SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
คู่มือการจัดสอบ




      การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 255๕




               สานักทดสอบทางการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
            การพัฒนาในโลกปัจจุบันให้ความสาคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ไม่เว้นแม้แต่ประเทศ
ไทย ดังจะเห็นได้จากกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561) ที่กาหนดให้
มีการพัฒนา 4 ประการ คือ การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาสถานศึกษา
และแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ รวมถึงพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการยุคใหม่ ในส่วนของการพัฒนาคุณภาพคนไทย
นั้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ยึดห่วงโซ่คุณภาพเป็นหลัก กล่าวคือ พัฒนาหลักสูตร การ
จัดการเรียนรู้ และการวัดประเมินผล ให้สัมพันธ์สอดรับกัน ดังนั้น ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้รับ
การวางรากฐานให้มีความรู้ความสามารถและมีทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่
สอดรับกับกรอบแนวทางการปฏิรูปดังกล่าว และมีการประเมินคุณภาพผู้เรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่ง
เป็ น ช่ ว งชั้ น แรกและเป็ น ช่ ว งเวลาที่ ส าคั ญ ในการวางพื้ น ฐานที่ จ าเป็ น ตามหลั ก สู ต ร ว่ า ผู้ เ รี ย นมี ค วามรู้
ความสามารถและทักษะตามที่หลักสูตรกาหนดหรือไม่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสานัก
ทดสอบทางการศึกษารับผิดชอบการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียนในระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 3 มาอย่ างต่อเนื่ อง โดยได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาทุกเขต ผลจากการประเมิน ถูกนาไปใช้ เป็นสารสนเทศประกอบการวางแผนพัฒ นาคุณภาพ
เด็กไทยตลอดมา อย่างไรก็ตาม ในปีการศึกษา 2555 นี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมี
นโยบายที่ จ ะประเมิ น ความสามารถพื้ น ฐานเบื้ อ งต้ น ส าคั ญ ที่ ใ ช้ ใ นการเรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย น 3 ด้ า น คื อ
ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ด้านคานวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล(Reasoning ability) ดังนั้น
เพื่อให้การดาเนินการประเมินได้มาตรฐาน ยุติธรรม น่าเชื่อถือ ตรวจสอบได้ และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ผล
การประเมินสามารถนาไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาความสามารถทั้ง 3 ด้านได้ตรงตามความสามารถที่แท้จริง ของ
นักเรียน ดังเช่นที่เคยปฏิบัติมาโดยตลอด สานักทดสอบทางการศึกษาจึงได้จัดทาคู่มือการจัดสอบ ตามโครงการ
ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา
2555 ฉบับนี้ขึ้น เพื่อให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้ร่วมกันพิจารณาถึงแนวทาง และรายละเอียดของการ
ดาเนินการประเมินตามคู่มือจัดสอบ ทั้งรูปแบบ แผนและวิธีการประเมิน ของส่วนกลาง และของสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา รวมทั้งแนวทางการขอร่วมโครงการ ฯ ของสังกัดอื่นที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
               สานักทดสอบทางการศึกษาขอขอบคุณสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาทุกเขตที่ให้
ความร่วมมืออย่างดียิ่งเสมอมา และหวังเป็นยิ่งว่าผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดาเนินประเมิน ครั้งนี้ จะสามารถ
ดาเนินการได้ตามแนวทางที่กาหนดทุกประการ เพื่อให้เป็น มาตรฐานเดียวกัน ผลการประเมินมีความเชื่อถือได้
และนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาได้อย่างถูกต้องตามความเป็นจริงต่อไป


                                                                                              สานักทดสอบทางการศึกษา
                                                                                                      มกราคม 2556




                                                             2
สารบัญ
                                                                 หน้า

1. เหตุผลและความสาคัญ                                              4
2. วัตถุประสงค์                                                    5
3. นิยาม/เครื่องมือการประเมิน                                      5
      ความสามารถด้านภาษา(Literacy)                                 5
      ความสามารถด้านคานวณ(Numeracy)                               10
      ความสามารถด้านเหตุผล(Reasoning ability)                     15
      ตารางสอบ                                                    19
4. แผนและวิธีการประเมิน                                           19
      การดาเนินงานในส่วนกลาง                                      20
      การดาเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา                 21
      แผนปฏิบัติงานระหว่างส่วนกลางกับเขตพื้นที่การศึกษา           23
      แนวปฏิบัติการจัดสอบ                                         24
      ตัวอย่างกระดาษคาตอบ                                         25
      การกรอก/ระบายรหัสบนกระดาษคาตอบ                              26
      แต่งตั้งศูนย์ประสานการสอบ สนามสอบ และกรรมการกากับห้องสอบ    27
      สังกัดอื่นประสงค์ร่วมโครงการ ฯ                              28
      การนาผลไปใช้                                                28

ภาคผนวก
    กลุ่มจังหวัดและจังหวัด (18 กลุ่มจังหวัด)                       31




                                         3
คู่มือการจัดสอบ
         การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพือการประกันคุณภาพผูเรียน
                                                  ่               ้
                      ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555
                   ความสามารถด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล

1.เหตุผลและความสาคัญ
             การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) กาหนดวิสัยทัศน์ ให้คนไทยได้เรียนรู้
ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ และเป้าหมาย ปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยเน้นประเด็นหลัก
สามประการ คือ 1) คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้
เพื่อพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อม หลักสูตรและเนื้อหา พัฒนาวิชาชีพครูให้เป็น
วิชาชีพที่มีคุณค่า สามารถดึงดูดคนเก่งดีและมีใจรัก มาเป็นครูคณาจารย์ได้อย่างยั่งยืน ภายใต้ระบบบริหารจัดการ
ที่มีประสิทธิภาพ 2) เพิ่มโอกาสการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่ว ถึงและมีคุณภาพ เพื่อให้ประชาชนทุกคน
ทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาค
ส่วนของสังคม ในการบริหารและจัดการศึกษา โดยเพิ่มบทบาทของผู้ที่อ ยู่ภายนอกระบบการศึกษาด้วย และ
ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการต่อคณะรัฐมนตรี “.....ให้สถาบันทดสอบทางการศึกษา
แห่งชาติและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดาเนินการประกันการเรียนรู้และรับรองมาตรฐาน
ผู้เรียน โดยประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในชั้ นเรียนสุดท้ายของแต่ละช่วงชั้นให้เป็นการวัดผลระดับชาติ
เพื่อให้สามารถใช้การวัดประเมินผลที่เป็นมาตรฐาน สามารถเทียบเคียงกันได้ เป็นกลไกในการประกันการ
เรียนรู้และรับรองมาตรฐานผู้เรียนแต่ละช่วงชั้น......”
              จากวิสัยทัศน์ เป้าหมายและข้อเสนอดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้
กาหนดจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ในด้านทักษะและความสามารถ คือ
ชั้น ป.1-3 นักเรีย นมีทักษะความสามารถในการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน
ป.4-6 อ่านคล่ อง เขีย นคล่ อง คิดเลขคล่ อง ทั กษะการคิดขั้นพื้นฐาน ม.1-3 แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ การเรี ย นรู้ มี ทั ก ษะการคิ ด ขั้ น สู ง ทั ก ษะชี วิ ต ม.4-6 แสวงหาความรู้ เ พื่ อ แก้ ปั ญ หา
ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ใช้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง รวมทั้งมีทักษะชีวิต
ทักษะการสื่ อสารตามช่ว งวัยในทุกช่ว งชั้น กอรบกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ที่ได้กาหนดให้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษา
เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล สารสนเทศที่ จ าเป็ น ในการพิ จ ารณาว่ า ผู้ เ รี ย นเกิ ด คุ ณ ภาพการเรี ย นรู้ ต ามผลการเรี ย นรู้
ของหลักสู ตร สะท้อนจุดเน้นการพัฒ นาผู้ เรียนหรือไม่ ซึ่งกาหนดให้มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน
4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ โดยมีเจตนารมณ์
เช่นเดียวกัน คือ ต้องการสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่ าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
ที่กาหนดได้มากน้อยเพียงใด การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 4 ระดับ จึงเป็นกิจกรรมที่สาคัญยิ่ง ที่จะ
สะท้อนถึงผลการจัดการศึกษา ช่วยให้ผู้เรียนได้รู้ถึงศักยภาพในสมรรถนะความสามารถ หรือผลสัมฤทธิ์ของ
ตนเองได้เป็นอย่างดี รู้ถึงสมรรถนะ ความสามารถ ตลอดจนศักยภาพที่ตนมี ว่าต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไข
หรือพัฒนาในเรื่องใด ที่จาเป็นสมควรได้รั บการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนา
ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ รวมทั้งยังมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข มีศักยภาพในการศึกษา
ต่อและประกอบอาชีพ
                                                             4
เป้ า หมายและตั ว บ่ ง ชี้ ก ารปฏิ รู ป การศึ ก ษาในทศวรรษที่ ส องของคณะกรรมการนโยบายปฏิ รู ป
การศึกษาในทศวรรษที่สอง (กนป.) เป้าหมายที่ 1 ให้คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน
ระดับสากล โดยมีตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนคือ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ในวิชาหลัก จากการทดสอบระดับชาติมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 50 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้าน
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น เป็นไม่ต่ากว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ (ผลทดสอบ PISA) 3) ความสามารถด้าน
ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี และจุดเน้นในการดาเนินงานของ สพฐ.ปี งบประมาณ 2556 คือนักเรียน
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น โดยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) เพิ่มขึ้นอย่างน้อย
ร้อยละ 3 (Student Achievement) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น
และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน
(Literacy Numeracy & Reasoning abilities) จากเป้าหมายตัวบ่งชี้ และจุดเน้นดังกล่าว การวัดและ
ประเมิน ผลการเรี ย นรู้ ของส านั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะประเมินเพื่อศึกษาและพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนให้เข้าสู่มาตรฐาน เพื่อเป็นหลักประกันการเรียนรู้ (Accountability) และเตรียมการให้ผู้เรียน
มีความพร้อมสาหรับรองรับการประเมิน ทั้งการทดสอบระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยจะมุ่งประเมินให้
ทัดเทียมกับนานาชาติเช่นการประเมินระดับนานาชาติ (PISA,TIMSS,…) ที่มีรูปแบบการประเมินที่หลากหลาย
มุ่งเน้นคุณภาพของนักเรียนโดยพิจารณาจากความสามารถพื้นฐานหลักที่จาเป็น ตอบสนองตามเป้าหมายของ
การปฏิรู ปในทศวรรษที่ส อง โดยปี การศึกษา 2555 นี้จะเริ่ม ประเมินความสามารถด้านภาษา(Literacy)
ด้านคานวณ(Numeracy) และด้านเหตุผล(Reasoning ability) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งถือเป็น
ความสามารถพื้นฐานเบื้องต้นสาคัญที่ใช้ในการเรียนรู้ ผลการประเมินที่ได้จะเป็นข้อมูลสาคัญที่สะท้อนคุณภาพ
การดาเนิ นงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เขตพื้นที่ การศึกษา และส านักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ที่จาเป็นต้องมีข้อมูลผลการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุง/พัฒนาในการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน และ
เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกาหนดนโยบาย
และการวางแผนในการพั ฒ นาคุณภาพการศึ กษาระดับสถานศึกษา ระดับ เขตพื้นที่ การศึกษา และระดั บ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
        ตามเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าว ในปีการศึกษา 2555 (งบประมาณปี 2556) สานักทดสอบทาง
การศึ กษา จึ ง ได้ ด าเนิ น โครงการประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ กษาขั้ นพื้ น ฐาน เพื่ อการประกั น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555
2. วัตถุประสงค์
       เพื่อประเมินความสามารถพื้นฐานที่จาเป็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในด้านภาษา(Literacy)
ด้านคานวณ(Numeracy) และด้านเหตุผล(Reasoning ability)




