮังไข่ ไพรหญ้าคา 5 วัดวาอาราม 6 ตํานานนิทานพืนบ้านเชียงคาน 7 งานบุญแห่ประเพณี เชียงคานทัง เดือน 8 ประวัติศาสตร์ กลุ่มที : ให้ ความสําคัญมาก ที ความคิดเห็น ผู้ลงคะแนน/คน 1 ทีอยูอาศัย บ้านเรื อนไม้เก่า ่ 2 ผ้าห่มนวม 3 อาหารพืนถิน กลุ่มที : ให้ ความสําคัญปานกลาง ที ความคิดเห็น ผู้ลงคะแนน/คน 1 ภาษาท้องถิน 2 การแต่งกายพืนถิน 3 การละเล่นพืนบ้าน 4 วิถีการดําเนินชีวิต ความเรี ยบง่าย วิถีชีวิตประมงนําโขง เช่น การร่ อนทองคําในนําโขง (อําเภอเชียงคานถึงอําเภอปาก ชม) ในช่ ว งระหว่ างเดื อนมกราคม - เมษายน วิ ถีชีวิ ต การกินข้าวโฮมกันแต่ละบ้านทํากับข้าวอย่างเดียวแล้วมากิน ข้างหน้าบ้าน วิถีชีวิตในครัวเรื อน การปลูกผักตามนําโขง ผักสวนครัว
  • 11. จากผลการลงคะแนนของชาวบ้านว่าในความสําคัญมากทีสุ ดกับ “จิตใจ” ของคนเชียงคานทีมี นําใจไมตรี ทีดีงามต่อผูทีมาเยียมเยือนเสมอ อีกทังยังมีวฒนธรรมทําบุญตักบาตรตอนเช้าทีสมควรอย่าง ้ ั ยิงทีจะอนุรักษ์เอาไว้เท่าๆ กับภูมิปัญญาท้องถิน รวมถึงประวัติศาสตร์ ตํานานพืนบ้าน วัดวาอาราม และ งานบุญแห่ประเพณี ทง เดือน อีกทังยังมีภูมิทศน์ทีเป็ นธรรมชาติสวยงามของแม่นาโขงทีชาวบ้านให้ ั ั ํ ความสําคัญมากทีสุดเช่นกัน นอกจากนันชาวบ้านยังให้ความสําคัญกับบ้านเรื อนไม้เก่า ผ้าห่ มนวม และอาหารพืนถิน อยู่ ในระดับทีมากสูงกว่าภาษาท้องถิน การแต่งกาย การละเล่นพืนบ้าน และวิถีการดําเนิ นชีวิตทีเรี ยบง่าย แบบเชียงคาน คําถามต่ อไปที ควรนําไปต่ อยอดพัฒ นาทางความคิ ดก็ คื อ จะทําอย่างไรให้ชาวเชี ย งคานมี จิตสํานึก รู้คุณค่า “มรดก” ทีมีอยูของตนเอง และสามารถพัฒนาเชิงอนุรักษ์ได้อย่างสร้างสรรค์เพือจะได้ ่ ดํารงสืบสานสู่รุ่นลูกรุ่ นหลานได้อย่างต่อเนืองตลอดไปหรื อให้ได้ยาวนานทีสุดเท่าทีจะทําได้ สรุปทิศทางการพัฒนาชุมชนเชียงคานโมเดล ความ “พอดี” ในการพัฒนาการท่องเทียวแบบยังยืนนันอยู่ทีไหนและจะทําอย่างไรให้เกิดการ ท่องเทียวเชิงอนุรักษ์แบบมีความสุขทังผูมาเยียมเยือน ผูอยูอาศัย และผูทามาหากินในเชียงคาน ้ ้ ่ ้ ํ ) ค่อยเป็ นค่อยไปในการพัฒนาท่องเทียว (Slow Tourism) โดยมีการสร้างกฎระเบียบขึ นมา ควบคุมดูแลคุณภาพมาตรฐานให้เกิดความเหมาะสม เช่น ราคาทีพัก ราคาอาหาร และสิ นค้าทีขายต่อ นักท่องเทียว เป็ นต้น ) อย่าเห็นแก่เงิน ไม่ขายบ้านเก่าง่ายๆ ถ้าสามารถพัฒนาเป็ นผูประกอบการเองได้ก็ควรทํา ถ้า ้ ทําเองไม่ได้ก็ไม่ควรให้เช่านาน (สัญญาเช่ าทําปี ต่อปี น่ าจะดีทีสุ ดหรื อหากจําเป็ นก็ไม่ควรเกิน ปี ) ทังนี