SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
ใบความรู
                              พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce)

         พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) หมายถึง การดําเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่
เกี่ยวของกับการซื้อขายสินคาและบริการผานคอมพิวเตอร และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือสื่อ
อิเล็กทรอนิกส (http://www.depthai.go.th/th/newDep/eco_basic.shtml#go01)
         หรื อ การดํ า เนิน ธุ รกิ จ การค า หรื อ การซื้ อ ขายบนระบบเครื อข า ยอิน เทอรเ นต โดยผูซื้ อ
  (Customer) สามารถดําเนินการ เลือกสินคาคํานวณเงิน ตัดสินใจซื้อสินคา โดยใชวงเงินในบัตร
  เครดิตไดโดยอัตโนมัติ ผูขาย (Business)สามารถนําเสนอสินคา ตรวจสอบวงเงินบัตรเครดิต
  ของลูกคา รับเงินชําระคาสินคา ตัดสินคาจากคลังสินคา และประสานงานไปยังผูจัดสงสินคาโดย
  อัตโนมัติ กระบวนการดังกลาวจะดําเนินการเสร็จสิ้นบนระบบเครือขาย
 (http://www.thaiwbi.com/topic/E-Ecommerce/)
         รูปแบบการทําธุรกิจ
         รูปแบบการทําธุรกิจแบบ E-Commerceแบงออกเปน 4 ประเภทคือ

             1. ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business : B2B) หมายถึงธุรกิจที่มุงเนนการ
                ใหบริการแกผูประกอบการดวยกัน โดยอาจเปนผูประกอบการในระดับเดียวกัน
                หรือตางระดับกันก็ได อาทิ ผูผลิตกับผูผลิต ผูผลิตกับผูสงออก ผูผลิตกับผูนําเขา
                ผูผลิตกับผูคาสงและคาปลีก เปนตน
             2. ธุรกิจกับผูบริโภค (Business to Consumer : B2C) หมายถึงธุรกิจที่มุงเนนการ
                บริการกับลูกคาหรือผูบริโภค อาทิ การขายสินคาอุปโภคบริโภค
             3. ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government : B2G) หมายถึงธุรกิจการบริหาร
                การคาของประเทศ เพื่อเนนการบริหารการจัดการที่ดีของรัฐบาล
             4. ผูบริโภคกับผูบริโภค (Consumer to Consumer : C2C) หมายถึงธุรกิจระหวาง
                ผูบริโภคกับผูบริโภค ซึ่งเปนการคารายยอย อาทิ การขายของเกาใหกับบุคคล
                อื่นๆ ผานทางอินเตอรเน็ต

             ความสัมพันธของระบบการคาอิเล็กทรอนิคส E-Commerce

       การดํ า เนิ น การธุ รกิ จ การค า บนอิ น เทอร เ นตหรื อ E-Commerce    จํ า เป น จะต องมี
ความสัมพันธกับผูที่เกี่ยวของ โดยมีการประสานงานกันอยางมีประสิทธิภาพ ผูที่เกี่ยวของในระบบ
การคาบนอินเทอรเนตหรือ E-Commerce มีดังนี้
1.ธนาคาร (Bank) ทําหนาที่เปน Payment Gateway คือตรวจสอบ และอนุมัติวงเงินของ
ผูถือบัตร เมื่อมีการสั่งซื้อสินคา และ/หรือบริการ ทาง Internetผานระบบของธนาคาร และธนาคาร
จะโอนเงินคาสินคา และหรือบริการนั้น ๆ เขาบัญชีของรานคา สมาชิก

        2. TPSP (Transaction processing service provider) คือองคกรผูบริหาร และพัฒนา
โปรแกรม การประมวลผลการชําระคาสินคา และ/หรือบริการ ผาน Internet ใหกับรานคา หรือ ISP
ตาง ๆ ผาน Gateway โดย TPSPสามารถตอเชื่อมระบบใหกับทุก ๆ รานคาหรือทุก ๆ ISP และทํา
การ Internet ระบบชําระเงินผาน Gateway ของธนาคาร