                                                       5
3. นิยาม / เครื่องมือการประเมิน


                                          ความสามารถด้านภาษา(Literacy)

        ความสามารถด้านภาษา (Literacy) หมายถึง ความสามารถในการอ่าน เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุป
สาระส าคั ญ จากเรื่ อ งที่ อ่ า น ประเมิ น ค่ า สิ่ ง ที่ อ่ า นจากสื่ อ ประเภทต่ า งๆ น าความรู้ แ ละข้ อ คิ ด ไปใช้ ใ น
ชีวิตประจาวัน สื่อสารเป็นภาษาพูดและภาษาเขียนได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาและอย่างมีวิจารณญาณและ
สร้างสรรค์
คาสาคัญ(Key characteristics)
           1. ความสามารถในการอ่าน หมายถึง พฤติกรรมการรู้ ความเข้าใจ การสรุปสาระสาคัญ
การวิเคราะห์ และการประเมินสิ่งที่ได้จากการอ่าน
           2. รู้ หมายถึง การบอกความหมาย เรื่องราว ข้อเท็จจริง และเหตุการณ์ต่างๆ
           3. เข้าใจ หมายถึง การแปลความ ตีความ ขยายความ และสรุปอ้างอิง
           4. สรุ ป สาระส าคั ญ หมายถึง การสรุป ใจความส าคั ญ ของเนื้ อเรื่อ งได้ อย่ างสั้ น ๆ กระชับ และ
ครอบคลุม
           5. วิเคราะห์ หมายถึง การแยกแยะเรื่องราว ข้อเท็จจริง เหตุผล ข้อคิดเห็น คุณค่า และส่วนประกอบ
อื่น ๆ
           6. ประเมินค่า หมายถึง การตัดสินความถูกต้อง ความชัดเจน ความเหมาะสม คุณค่า ตามเกณฑ์ที่
กาหนด
           7. สื่อประเภทต่างๆ หมายถึง สิ่งที่นาเสนอเรื่องราวและข้อมูลต่างๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน ทั้งที่
เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน นิทาน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลง บทร้อยกรอง
และสาระความรู้จากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ
           8. น าความรู้ และข้ อคิด ไปใช้ ใ นชีวิตประจาวัน หมายถึ ง การเลื อกนาความรู้ ความเข้าใจ
สาระสาคัญ ความคิด และข้อมูลที่ ได้จากการวิเคราะห์และประเมิน ค่า ไปใช้เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา
การตัดสินใจ หรือตามจุดมุ่งหมายอันเป็นประโยชน์ในการดาเนินชีวิต
           9. ภาษาพูด หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างไม่เป็นทางการ เป็นกันเองและสุภาพ เหมาะสมโดย
คานึงถึงฐานะของบุคคล
           10. ภาษาเขียน หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างเป็นทางการ โดยเลือกใช้คาที่เหมะสมกับบุคคล
สถานการณ์ และคานึงถึงความถูกต้องตามหลักภาษา
           11. สื่อสาร หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคิด จากการอ่าน โดยการบอกเล่า
หรือเขียน อธิบาย วิเคราะห์ หรือประเมินค่า
           12. สร้างสรรค์ หมายถึง การใช้ภาษาพูดหรืกภาษาเขียนจากการอ่า แสดงความรู้และความคิดใหม่
ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพที่สูงกว่าเดิม
           13. วิจารณญาณ หมายถึง การใช้ความรู้ ความคิด ทาความเข้าใจเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล โดย
อาศัยประสบการณ์ พิจารณา ตัดสินเรื่องที่อ่านด้วยความรอบคอบ