ทุกครอบครัวควรมีการปลูกจิตสํานึกให้ลกหลานเห็นคุณค่าของบ้านไม้เก่าของเมืองเชียงคาน ู ) หมันฝึ กทักษะทีเกียวข้องกับการบริ การ และการท่องเทียวอย่างต่อเนือง เพือพัฒนาคุณภาพ มาตรฐาน เสริ มสร้างรายได้ โดยเฉพาะกลุ่มเครื อข่ายเยาวชนลูกหลานคนรักเชียงคานทีมีสานึ กรักบ้าน ํ เกิดอาจมีการรวมตัวกันจัดตังเป็ น “กลุ่มลูกหลานคนเชียงคาน” เพือสานต่องานให้เป็ นรู ปธรรม ) ฟื นฟูจุดเด่น ๆ ทางประเพณี วฒนธรรม และเชือมโยงกับนักท่องเทียวให้ได้ เช่น มีการ ั จัด ทําแผนที แหล่งท่ องเที ยวภายในเมืองเชี ย งคานและพืนที โดยรอบ พร้ อมรายละเอีย ดเรื องที พัก ร้านอาหาร ร้านขายของทีระลึก จุดเด่นทีเป็ นมรดกวัฒนธรรมและงานประเพณี ทีมีตลอดทังปี ) พัฒนารู ปแบบการท่องเทียว เชิงวัฒนธรรมประเพณี จิตวิญญาณครบวงจรแบบมีส่วนร่ วม . ) การพัฒนา Hardware เช่น การสร้างพิพิธภัณฑ์ชุมชน/ครัวเรื อนเป็ นศูนย์เรี ยนรู้ทีมีชีวิต ต่อเนืองได้กบลานศิลปวัฒนธรรมชุมชนทีอาจมีโรงละครแบบธรรมชาติสามารถมีการแสดงเล่าเรื อง ั
  • 12. ตํานานผสมผสานกับการละเล่นพืนถินทีมีการนํามาพัฒนาประยุกต์ให้เกิดความน่าสนใจในรู ปแบบการ นําเสนอต่อนักท่องเทียว . ) การพัฒนา Software เช่น การนําองค์ความรู้ ภูมิปัญญา เนื อหาเรื องราว เรื องเล่าจากผู้ เฒ่าสู่เยาวชนมาใช้แปลความหมายของมรดกทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมโดยสามารถพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานตัวเองให้เป็ น “นักเล่าเรื อง” ได้อย่างมีเสน่ห์ น่าสนใจไม่น่าเบือ สิ งเหล่านี เป็ นเพียงตัวอย่างการพัฒนาจากทรัพยากรทางวัฒนธรรม (Cultural Resources) สู่การ พัฒนาผลิต ภัณ ฑ์ (Production Development) ให้เกิด เป็ นสิ นค้าทางการท่ องเที ยวทีสามารถส่ งเสริ ม เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ให้เกิดขึนได้อย่างต่อเนือง ) ใช้การพูดคุยทีเน้นการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนเพือให้เกิดการควบคุมและส่ งเสริ มการ ท่องเทียวเชิงอนุรักษ์แบบยังยืน . ) ตัวแทนกลุ่ม Home stay เจ้าของบ้าน ผูนาชุมชน ้ ํ . ) ตัวแทนกลุ่มผูประกอบการธุรกิจอืน ๆ ทีเกียวข้องกับการท่องเทียว การบริ การ ้ . ) ตัวแทนเยาวชนคนรุ่ นใหม่ . ) ตัวแทนภาครัฐ ส่วนท้องถิน หน่วยงานราชการทุกภาคส่วนทีเกียวข้อง 6.5) ตัวแทนกลุ่มอนุรักษ์ ต่างๆ โดยตัวแทนเหล่านี ต้องมีการพูดคุยปรึ กษาหารื ออย่างสมําเสมอเกียวกับทิศทางการพัฒนาเมือง เชียงคาน ปรึ กษาหารื อกันว่าจะทําอย่างไรจึงจะสามารถรักษา “มรดก” ทางวัฒนธรรมเหล่านี ไว้ได้ และมีการนําเสนอสู่นกท่องเทียว