        3.ลูกคา (Customer) สามารถชําระคาสินคา และ/หรือบริการไดดวย บัตรเครดิต บัตร
เครดิตวีซา หรือมาสเตอรการดจากทุกสถาบันการเงินทั่วโลก ระบบหักบัญชีเงินฝากของธนาคาร
(Direct Debit)

         4. รานคา (Merchant)ที่ตองการขายสินคาและ/หรือบริการผานระบบ Internet โดยเปด
Home Page บนSite ของตนเอง หรือ ฝาก Home Pageไวกับ Web Site หรือ Virtual Mall ตาง
ๆ เพื่อขายสินคาและหรือบริการผานระบบของธนาคาร รานคาจะตองเปดบัญชีและสมัครเปน
รานคาสมาชิก E-Commerceกับธนาคารกอน

        5. ISP (Internet service provider) องคกรผูใหบริการเชื่อมตอระบบการสื่อสารทาง
Internet ใหกับลูกคา ซึ่งอาจเปนรานคาหรือผูใช Internet ทั่วไป โดย ISP รับและจดทะเบียน
Domain หรือ จะจัดตั้ง Virtual Mall เพื่อใหรานคานํา Home Pageมาฝากเพื่อขายสินคา
ภาพที่3.1 ความสัมพันธของระบบการคาอิเล็กทรอนิคส E-Commerce

  ความสําคัญของการทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

  1. ลดคาใชจายในการขายและบริหาร รวมทังคาเชาพื้นที่ขายหรือการลงทุนในการ
                                                   ้
      สรางราน ซึ่งจะชวยใหตนทุนของธุรกิจต่าลง
                                              ํ
  2. ประหยัดเวลาและขั้นตอนทางการตลาด
  3. เปดใหบริการ 24 ชั่วโมง และใหบริการไดทั่วโลก
  4. มีชองทางการจัดจําหนายมากขึ้นทั้งในประเทศและตางประเทศ
  5. สามารถทํากําไรไดมากกวาระบบการขายแบบเดิม เนื่องจากตนทุนการผลิตและ
      การจําหนายต่ากวา ทําใหไดกาไรจากการขายตอหนวยเพิ่มขึ้น
                     ํ               ํ
  6. สามารถนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับสินคาไดเปนจํานวนมาก และสามารถสือสารกับ   ่
      ลูกคาไดในลักษณะ Interactive Market
  7. ปรับปรุงหรือ Update ขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการไดตลอดเวลา
  8. สามารถเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผูซื้อหรือลูกคา อาทิ ชื่อ ที่อยู พฤติกรรม การ
      บริโภค สินคาที่ตองการ เพือนําไปเปนขอมูลในการทําวิจัยและวางแผนการตลาด
                                 ่
      เพื่อผลิตสินคาและบริการทีตรงกับความตองการของตลาดมากขึน
                                   ่                                    ้
  9. สรางภาพลักษณท่ดีใหกบธุรกิจหรือองคกร ในเรื่องของความทันสมัยและเปน
                         ี     ั
      โอกาสที่จะทําใหสินคาหรือบริการเปนที่รจักของคนทั่วโลก
                                                ู
  10. สามารถเจาะกลุมเปาหมายที่ตองการไดเร็วและเสียเวลานอย
ขอดีของการทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

             1.   สามารถเขาหาลูกคาไดโดยตรง เสียคาใชจายต่ํา เนื่องจากตองผานคนกลาง
             2.   สามารถขายสินคาในราคาทีตําลง เนื่องจากตนทุนต่ําลง
                                              ่ ่
             3.   ทําใหสามารถขยายตลาดไดกวางและเร็วขึน       ้
             4.   เหมาะสําหรับธุรกิจที่เปนสินคาที่ใชเครื่องหมายการคาใหมหรือยังไมเปนที่รูจก
                                                                                                 ั
                  ทั่วไป