                                                           6
ระดับความสามารถชั้นปี
     ระดับชั้น                        ความสามารถ                                            คาสาคัญ
ประถมศึกษาปีที่ ๓ สามารถอธิบายความหมายจากเรื่องที่อ่าน                  1. อธิ บ ายความหมายจากเรื่ องที่ อ่ า น
                  ในสื่ อประเภทต่างๆ คาดคะเนเหตุการณ์                   หมายถึ ง ความสามารถในการขยาย
                  สรุ ป เรื่ อ งราว และข้อ คิดจากการอ่านเพื่ อ          เพิ่มเติมความรู้ หรือข้อคิดเห็นที่ได้จาก
                                                                        การอ่านเรื่องที่เหมาะกับระดับชั้นเรียน
                  น าไปใช้ในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์ และ
                                                                        และตามความสนใจของนักเรียน โดย
                  สื่ อ สารแสดงความคิ ด เห็ น ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง   การตอบคาถามด้วยการเขียนหรือด้วย
                  เหมาะสม และสร้างสรรค์                                 วิธีการสื่ อสารอื่นๆ ได้อย่างถูกต้องและ
                  ตัวชี้วัด                                             ชัดเจน
                  ๑. อธิบายความหมายจากเรื่องที่อ่าน                     2. สื่ อประเภทต่างๆ หมายถึง สิ่ งที่
                  ๒. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อาน                    นาเสนอเรื่องราวและข้อมูลต่างๆ ที่พบ
                  ๓. สรุปเรื่องราวและข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน             เห็ น ในชี วิ ต ประจ าวั น ทั้ ง ที่ เ ป็ น สื่ อ
                  ๔. วิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้อย่างถูกต้อง              สิ่ ง พิ ม พ์ และสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ซึ่ ง
                  ๕. นาข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่านไปใช้ใน              นาเสนอข่ า วและเหตุ ก ารณ์ ป ระจ าวั น
                  ชีวิตประจาวัน                                         นิทาน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลง บทร้อย
                  6. สื่อสารความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านอย่าง            กรอง และสาระความรู้จากบทเรียนใน
                  มีเหตุผลและสร้างสรรค์                                 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่ม
                                                                        สาระการเรียนรู้อื่นๆ
                                                                        3. คาดคะเนเหตุก ารณ์ หมายถึ ง
                                                                        ความสามารถในการคิดคาดเหตุการณ์
                                                                        เวลา ทิ ศทาง และผลที่อ าจจะเกิ ด ขึ้ น
                                                                        โดยใช้ ค วามรู้ ประสบการณ์ จ ากการ
                                                                        อ่านสนับสนุนได้อย่างสมเหตุสมผล
                                                                        4.            สรุ ป ใจความส าคั ญ หมายถึ ง
                                                                        ความสามารถในการจับใจความสาคัญ
                                                                        จากการอ่านที่เหมาะกับระดับชั้นเรียน
                                                                        5. ข้อคิด หมายถึง ความสามารถในการ
                                                                        สรุปแนวคิดและแปลเจตนาของผู้เขียน
                                                                        เรื่ อ งที่ อ่ า น และเขี ย นสรุ ป เรื่ อ งที่ อ่ า น
                                                                        ด้วยการใช้ถ้อยคาภาษาของตนเอง
                                                                        6. นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน หมายถึง
                                                                        น าข้ อ มู ล เรื่ อ งราว ข้ อ คิ ด ต่ า งๆ ไป
                                                                        ประยุกต์ใช้ โดยเลือกให้เป็นประโยชน์
                                                                        ในการด าเนิน ชี วิ ต ทั้ ง ในการตั ด สิ น ใจ
                                                                        การแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับเหตุการณ์
                                                                        และระดับชั้นเรียน

                                                       7
ระดับชั้น                     ความสามารถ                                    คาสาคัญ

                                                                7. วิเคราะห์ หมายถึง แยกข้อเท็จจริง
                                                                ความคิ ดเห็ น และส่ ว นประกอบต่า งๆ
                                                                ในเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง
                                                                8. สื่อสาร หมายถึง ความสามารถใน
                                                                การใช้ถ้อ ยคาภาษาอย่างถูก ต้อง และ
                                                                เหมาะสมกับระดับชั้นเรียน เพื่อแสดง
                                                                ความรู้ในสิ่งได้อ่านให้คนอื่นเข้าใจตรง
                                                                ตามวัตถุประสงค์
                                                                 9. ความคิดเห็น หมายถึง ความคิดที่
                                                                เกิ ด ขึ้ น จากข้ อ ความที่ อ่ า น โดยใช้
                                                                กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลเหมาะสม
                                                                กั บ วั ย แ ล ะ พื้ น ฐ า น ค ว า ม รู้ แ ล ะ
                                                                ประสบการณ์ของนักเรียนแต่ละคน
                                                                10. สร้างสรรค์ หมายถึง
                                                                ความสามารถในการสื่อสารที่แสดงถึง
                                                                ความสามารถด้านภาษาของนักเรียน
                                                                สมเหตุสมผลและเป็นความคิดที่แปลก
                                                                ใหม่ มีคุณค่า