ให้มีส่วนมาร่ วมชืนชมได้อย่างน่าประทับใจตลอดไป ั ทังนี การสร้าง Roadmap หรื อแผนทิศทางการพัฒนาเมืองเชียงคานให้เป็ นเมืองท่องเทียวเชิง อนุรักษ์ทียังยืน โดยมีการกําหนดคณะทํางานภาคพลเมืองชาวเชียงคานให้เกิดความชัดเจนขึ น โดยมี เป้ าหมายหลักเพือเป็ นแกนนําสําคัญในการประสานงานกับทุกภาคส่วน (ทังภาครัฐและเอกชน) และทุก ระดับการบริ หารจัดการ (ส่วนกลางและส่วนท้องถิน) จึงมีความจําเป็ นอย่างยิงสําหรับเมืองเชียงคาน ข้ อเสนอแนะ จากคําถามทีว่าจะทําอย่างไรไม่ให้เชียงคานถูกกระแสแห่ งความเจริ ญของการพัฒนาเมืองและ การท่ องเทียวทีกําลังคืบคลานเข้ามากลืนกิ น “ความเป็ นเชีย งคาน” อย่างไม่หยุด หย่อน โดยเฉพาะ ในช่วงปลายปี เป็ นต้นมา จึงจําเป็ นอย่างยิงทีคนทุกคน จะต้องร่ วมมือกันปกป้ องรักษามรดกทาง วัฒ นธรรมที มี คุ ณ ค่ า โดยหวัง ว่ า งานวิ จ ัย ชิ นนี จะเป็ นประตู ไ ปสู่ โ อกาสในการคิ ด ริ เริ มกิ จ กรรม สร้างสรรค์ของชุมชนในมุมมองทางวัฒนธรรม เช่น พิพิธภัณฑ์พนบ้านทีมีชีวิต บอกเล่าเรื องราวด้วย ื
  • 13. ความภาคภูมิใจจากผูเ้ ฒ่าเล่าเรื องให้ผูเ้ ยาว์ได้เรี ยนรู้ จดจํา นําเสนอสู่ ผูมาเยียมเยือนอย่างเรี ย บง่ าย ้ กันเอง แต่น่าจดจํา ประทับใจ จนสามารถทีจะเป็ นแบบอย่างการท่องเทียวเชิงอนุ รักษ์วฒนธรรมให้กบ ั ั ชุมชนอืน ๆ ในภูมิภาคลุ่มแม่นาโขงหรื อแม้แต่ความหวังทีจะมีการพัฒนาทางความคิดอย่างต่อเนืองของ ํ ชุมชนทีเข้มแข็ง เพือประเทศอืน ๆ ทัวโลกจะได้มาเรี ยนรู้ ดูงานเป็ นกรณี ศึกษาได้ต่อไปในอนาคต แนวความคิดเกียวกับรู ปแบบของเชียงคานโมเดล จากการวิจยสะท้อนถึงความสําคัญในการ ั อนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม และจิตวิญญาณความเป็ นเชียงคานโดยเฉพาะด้านทีเกียวข้องโดยตรงกับ “คน” ชาวเชียงคานตังแต่เรื องวิถีชีวิต ประเพณี การทําบุญตักบาตร ความมีนาใจไมตรี เอืออารี ต่อผูมา ํ ้ เยียมเยือน ตํานานเรื องราวทางประวัติ ศ าสตร์ ทังในชุ ม ชนและในวัด วาอาราม อี ก ทังทัศนี ย ภาพ บรรยากาศของเมืองเชียงคานทีสงบ เรี ยบง่าย ไม่รีบเร่ ง โดยมีแม่นาโขงเป็ นทรัพยากรธรรมชาติทีสําคัญ ํ ต่อความเป็ นอยูของคนเชียงคานทีผูกพันกับวิถีชีวิตโดย มีฐานทางสังคมเศรษฐกิจจากการเกษตรและ ่ การประมงเป็ นหลัก Roadmap สู่การพัฒนาด้านการท่องเทียวทียังยืนนันจําเป็ นต้องมีการจัดตังคณะกรรมการภาค พลเมืองชาวเชียงคาน เพือการท่องเทียวทียังยืน โดยมีหน้าทีรับผิดชอบทีสําคัญ ด้านหลัก ดังต่อไปนี . ด้ านการมีส่วนร่ วม: จําเป็ นต้องมี ก. การกลันกรองเลือกเฟ้ นตัวบุคคลทีน่ าเคารพ น่ าเชือถือ สมควรเป็ นตัวแทนชุมชนได้ มี จิตใจทีสามารถทํางานให้ชุมชนได้อย่างเต็มที สมําเสมอ เพือวางเป้ าหมายและความต้องการในการ พัฒนาการท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ร่วมกัน ข. ความเป็ นผูนาทีใช้หลักธรรมาภิบาลเน้นความโปร่ งใส ตรวจสอบได้ในการประชุมเสวนา ้ ํ ในการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิ ทธิผล ดูแล แก้ไข ปรับเปลียนกฎหมายเทศบัญญัติ และธรรมนูญเชียงคาน โดยไม่มีผลประโยชน์ส่วนตัวเข้ามาเกียวข้อง และมีบทลงโทษต่อผูกระทําผิด ้ เป็ นขันตอนอย่างชัดเจน ค. การอบรม สร้ างจิตสํานึ กสาธารณะของคนเชียงคานทุ กคนให้มีค วามรัก หวงแหนใน “มรดก” ความเป็ นเชียงคานอย่างถาวรและต่อเนืองโดยเฉพาะเยาวชนคนรุ่ นใหม่ . ด้ านความร่ วมมือ: ต้องสร้างกลไกให้เกิดการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพ ก. ระหว่างหน่วยงานภาครัฐทีเกียวข้องทังส่วนกลางและส่ วนท้องถินโดยต้องมีงบประมาณ มาสนับสนุนอย่างเพียงพอและต่อเนือง ตรงตามแนวทาง อนุรักษ์อย่างยังยืน ข. ระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ผูประกอบการธุรกิจ ทีเกียวข้องในเชียงคานเกิด ้ การประสานงานแก้ปัญหา และวางแผนป้ องกันรักษา “มรดก” ของคนเชียงคานให้คงอยูต่อไป ่ ค. ระหว่างภาคเอกชน NGOs ชมรมต่าง ๆ ทีเกียวข้องกับผูประกอบการ ร้านค้า รวมทัง ้ ธุร กิ จการท่ องเที ยวในเชี ยงคานทังหมดที ต้องมีเวลามานังคุ ยปรึ กษาปั ญ หาและพัฒ นางานกันอย่าง สมําเสมอ
  • 14. . ด้ านการเจริญเติบโตในการพัฒนา: จําเป็ นต้องมี ก. การเลือกพิจารณาข้อมูล ข้อเท็จจริ ง แหล่งทีสนับสนุ นการพัฒนาจากภายนอก ทีเชือถือได้ อย่างรอบคอบระมัดระวังในการตัดสินใจก่อนการพัฒนาในทุกๆด้าน ทีจะเกิดขึนใหม่ในชุมชน ข. การอบรม ฝึ กพัฒ นาทัก ษะ ความรู้ ความสามารถที เกียวข้องกับการบริ ก ารในธุ ร กิจ การ ท่องเทียวด้านต่าง ๆ ทังภาษาไทยและภาษาต่างประเทศทีสําคัญ ๆ โดยไม่หลงลืมทีจะส่ งเสริ มการใช้ ภาษาท้องถินสื อสารระหว่างคนเชียงคานกันด้วย โดยควรมีการฝึ กปฏิบติแบบค่ อยเป็ นค่อยไปอย่าง ั ต่อเนืองและสมําเสมอในการสร้างสรรค์กิจกรรมทีมีคุณประโยชน์ทงต่อชุมชนผูอยู่อาศัยในเชียงคาน ั ้ และนักท่องเทียวทีมาเยียมเยือน ค. การประเมินผลและตรวจสอบ ประสิ ทธิ ภาพ โดยคณะกรรมการพิเศษที จัดตังขึ นมาจาก ตัวแทนผูมีความรู้ ความสามารถและน่านับถือในชุมชน ผูประกอบการทีมีความน่าเคารพเชือถือจากทุก ้ ้ ฝ่ ายทีเกียวข้อง ข้อเสนอแนะการพัฒนา บนฐานความขัดแย้งของชุมชนเชียงคาน ในอนาคตเพือลดผลกระทบ จากกระแสเลยโมเดล ทังภาคสังคม เศรษฐกิ จ การเมือง และการศึก ษา จึงมีค วามจําเป็ นอย่างยิงที คณะทํางานภาคพลเมือง ตามกรอบเชียงคานโมเดล จะต้องมีการวางแผน กําหนดทิศทางทีเป็ นขันตอน กําหนดผูรับผิดชอบ และกรรมการผูตรวจสอบ ประเมินผลอย่างในแต่ละแผนปฏิบติงาน ทังระยะสัน ้ ้ ั ระยะกลาง และระยะยาว เช่น ) ดําเนิ นการจัดตังคณะทํางานภาคพลเมืองชาวเชียงคาน โดยมีการกลันกรองคุณสมบัติจาก ความศรั ทธา น่ าเชื อถือ (การไม่มีส่ว นได้ส่ว นเสี ย ในผลประโยชน์ -การเมือง) และความเป็ นผูน ําที ้ สามารถประสานงานได้อย่างราบรื น มีประสิทธิภาพ มีความโปร่ งใส ซือสัตย์กบทุกฝ่ ายทุกชมรมทีมี ั อยู่ในชุ มชน และผลักดัน ให้มีก ารปฏิบัติ งานได้ผลอย่างจริ งจัง ต่ อเนื อง และสมําเสมอด้ว ยความ ปรองดอง สามัคคีของทุกฝ่ ายทีเกียวข้อง ) จัดตังคณะกรรมการทีปรึ กษาในการประเมินผลและตรวจสอบประสิทธิภาพและผลงานของ คณะทํางานข้างต้น ประกอบด้วยภาครัฐ ส่วนท้องถิน และภาคเอกชนทีมีความรู้ความสามารถและน่ า เคารพนับถือ จากทุก ฝ่ ายทีเกียวข้องโดยต้องไม่มีผลประโยชน์ส่วนตัว-การเมือง เข้ามาเกียวข้องโดย เด็ดขาด (มีบทลงโทษทีรุ นแรงและชัดเจน) 3) มีแผนพัฒนาต่อยอดชุดความคิดในการอนุ รักษ์มรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคานจากการ ระดมความคิดสู่รูปแบบการปฏิบติจริ ง โดยเริ มจากกลุ่มเล็ก ๆ แล้วค่อย ๆ พัฒนารู ปแบบให้น่าสนใจ ั อย่างต่ อเนื องโดยสมควรที จะต้องมีก ารสนับสนุ น จากผูเ้ ชี ยวชาญทังภายนอกและภายในท้องถิ น ตัว อย่างเช่ น การสร้ างสรรค์ฟื นฟูถนนสายวัฒ นธรรมที มีก ารตัก บาตรตอนเช้าแบบถูก ต้อ งตาม ขนบธรรมเนียมประเพณี มีการเตรี ยมพร้อมอย่างเป็ นระบบระเบียบทีเป็ นธรรมต่อนักท่องเทียวทังชาว ไทยและชาวต่างประเทศทีต้องการมีส่วนร่ วมต่อกิจกรรมทีแสดงออกทางวัฒนธรรมประเพณี เหล่านี
  • 15. โดยไม่เน้นการ “ขาย” เชิงพาณิ ชย์เป็ นตัวตัง แต่ส่งเสริ มเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมทีสวยงามอย่างมีคุณค่า ทางจิตวิญญาณเป็ นหลัก เพือสร้างความประทับใจต่อผูพบเห็นในระยะยาวได้อย่างยังยืน ้ 4) มีการวิจยพัฒนา “ผลิตภัณฑ์ชุมชน” ทีมีเอกลักษณ์ความเป็ นเชียงคาน โดยมีการออกแบบ ั อย่างหลากหลายรู ปแบบ เพือสามารถเพิมคุณค่าเชิงเศรษฐกิจจากมรดกทางวัฒนธรรมทีมีอยู่เป็ นการ เสริ มรายได้ให้กบชาวบ้านกลุ่มต่างๆ โดยเฉพาะผูเ้ ฒ่า แม่บาน และเยาวชน ให้เกิดความภาคภูมิใจ และ ั ้ มีจิ ตสํานึ ก ที ดีงามต่ อประวัติ ศาสตร์ ประเพณี วฒ นธรรมความเป็ นเชี ย งคานที มีสัจ ธรรมแห่ งความ ั เปลียนแปลงตามธรรมชาติของยุคสมัยจากอดีตสู่ปัจจุบน โดยเน้นยําให้เห็นถึงความสําคัญต่อวุฒิภาวะ ั ทางความคิด และจิตใจทีมีการสํานึกรู้กตัญ ูต่อแผ่นดินเกิดของเยาวชนคนรุ่ นใหม่ ซึงไม่จาเป็ นต้องไป ํ หางานทีในกรุ งเทพฯ หรื อเมืองใหญ่ๆ เสมอไป ถ้าเขาเหล่านันสามารถมาช่วยกันเสริ มสร้างความเป็ น เชียงคานให้มีความเข้มแข็งจาก “รากแก้ว” ด้วยเอกลักษณ์ความภาคภูมิใจในมรดกทางวัฒนธรรมของ ชุมชนตัวเอง อันจะนําไปสู่ความเจริ ญเติบโต ผลิดอกออกผลในทางเศรษฐกิจ ทีสร้างสรรค์ได้อย่าง ยังยืนต่อไปชัวลูกหลานทุกยุดทุกสมัย หากไม่ใช้ “เงิน” เป็ นตัวตังหรื อเป้ าหมายหลักเพียงด้านเดียว 5) มีแผนกิจกรรมด้านการพัฒนาศิลปวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ (Creative Cultural Arts) ทังใน ระดับท้องถิน ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ เพือให้เกิดการแลกเปลียนและต่อยอดทางความคิด ของงานศิลปวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ โดยนําศิลปิ นทีหลากหลายมาสู่ชุมชนเชียงคานอย่างต่อเนื อง เป็ นเทศกาล ประจําเดือน/ฤดู กาล หรื อประจําปี ให้เหมาะสมกับงานเทศกาล ในท้องถินเช่น ในช่ ว ง เทศกาลสงกรานต์ หรื อ ออกพรรษา งานประเพณี แห่เจ้าพ่อ โดยให้มีระยะยาวสอดคล้องกับช่วงเทศกาล ในแหล่งท่องเทียวทีสําคัญรอบๆ เช่น เทศกาลงานประเพณี บุญหลวงและการละเล่นผีตาโขน ทีอําเภอ ด่ า นซ้ายในช่ ว งเดื อ นมิ ถุน ายนหรื อกรกฎาคมของทุ ก ปี เป็ นต้น นอกจากนี อาจมีก ารจัด “ลาน ศิลปวัฒนธรรม” แสดงการละเล่นพืนเมือง เล่าเรื องราวของตํานานเมืองเชียงคานแบบน่าสนใจจากผูเ้ ฒ่า สู่เยาวชน หรื อแม้กระทังการจัดเทศกาล “ลานคนเดิน” เพลิน ๆ แบบเชียงคานทีมีการคัดสรรงานศิลปะ สร้างสรรค์ทีหลากหลายเฉพาะทีผลิตโดยคนเชียงคานเท่านัน ตัวอย่างเช่น ผ้านวมเชียงคานทีมีกลิน หอมเป็ นเอกลักษณ์ควรมีการพัฒนางานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Development and Brand Making) ให้เกิ ดความหลากหลายและเหมาะสมกับผูใช้สอยทีจะนําไปใช้หรื อซื อเป็ นของทีระลึกที มี ้ ความโดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะถินอย่างแท้จริ ง 6) มีการพัฒนาแผนให้เกิดเครื อข่ายเป็ นยุทธศาสตร์การท่องเทียวเชิงอนุรักษ์ ระดับตําบล ระดับ อําเภอ และระดับจังหวัด โดยส่งเสริ มการอนุรักษ์แบบยังยืน ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต การบริ การ ความ ปลอดภัย แบบมีสานึกร่ วมกันทุกภาคส่วน ํ