            ขอจํากัดในการใชพาณิชย อิเล็กทรอนิกส
           1. ความไมปลอดภัยของขอมูล ขาดการตรวจสอบการใชบตรเครดิตบนอินเตอรเน็ต ขอมูล
                                                                      ั
 บนบัตรเครดิตอาจถูกดักฟงหรืออาน เพื่อเอาชื่อและหมายเลขบัตรเครดิตไปใชโดยที่เจาของบัตร
 เครดิตไมรูได การสงขอมูลจึงตองมรการพัฒนาวิธีการเขารหัสที่ซับซอนหลายขั้นตอน เพื่อให
 ขอมูลของลูกคาไดรับความปลอดภัยสูงสุด
           2. ประเทศไทยยังไมมีธนาคารพาณิชยที่จะทําหนาที่รับประกันความเสี่ยง สําหรับการ
 ชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ในปจจุบันการชําระเงินยังตองผานธนาคารที่เปนของตางประเทศ
           3. ปญหาความยากจน ความดอยโอกาสและขาดความรูทางเทคโนโลยี รวมทั้งขาด
 เครือขายการสื่อสาร เชน ระบบเคเบิล ระบบโทรศัพทที่มีประสิทธิภาพ ทําใหไมสามารถใหบริการ
 ไดอยางทั่วถึง จึงทําใหชนบทที่หางไกลไมสามารถเขาถึงและใชบริการอินเตอรเน็ตได
           4. พาณิชย อิเล็กทรอนิกส ยังมีประเด็นเชิงนโยบายที่ทําใหรัฐบาลตองเขามากําหนด
 มาตรการ เพื่อใหความคุมครองกับผูซื้อและผูขาย ขณะเดียวกันมาตรการมนเรื่องระเบียบที่จะ
 กําหนดขึ้นตองไมขัดขวางการพัฒนาเทคโนโลยี
 5. ผูซื้อไมมั่นใจเรื่องการเก็บรักษาความลับทางธุรกิจ ขอมูลสวนบุคคลเชน ไมมั่นใจวาจะมีผูนํา
 หมายเลขบัตรเครดิตไปใชประโยชนในทางที่มิชอบหรือไม
           6. ผูขายไมม่ันใจวาลูกคามีตัวตนอยูจริง จะเปนบุคคลเดี่ยวกับที่แจงสั่งซื้อสินคาหรือไมมี
 ความสามารถในการที่จะจายสินคาและบริการหรือไม และไมมั่นใจวาการทําสัญญาซื้อขายผาน
 ระบบ อินเตอรเน็ตจะมีผลถูกตองตามกฎหมายหรือไม
           7. ดานรัฐบาล ในกรณีที่ผูซื้อและผูขายอยูคนละประเทศกันจะใชกฎหมายของประเทศใด
เปนหลัก หากมีการกระทําผิดกฎหมายในการการกระทําการซื้อขายลักษณะนี้ ความยากลําบาก
ในการติดตามการซื้อขายทางอินเตอรเน็ต อาจทําใหรัฐบาลประสบปญหาในการเรียกเก็บภาษีเงิน
ไดและภาษีศุลกากร การที่การพาณิชย อิเล็กทรอนิกส กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม
ในการดําเนินธุรกิจ พฤติกรรมของผูบริโภค และการปฏิบัติงานของภาครัฐบาล ทําใหรัฐบาลอาจ
เขามากําหนดมาตรการเพื่อคุมครองผูบริโภคและผูขายที่ใชบริการพาณิชย อิเล็กทรอนิกส รวมทั้ง
ใหความสนใจในการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาปจจัยที่จะเพิ่มความสะดวกทางดานโทรคมนาคม
สื่อสาร
        8.ขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสสามารถทําสําเนาหรือดัดแปลงหรือสรางขึ้นใหมไดงายกวา
 เอกสารที่เปนกระดาษ จึงตองจัดการระบบการรักษาความปลอดภัยในการอางสิทธิใหดีพอ
        9. การพาณิชย อิเล็กทรอนิกส ไมไดเปนเพียงเรื่องของเทคโนโลยีเทานั้น แตขึ้นอยูกับการ
จัดการทางธุรกิจที่ดีดวย การนําระบบนี้มาใชจึงไมสมควรทําตามกระแสนิยม เพราะถาลงทุนไป
แลวไมสามารถใหบริการที่ดีกับลูกคาได ยอมเกิดผลเสียตอบริษัท
        10. ปญหาที่เกิดกับงานดานกฎหมายและลายเซ็น ประเทศไทยยังไมมีกฎหมายเฉพาะที่
 จะกํากับดูแลการทํานิติกรรม การทําการซื้อขายผานทางการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส

ที่มา : pcoc.moc.go.th/pcocsys/uploadfile/50/doc/Word_2สารบัญ.doc

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados (8)

Unit 3
Unit 3Unit 3
Unit 3
 
Digital Wallet & ECD
Digital Wallet & ECDDigital Wallet & ECD
Digital Wallet & ECD
 
บทที่12ecomerce
บทที่12ecomerceบทที่12ecomerce
บทที่12ecomerce
 
S8 Digital wallet and ECD
S8 Digital wallet and ECDS8 Digital wallet and ECD
S8 Digital wallet and ECD
 
Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
 
E Commerce Model
E Commerce ModelE Commerce Model
E Commerce Model
 
onet-Work4-04
onet-Work4-04onet-Work4-04
onet-Work4-04
 
Ch06 e-supply-chains
Ch06 e-supply-chainsCh06 e-supply-chains
Ch06 e-supply-chains
 

Semelhante a Ec 15

การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการnoopalm
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์School
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Khonkaen University
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetRachabodin Suwannakanthi
 
consumer behaviour
consumer behaviourconsumer behaviour
consumer behaviourdaruneejim
 
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซTeetut Tresirichod
 
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยการเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยAttaporn Ninsuwan
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketingAew Zhiitzu
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัยMeaw Sukee
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
Retailing in electronic commerce products and services
Retailing in electronic commerce products and servicesRetailing in electronic commerce products and services
Retailing in electronic commerce products and servicestumetr1
 
อีคอมเมิร์ซ หรือ E
อีคอมเมิร์ซ หรือ Eอีคอมเมิร์ซ หรือ E
อีคอมเมิร์ซ หรือ ENattakan Deesawat
 

Semelhante a Ec 15 (20)

การซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการการซื้อขายสินค้าและบริการ
การซื้อขายสินค้าและบริการ
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
consumer behaviour
consumer behaviourconsumer behaviour
consumer behaviour
 
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซบทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
บทที่ 9 ระบบการชำระเงินในอีคอมเมิร์ซ
 
Work3-35
Work3-35Work3-35
Work3-35
 
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทยการเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
การเข้าถึง E government ของประชาชนไทย
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketing
 
E commerce
E commerceE commerce
E commerce
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
 
Ecommerce start
Ecommerce startEcommerce start
Ecommerce start
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
Retailing in electronic commerce products and services
Retailing in electronic commerce products and servicesRetailing in electronic commerce products and services
Retailing in electronic commerce products and services
 
Electronic paymentsystem
Electronic paymentsystemElectronic paymentsystem
Electronic paymentsystem
 
work3-02
work3-02work3-02
work3-02
 
อีคอมเมิร์ซ หรือ E
อีคอมเมิร์ซ หรือ Eอีคอมเมิร์ซ หรือ E
อีคอมเมิร์ซ หรือ E
 
M commerce (power point)
M commerce (power point)M commerce (power point)
M commerce (power point)
 

Mais de paween

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีpaween
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสีpaween
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16paween
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2paween
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7paween
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2paween
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3paween
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5paween
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtypepaween
 
bit byte
bit bytebit byte
bit bytepaween
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqpaween
 

Mais de paween (19)

ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
 
โหมดสี
โหมดสีโหมดสี
โหมดสี
 
Tvirus 16
Tvirus 16Tvirus 16
Tvirus 16
 
Thistory 2
Thistory 2Thistory 2
Thistory 2
 
Software 7
Software 7Software 7
Software 7
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Developcom 3
Developcom 3Developcom 3
Developcom 3
 
Com sys 5
Com sys 5Com sys 5
Com sys 5
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
Comtype
ComtypeComtype
Comtype
 
bit byte
bit bytebit byte
bit byte
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
ทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utqทำไมครูต้อง Utq
ทำไมครูต้อง Utq
 