ตัวอย่างข้อสอบ

ความสามารถด้านภาษา         ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ระดับพฤติกรรม
 ความรู้                               การปรุงอาหารด้วยวิธีการทอด เป็นการทาอาหารให้สุกโดยใส่
                                       เนื้อสัตว์หรือผักลงในกระทะที่ตั้งจนน้ามันร้อน เมื่อทอดเสร็จแล้ว
ตัวชี้วัด ๑. อธิบายความหมาย            ควรให้อาหารที่ทอดสะเด็ดน้ามัน ใช้กระดาษซับน้ามันดูดซับน้ามัน
จากเรื่องที่อ่าน
                                       ออกจากอาหารที่ทอดได้ อาหารที่ผ่านการสะเด็ดน้ามันเป็นอย่างดี
                                       จะคงความกรอบให้ยาวนานได้อีกด้วย
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร
ภาษาไทยสาระที่ 1 การอ่าน         คาถาม อาหารทอดจะคงความกรอบได้ดีควรทาอย่างไร
มฐ. ท 1.1 (ป. 3/5)                     1) ทอดในน้ามันที่ร้อนจัด
                                       2) ใช้เวลาทอดนานขึ้น
                                       3) ให้อาหารสะเด็ดน้ามัน
                                       4) ทาอาหารให้สุกก่อนทอด

                                                   8
แนวการตอบ (เฉลย)
                                      ข้อ 3) ให้อาหารสะเด็ดน้ามัน
                                    เกณฑ์ในการให้คะแนน
                                                ตอบถูก ได้ 1 คะแนน
                                                ตอบผิด ได้ 0 คะแนน


ความสามารถด้านภาษา            ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ระดับพฤติกรรม
นาไปใช้                                          อึ่งอ่างตัวหนึ่งอาศัยอยู่ริมบึง มันนึกว่าตัวเองเก่งกว่าใคร ๆ
                                          วันหนึ่งอึ่งอ่างขึ้นมานอนหน้าบึ้ง ผึ่งแดดอยู่ริมบึง มันได้ยินเสีย งผึ้ง
ตัวชี้วัด 5. นาข้อคิดที่ได้จาก
                                          บินมา อึ่งอ่างอยากสู้กับผึ้งจึงดึงใบบัวมาบังตัว พอผึ้งมากินน้าที่ริม
เรื่องที่อ่านไปใช้ในชีวิตประจาวัน
                                          บึ ง มั น ก็ แ ลบลิ้ น จะท าร้ า ยผึ้ ง ผึ้ ง รู้ ว่ า ถู ก อึ่ ง อ่ า งเล่ น งาน จึ ง ใช้
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร                     เหล็ กในต่อย อึ่งอ่างรู้สึ กปวดลิ้นมาก มันส านึกผิ ดที่คิดทาร้ายผึ้ ง
ภาษาไทยสาระที่ 1 การอ่าน                  ผึ้งจึงช่วยดึงเหล็กในออกให้ อึ่งอ่างซาบซึ้งและไม่อวดเก่งอีกเลย
มฐ. ท 1.1 (ป. 3/5)
                                    คาถาม ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน สามารถนาไปใช้ในเรื่องใด
                                            1) ถ้ามีภัยมาถึงตัวต้องยอมรับ
                                            2) ถ้าจะสู้กับใครต้องมีความมั่นใจ
                                           3) ถ้าถูกทาร้ายต้องป้องกันตัวเอง
                                            4) ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข
                                     แนวการตอบ (เฉลย)
                                        4) ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข
                                     เกณฑ์ในการให้คะแนน
                                                ตอบถูก ได้ 1 คะแนน
                                                ตอบผิด ได้ 0 คะแนน




                                                         9
ความสามารถด้านคานวณ(Numeracy)

          ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy) หมายถึง ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดคานวณ
ความคิดรวบยอด และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
คาสาคัญ(Key characteristics)
          1. ทักษะการคิดคานวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อย่าง
ถูกต้อง คล่องแคล่ว
          2. ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ จานวนนับ เศษส่วน
ทศนิยม และร้อยละ ความยาว ระยะทาง น้าหนัก พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผัง และขนาด
ของมุม ชนิดและสมบัติของรูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ แผนภูมิและกราฟ การคาดคะเนการ
เกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่าง ๆ
          3. ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการนาความรู้ทางคณิตศาสตร์
และเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ได้แก่ ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วย
วิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอ การเชื่อมโยง
ความรู้และการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ระดับความสามารถชั้นปี