  • 16. บทสรุป แม้ว่าเทศบาลตําบลเชียงคานจะมีการประชาสัมพันธ์ให้เมืองเชียงคานเป็ นเมืองโบราณริ มแม่นา ํ โขง ทีมีกิจกรรมให้นกท่องเทียวทํามากมาย แต่ก็ยงไม่มีการจัดทําเป็ นแผนทีการท่องเทียวทีเชือมโยงสิ ง ั ั ทีเป็ นอัตลักษณ์ของเชียงคานเพือให้นกท่องเทียวได้ไปสัมผัสได้อย่างเป็ นรู ปธรรมอย่างชัดเจน และยัง ั เป็ นเรื องทีควรมีการค้นหาต่อไปว่าในมุมมองของชาวบ้านชาวเชียงคานนัน อยากจะนําเสนอสิ งใดที เป็ นมรดกวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคานทีแท้จริ งและควรให้ความสําคัญกับสิงเหล่านันเพียงใดทีแกนนํา ชาวบ้านช่วยกันระดมความคิดค้นหาว่าอะไรคือสิ งทีเป็ นมรดกวัฒนธรรม ความเป็ นเชียงคาน ทีควรดูแล รักษาไว้ กําเนิ ดเชียงคานโมเดลนัน เกิ ดจากการมีส่วนร่ วมของภาคประชาชน ทีลุกขึ นมาต่อสู้กบการ ั ผูกขาดอํานาจรัฐ ของฝ่ ายปกครอง ฝ่ ายบริ หารทีคิดทํา หรื อสังการอะไร ล้วนแต่อางถึงการกินดีอยู่ดี ้ ของประชาชนเสมอ พอหมดงบประมาณ หมดกระแส ก็ปล่อยทิงเป็ นโครงการร้างให้เป็ นปัญหาชุมชน แก้ไขเอาเอง ซึงเป็ นการพัฒนาทีล่มสลายโดยสินเชิง กําเนิดเชียงคานโมเดลต้องเกิดจากจิตใต้สานึกของ ํ คนเชีย งคาน คนเชีย งคานต้องค้น หาตัว เอง ค้น หาอัต ลัก ษณ์ ความเป็ นตัว ตนของคนเชี ยงคาน เพือ ลูกหลาน และเพือชุมชนทีเข้มแข็งทียังยืนอยูคู่ชาวเชียงคานต่อไป ่ “เชียงคานชายเคียงเรี ยงริ มโขง ค้ อมโค้ งโยงใจให้ คิดถึง สงบงามนําใจไมตรี ตรึ ง คือหนึงรั ตนมณี ...ศรี เชียงคาน” เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปิ นแห่งชาติ และนักเขียนรางวัลซี ไรต์ ประพันธ์ เอกสารอ้างอิง กรมศิลปากร, วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัตศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมปัญญา จังหวัดเลย. ิ ิ กรมศิลปากร. 2544. กระทรวงอุตสาหกรรม. 100 ปี กรมทรัพย์ฯ กระทรวงอุตสาหกรรม ; มกราคม 2535. รวี หาญเผชิญ และคณะ, การค้นหามรดกทางวัฒนธรรมความเป็ นเชียงคาน. สถาบันวิจยและพัฒนา ั มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มิถุนายน 2553.
  • 17. ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์. กระบวนการเสริมสร้ างชุมชนเข้ มแข็งประชาคม ประชาสังคม. พิมพ์ครัง ที 4 .พิมพ์ลกษณ์ [ขอนแก่น] : ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาค ั ตะวันออกเฉียงเหนือ, เครื อข่ายประชาคมสุขภาพในท้องถิน. 2543. อคิ น รพีพฒ น์ . การมีส่วนร่ วมของชุ มชนในการพัฒ นาชนบทในสภาพสั ง คมและวัฒ นธรรมไทย. ั กรุ งเทพมหานคร : ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล, .