Ec 15

  • 1. ใบความรู พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) พาณิชยอิเล็กทรอนิกส (E-Commerce) หมายถึง การดําเนินธุรกิจทุกรูปแบบที่ เกี่ยวของกับการซื้อขายสินคาและบริการผานคอมพิวเตอร และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือสื่อ อิเล็กทรอนิกส (http://www.depthai.go.th/th/newDep/eco_basic.shtml#go01) หรื อ การดํ า เนิน ธุ รกิ จ การค า หรื อ การซื้ อ ขายบนระบบเครื อข า ยอิน เทอรเ นต โดยผูซื้ อ (Customer) สามารถดําเนินการ เลือกสินคาคํานวณเงิน ตัดสินใจซื้อสินคา โดยใชวงเงินในบัตร เครดิตไดโดยอัตโนมัติ ผูขาย (Business)สามารถนําเสนอสินคา ตรวจสอบวงเงินบัตรเครดิต ของลูกคา รับเงินชําระคาสินคา ตัดสินคาจากคลังสินคา และประสานงานไปยังผูจัดสงสินคาโดย อัตโนมัติ กระบวนการดังกลาวจะดําเนินการเสร็จสิ้นบนระบบเครือขาย (http://www.thaiwbi.com/topic/E-Ecommerce/) รูปแบบการทําธุรกิจ รูปแบบการทําธุรกิจแบบ E-Commerceแบงออกเปน 4 ประเภทคือ 1. ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business : B2B) หมายถึงธุรกิจที่มุงเนนการ ใหบริการแกผูประกอบการดวยกัน โดยอาจเปนผูประกอบการในระดับเดียวกัน หรือตางระดับกันก็ได อาทิ ผูผลิตกับผูผลิต ผูผลิตกับผูสงออก ผูผลิตกับผูนําเขา ผูผลิตกับผูคาสงและคาปลีก เปนตน 2. ธุรกิจกับผูบริโภค (Business to Consumer : B2C) หมายถึงธุรกิจที่มุงเนนการ บริการกับลูกคาหรือผูบริโภค อาทิ การขายสินคาอุปโภคบริโภค 3. ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government : B2G) หมายถึงธุรกิจการบริหาร การคาของประเทศ เพื่อเนนการบริหารการจัดการที่ดีของรัฐบาล 4. ผูบริโภคกับผูบริโภค (Consumer to Consumer : C2C) หมายถึงธุรกิจระหวาง ผูบริโภคกับผูบริโภค ซึ่งเปนการคารายยอย อาทิ การขายของเกาใหกับบุคคล อื่นๆ ผานทางอินเตอรเน็ต ความสัมพันธของระบบการคาอิเล็กทรอนิคส E-Commerce การดํ า เนิ น การธุ รกิ จ การค า บนอิ น เทอร เ นตหรื อ E-Commerce จํ า เป น จะต องมี ความสัมพันธกับผูที่เกี่ยวของ โดยมีการประสานงานกันอยางมีประสิทธิภาพ ผูที่เกี่ยวของในระบบ การคาบนอินเทอรเนตหรือ E-Commerce มีดังนี้
  • 2. 1.ธนาคาร (Bank) ทําหนาที่เปน Payment Gateway คือตรวจสอบ และอนุมัติวงเงินของ ผูถือบัตร เมื่อมีการสั่งซื้อสินคา และ/หรือบริการ ทาง Internetผานระบบของธนาคาร และธนาคาร จะโอนเงินคาสินคา และหรือบริการนั้น ๆ เขาบัญชีของรานคา สมาชิก 2. TPSP (Transaction processing service provider) คือองคกรผูบริหาร และพัฒนา โปรแกรม การประมวลผลการชําระคาสินคา และ/หรือบริการ ผาน Internet ใหกับรานคา หรือ ISP ตาง ๆ ผาน Gateway โดย TPSPสามารถตอเชื่อมระบบใหกับทุก ๆ รานคาหรือทุก ๆ ISP และทํา การ Internet ระบบชําระเงินผาน Gateway ของธนาคาร 3.