     ระดับชั้น                      ความสามารถ                                    ตัวชี้วัด
ประถมศึกษาปีที่ 3 ความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการ                  1. สามารถนาการบวก การลบ การคูณ
                  ทางคณิตศาสตร์โดยเน้นการสื่อสาร การสื่อ            การหารและการบวก ลบ คูณ หาร
                  ความหมายทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา                 ระคน ของจานวนนับไปใช้ในการ
                  โดยวิธีการที่หลากหลาย และการให้เหตุผล             แก้ปัญหาโดยวิธีการที่หลากหลาย
                  ในเรื่องจานวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์           2. สามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไป
                  การเปรียบเทียบและคาดคะเน (ความยาว                 ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้
                  น้ าหนั ก ปริ ม าตร หรื อ ความจุ ) เงิ น และ      ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
                  เวลา การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติ              ในการสื่อสาร การสื่อความหมายได้
                  ที่เป็นส่วนประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ            อย่างถูกต้อง มีการให้เหตุผล การ
                  แบบรู ป และความสั มพั น ธ์ การอ่ า นข้ อ มู ล     เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆได้อย่างเหมาะสม
                  จากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่ง และนา              สอดคล้อง กับชีวิตประจาวัน
                  ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น
                  สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน

                      ขอบข่ายการสร้างข้อคาถาม
                      1. การบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน
                      100,000

                                                   10
ระดับชั้น                 ความสามารถ                       ตัวชี้วัด
            2. การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน100,000
            3. การคูณจานวนหนึ่งหลักกับจานวนไม่เกิน
            สี่หลัก
            4. การหารที่ตัวตั้งไม่เกินสี่หลักและตัวหารมี
            หนึ่งหลัก
            5. การบวก ลบ คูณ หารระคน
            6. การเปรียบเทียบและคาดคะเนความยาว
            น้าหนัก ปริมาตร และความจุ เงิน และ
            เวลา
            7. การอ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
            กิจกรรม หรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา
            8. การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่
            เป็น
            ส่วนประกอบของ รูปเรขาคณิตสามมิติ
            9. แบบรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ
            4 ทีละ 25 ทีละ 50
            10. แบบรูปของจานวนที่ลดลงทีละ 3 ทีละ
            4 ทีละ 5 ทีละ 25 ทีละ 50
            11. แบบรูปซ้า
            12. แบบรูปของรูปที่มีรูปร่างขนาด หรือสี
            ที่สัมพันธ์กันสองลักษณะ
            13. การอ่านแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิ
            แท่ง




                                          11
ตัวอย่างข้อสอบ
                          ความสามารถด้านคานวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
                               คาชี้แจง จากข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 2

ระดับพฤติกรรม/                        ปัจจุบันโลกกาลังประสบปัญหาภาวะโลกร้อน จากการทิ้งขยะ ซึ่งควร
ทักษะกระบวนการ                   แยกระหว่าง ขยะเปียก แก้ว พลาสติก และขยะที่เป็นพิษ เพื่อสามารถนาไป
- วิเคราะห์                      กาจัดได้อย่างถูกวิธี เนื่องจากระยะเวลาการย่อยสลายแตกต่างกัน เช่น
                                              โฟม                 ใช้เวลา 1,000 ปี
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์                    ผ้าอ้อมสาเร็จรูป     ใช้เวลา 500 ปี
– จานวนนับ การลบ                              ถุงพลาสติก           ใช้เวลา 450 ปี
ทักษะกระบวนการทาง                             อะลูมิเนียม          ใช้เวลา 100 ปี
คณิตศาสตร์                                    ถ้วยกระดาษเคลือบ ใช้เวลา         5 ปี
– ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง                    เศษกระดาษ           ใช้เวลา 5 เดือน
   คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน
   สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. แจ๋วใช้ถุงพลาสติกใส่อาหารเช้า เจี๊ยบใช้กล่องโฟมใส่อาหารกลางวัน
   กับชีวิตประจาวัน                ขยะของใครใช้เวลาในการย่อยสลายมากกว่ากันและมากกว่ากันกี่ปี
– ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ             1) เจี๊ยบมากกว่าแจ๋ว 450 ปี
   แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์                 2) แจ๋วมากกว่าเจี๊ยบ 450 ปี
– ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง                 3) เจี๊ยบมากกว่าแจ๋ว 550 ปี
   คณิตศาสตร์ในการสื่อ                   4) แจ๋วมากกว่าเจี๊ยบ 550 ปี
   ความหมายทางคณิตศาสตร์         เฉลย 3)
– เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน      เกณฑ์การให้คะแนน
   คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง            ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน
   คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร
ค 1.1 ป.3/1-2
ค 1.2 ป.3/1-2
ค 6.1 ป.3/1-5
ระดับพฤติกรรม/                   2. ใครช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ดีที่สุด
ทักษะกระบวนการ                         1) ดา ให้ลูกใช้ผ้าอ้อมสาเร็จรูป
- นาไปใช้                              2) ขาว ใช้ถุงพลาสติกใส่อาหาร
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์             3) แดง ใช้ถ้วยพลาสติกใส่นมสดดื่ม
– จานวนนับ การเปรียบเทียบ              4) ชมพู ใช้เศษกระดาษผสมดินปลูกต้นไม้
ทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์                       เฉลย 4)
– ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์        เกณฑ์การให้คะแนน
   แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ         ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน
   ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน
                                              12
– ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
   แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
– ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
   คณิตศาสตร์ในการสื่อ
   ความหมายทางคณิตศาสตร์
– เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน
   คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
   คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร
ค 1.1 ป.3/1 – 2
ค 6.1 ป.3/1-5



                                   คาชี้แจง จากข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 3 – 4
ระดับพฤติกรรม/                       คุณครูให้โหน่ง หม่า และ เท่ง เลือกจานวนเต็มคนละ 6 จานวน
ทักษะกระบวนการ                       ได้ผลการเลือกดังนี้
- วิเคราะห์
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์                                                  จำนวนทีเ่ ลือกได้
– จานวนนับ การหาร                                                            12 16 4
ทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์                                                                   18 10 20
– ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง
   คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน                       โหน่ง
   สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
   กับชีวิตประจาวัน                                                          จำนวนทีเ่ ลือกได้
– ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ                                                  10 40 30
   แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
                                                                              70 20 60
– ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
   คณิตศาสตร์ในการสื่อ                         หม่า
   ความหมายทางคณิตศาสตร์
– เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน
   คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
                                                                             จำนวนทีเ่ ลือกได้
   คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร                                                         35 10 25
ค 1.2 ป.3/1                                                                   50 45 40
ค 6.1 ป.3/1 - 5
                                               เท่ง
                                                13
3. จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดสรุปเกี่ยวกับจานวนที่โหน่งเลือก ได้ถูกต้อง
                                       1) เป็นจานวนที่ 2 และ 5 หารลงตัว
                                       2) เป็นจานวนที่หารด้วย 5 ลงตัว
                                       3) เป็นจานวนที่ 2 หารลงตัว
                                       4) เป็นจานวนที่ 3 หารไม่ลงตัว
                               เฉลย 3)
                               เกณฑ์การให้คะแนน
                                  ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน

                               4. จานวนที่เลือกได้ทุกจานวนของใคร ที่หารด้วย 5 และ 10 ลงตัว
ระดับพฤติกรรม/                       1) หม่า
ทักษะกระบวนการ                       2) เท่ง
- วิเคราะห์                          3) หม่า กับ โหน่ง
คาอธิบายขยายความ                     4) เท่ง กับ โหน่ง
ทักษะทางการคิดคานวณ
– การหาร                         เฉลย 1)
ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์
– จานวนนับ การหาร                เกณฑ์การให้คะแนน
ทักษะกระบวนการทาง                   ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน
คณิตศาสตร์
– ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง
   คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน
   สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
   กับชีวิตประจาวัน
– ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
   แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
– ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง
   คณิตศาสตร์ในการสื่อ
   ความหมายทางคณิตศาสตร์
– เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน
   คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
   คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร
ค 1.2 ป.3/1
ค 6.1 ป.3/1 - 5




                                             14
ความสามารถด้านเหตุผล(Reasoning ability)

         ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้
และประสบการณ์ ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการดาเนิน
ชีวิต โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตัดสินใจอย่างมีหลักการ และเหตุผล บนพื้นฐานของข้อมูล
สถานการณ์ หรือสารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม

ระดับความสามารถชั้นปี

     ระดับชั้น                        ความสามารถ                                          ตัวชี้วัด

ประถมศึกษาปีที่ ๓ ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และ                   1. วิเคราะห์ด้วยการเปรียบเทียบข้อมูล
                  ประสบการณ์ และประสบการณ์ ด้ า น                       สถานการณ์ หรื อ สารสนเทศโดยใช้
                  วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ า น   ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
                                                                        ด้านสังคมและเศรษฐกิจ และด้ านการ
                  สังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการ
                                                                        ดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล
                  ดาเนิ น ชี วิ ต โดยการวิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์        2. จั ด กลุ่ ม ข้ อ มู ล สถานการณ์ หรื อ
                  ประเมิ น ค่ า (การเปรี ย บเที ย บ จั ด กลุ่ ม         ส า ร ส น เ ท ศ โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ด้ า น
                  วางแผน เลื อ กแนวทาง) แก้ ปั ญ หาหรื อ                วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม
                  ตั ด สิ น ใจอย่ า งมี ห ลั ก การและเหตุ ผ ล บน        และเศรษฐกิจ และด้านการดาเนินชีวิต
                  พื้ น ฐ า น ข อ ง ข้ อ มู ล ส ถ า น ก า ร ณ์ ห รื อ   อย่างมีเหตุผล
                  สารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลัก คุณธรรม                 3 . น า ข้ อ มู ล ส ถ า น ก า ร ณ์ ห รื อ
                                                                        สารสนเทศมาวิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ใน
                  และจริยธรรม
                                                                        ก า ร ว า ง แ ผ น โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ด้ า น
                                                                        วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม
                       ขอบข่ายสิ่งเร้า/สาระการเรียนรู้                  และเศรษฐกิจ และด้านการดาเนินชีวิต
                       - การจัดการอารมณ์และความเครียดของ                อย่างมีเหตุผล
                         ตนเอง                                          4. วิ เ คราะห์ แ ละก าหนดปั ญ หาและ
                       - การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค            สามารถหาแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างมี
                                                                        ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เลือกใช้
                       - ความปลอดภัยในชีวิต
                                                                        ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศใน
                       - การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง              การตัดสินใจและ/หรือแก้ปัญหา โดยใช้
                       - บุคลิกภาพ                                      ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
                       - ปฏิสัมพันธ์ในครอบครัว                          ด้านสังคมและเศรษฐกิจ และด้านการ
                       - การสร้างสัมพันธภาพที่ดี                        ดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล
                       - วิถีประชาธิปไตย
                       - ศาสนาที่ตนเองนับถือ
                                                      15
ระดับชั้น                  ความสามารถ                      ตัวชี้วัด
            - การอยู่ร่วมกันในความหลากหลายของ
              ศาสนา
            - มารยาทไทย ภาษา การแต่งกาย
            - มรรยาทชาวพุทธและศาสนาที่ตนนับถือ
            - วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านภาษา
              การแต่งกาย และทักษะทางสังคม
            - ปัญหาสังคมที่ส่งผลต่อการอยู่ร่วมกัน
            - ปัญหาที่มีผลกระทบต่อร่างกาย อารมณ์
            - ปัญหาที่มีผลกระทบต่อสังคมชุมชน
              ประเทศชาติ