ลูกคา (Customer) สามารถชําระคาสินคา และ/หรือบริการไดดวย บัตรเครดิต บัตร เครดิตวีซา หรือมาสเตอรการดจากทุกสถาบันการเงินทั่วโลก ระบบหักบัญชีเงินฝากของธนาคาร (Direct Debit) 4. รานคา (Merchant)ที่ตองการขายสินคาและ/หรือบริการผานระบบ Internet โดยเปด Home Page บนSite ของตนเอง หรือ ฝาก Home Pageไวกับ Web Site หรือ Virtual Mall ตาง ๆ เพื่อขายสินคาและหรือบริการผานระบบของธนาคาร รานคาจะตองเปดบัญชีและสมัครเปน รานคาสมาชิก E-Commerceกับธนาคารกอน 5. ISP (Internet service provider) องคกรผูใหบริการเชื่อมตอระบบการสื่อสารทาง Internet ใหกับลูกคา ซึ่งอาจเปนรานคาหรือผูใช Internet ทั่วไป โดย ISP รับและจดทะเบียน Domain หรือ จะจัดตั้ง Virtual Mall เพื่อใหรานคานํา Home Pageมาฝากเพื่อขายสินคา
  • 3. ภาพที่3.1 ความสัมพันธของระบบการคาอิเล็กทรอนิคส E-Commerce ความสําคัญของการทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกส 1. ลดคาใชจายในการขายและบริหาร รวมทังคาเชาพื้นที่ขายหรือการลงทุนในการ ้ สรางราน ซึ่งจะชวยใหตนทุนของธุรกิจต่าลง ํ 2. ประหยัดเวลาและขั้นตอนทางการตลาด 3. เปดใหบริการ 24 ชั่วโมง และใหบริการไดทั่วโลก 4. มีชองทางการจัดจําหนายมากขึ้นทั้งในประเทศและตางประเทศ 5. สามารถทํากําไรไดมากกวาระบบการขายแบบเดิม เนื่องจากตนทุนการผลิตและ การจําหนายต่ากวา ทําใหไดกาไรจากการขายตอหนวยเพิ่มขึ้น ํ ํ 6. สามารถนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับสินคาไดเปนจํานวนมาก และสามารถสือสารกับ ่ ลูกคาไดในลักษณะ Interactive Market 7. ปรับปรุงหรือ Update ขอมูลเกี่ยวกับสินคาและบริการไดตลอดเวลา 8. สามารถเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผูซื้อหรือลูกคา อาทิ ชื่อ ที่อยู พฤติกรรม การ บริโภค สินคาที่ตองการ เพือนําไปเปนขอมูลในการทําวิจัยและวางแผนการตลาด ่ เพื่อผลิตสินคาและบริการทีตรงกับความตองการของตลาดมากขึน ่ ้ 9. สรางภาพลักษณท่ดีใหกบธุรกิจหรือองคกร ในเรื่องของความทันสมัยและเปน ี ั โอกาสที่จะทําใหสินคาหรือบริการเปนที่รจักของคนทั่วโลก ู 10. สามารถเจาะกลุมเปาหมายที่ตองการไดเร็วและเสียเวลานอย
  • 4. ขอดีของการทําพาณิชยอิเล็กทรอนิกส 1. สามารถเขาหาลูกคาไดโดยตรง เสียคาใชจายต่ํา เนื่องจากตองผานคนกลาง 2. สามารถขายสินคาในราคาทีตําลง เนื่องจากตนทุนต่ําลง ่ ่ 3. ทําใหสามารถขยายตลาดไดกวางและเร็วขึน ้ 4. เหมาะสําหรับธุรกิจที่เปนสินคาที่ใชเครื่องหมายการคาใหมหรือยังไมเปนที่รูจก ั ทั่วไป ขอจํากัดในการใชพาณิชย อิเล็กทรอนิกส 1. ความไมปลอดภัยของขอมูล ขาดการตรวจสอบการใชบตรเครดิตบนอินเตอรเน็ต ขอมูล ั บนบัตรเครดิตอาจถูกดักฟงหรืออาน เพื่อเอาชื่อและหมายเลขบัตรเครดิตไปใชโดยที่เจาของบัตร เครดิตไมรูได การสงขอมูลจึงตองมรการพัฒนาวิธีการเขารหัสที่ซับซอนหลายขั้นตอน เพื่อให ขอมูลของลูกคาไดรับความปลอดภัยสูงสุด 2. ประเทศไทยยังไมมีธนาคารพาณิชยที่จะทําหนาที่รับประกันความเสี่ยง สําหรับการ ชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส ในปจจุบันการชําระเงินยังตองผานธนาคารที่เปนของตางประเทศ 3. ปญหาความยากจน ความดอยโอกาสและขาดความรูทางเทคโนโลยี รวมทั้งขาด เครือขายการสื่อสาร เชน ระบบเคเบิล ระบบโทรศัพทที่มีประสิทธิภาพ ทําใหไมสามารถใหบริการ ไดอยางทั่วถึง จึงทําใหชนบทที่หางไกลไมสามารถเขาถึงและใชบริการอินเตอรเน็ตได 4. พาณิชย อิเล็กทรอนิกส ยังมีประเด็นเชิงนโยบายที่ทําใหรัฐบาลตองเขามากําหนด มาตรการ เพื่อใหความคุมครองกับผูซื้อและผูขาย ขณะเดียวกันมาตรการมนเรื่องระเบียบที่จะ กําหนดขึ้นตองไมขัดขวางการพัฒนาเทคโนโลยี 5. ผูซื้อไมมั่นใจเรื่องการเก็บรักษาความลับทางธุรกิจ ขอมูลสวนบุคคลเชน ไมมั่นใจวาจะมีผูนํา หมายเลขบัตรเครดิตไปใชประโยชนในทางที่มิชอบหรือไม 6. ผูขายไมม่ันใจวาลูกคามีตัวตนอยูจริง จะเปนบุคคลเดี่ยวกับที่แจงสั่งซื้อสินคาหรือไมมี ความสามารถในการที่จะจายสินคาและบริการหรือไม และไมมั่นใจวาการทําสัญญาซื้อขายผาน ระบบ อินเตอรเน็ตจะมีผลถูกตองตามกฎหมายหรือไม 7. ดานรัฐบาล ในกรณีที่ผูซื้อและผูขายอยูคนละประเทศกันจะใชกฎหมายของประเทศใด เปนหลัก หากมีการกระทําผิดกฎหมายในการการกระทําการซื้อขายลักษณะนี้ ความยากลําบาก ในการติดตามการซื้อขายทางอินเตอรเน็ต อาจทําใหรัฐบาลประสบปญหาในการเรียกเก็บภาษีเงิน ไดและภาษีศุลกากร การที่การพาณิชย อิเล็กทรอนิกส กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอม ในการดําเนินธุรกิจ พฤติกรรมของผูบริโภค และการปฏิบัติงานของภาครัฐบาล ทําใหรัฐบาลอาจ เขามากําหนดมาตรการเพื่อคุมครองผูบริโภคและผูขายที่ใชบริการพาณิชย อิเล็กทรอนิกส รวมทั้ง
  • 5. ใหความสนใจในการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาปจจัยที่จะเพิ่มความสะดวกทางดานโทรคมนาคม สื่อสาร 8.ขอมูลทางอิเล็กทรอนิกสสามารถทําสําเนาหรือดัดแปลงหรือสรางขึ้นใหมไดงายกวา เอกสารที่เปนกระดาษ จึงตองจัดการระบบการรักษาความปลอดภัยในการอางสิทธิใหดีพอ 9. การพาณิชย อิเล็กทรอนิกส ไมไดเปนเพียงเรื่องของเทคโนโลยีเทานั้น แตขึ้นอยูกับการ จัดการทางธุรกิจที่ดีดวย การนําระบบนี้มาใชจึงไมสมควรทําตามกระแสนิยม เพราะถาลงทุนไป แลวไมสามารถใหบริการที่ดีกับลูกคาได ยอมเกิดผลเสียตอบริษัท 10. ปญหาที่เกิดกับงานดานกฎหมายและลายเซ็น ประเทศไทยยังไมมีกฎหมายเฉพาะที่ จะกํากับดูแลการทํานิติกรรม การทําการซื้อขายผานทางการพาณิชยอิเล็กทรอนิกส ที่มา : pcoc.moc.go.th/pcocsys/uploadfile/50/doc/Word_2สารบัญ.doc