            - เศรษฐกิจพอเพียง (การใช้จ่าย การออม
               การเลือก การใช้สินค้า บริการ อย่าง
               เหมาะสม)
            - วิถีทางที่ทาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีด้านการ
               ใช้ทรัพยากร ด้านการปฏิบัติตน ด้าน
               การใช้จ่าย
            - ลาดับเหตุการณ์สาคัญที่ส่งผลต่อวิถีชีวิต
               (การเลือกตั้งในท้องถิ่น)
            - ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดมีผลต่อ
              การผลิต การบริโภคและการบริการ
              ในครอบครัว
            - ความเหมือน ความแตกต่างทางวัฒนธรรม
              ขนบธรรมเนียมประเพณี
            - วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านสังคม
            - เห็นคุณค่าและยอมรับความหลากหลาย
              ทางวัฒนธรรม
            - ผลการแข่งขันทางการค้าเสรี
            - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
            - ลมฟ้าอากาศ
            - ธรณีพิบัติภัย

                                          16
ระดับชั้น                ความสามารถ                   ตัวชี้วัด
            - ทรัพยากรธรรมชาติ
            - สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
            - การขยายพันธุ์พืชและสัตว์
            - พันธุกรรม
            - วัสดุ แรง เสียง
            - ทิศ
            - ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์
            - กลางวัน กลางคืน
            - การพึ่งพาสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ ในการ
            ดารงชีวิต
            - ความแตกต่างของเมืองและชนบท
            - มลพิษที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์
            - การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมจากอดีต
            ถึงปัจจุบัน
            - การดารงชีวิตในยุคเทคโนโลยี
            - การผลิตและการใช้ไฟฟ้า




                                      17
ตัวอย่างข้อสอบ

ความสามารถด้านเหตุผล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ระดับพฤติกรรม/ทักษะ
กระบวนการ
วิเคราะห์

ตัวชี้วัด
1. วิเคราะห์ด้วยการเปรียบเทียบ
ข้อมูล สถานการณ์ หรือ
สารสนเทศโดยใช้ความรู้ด้าน
วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
ด้านสังคมและเศรษฐกิจ และ
ด้านการดาเนินชีวิตอย่างมี
เหตุผล
                              1. การกระทาตามภาพนี้จะเกิดผลโดยตรงต่อคนในชุมชนตามข้อใด
                                มากที่สุด
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร             1) เป็นโรคทางเดินอาหาร
                                  2) แมลงและหนูรบกวน*
มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูปรับปรุง     3) เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน     4) อากาศเป็นพิษ
(ส.5.2 ป.2/4)



ความสามารถด้านเหตุผล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ระดับพฤติกรรม/ทักษะ
กระบวนการ
การนาไปใช้                                 เกษตรกร กล่าวว่า การนาข้าวเปลือกมาตากไว้ริมคลอง
                                 ชลประทาน ก่อนส่งขายจะได้ราคาดี และถ้าไม่มีคนเฝ้า ข้าวเปลือก
ตัวชี้วัด                        อาจถูกฝน และขายไม่ได้ราคา พวกเขาและครอบครัวจึงผลัดเปลี่ยน
3. นาข้อมูล สถานการณ์ หรือ       กันนอนเฝ้าข้าวที่ตากจนกว่าข้าวจะแห้ง
สารสนเทศมาวิเคราะห์
ประยุกต์ใช้ในการวางแผน โดย                              ปรับมาจากผู้จัดการออนไลน์ 15 พฤศจิกายน 55
ใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ
สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมและ
เศรษฐกิจ และด้านการดาเนิน
ชีวิตอย่างมีเหตุผล
                                               18
อิงมาตรฐานตามหลักสูตร                 2. ข้อใดเป็นเหตุผลสาคัญที่สุดที่เกษตรกรครอบครัวจึงผลัดเปลี่ยนกัน
ทักษะชีวิต                               นอนเฝ้าข้าวที่ตาก
                                                  1) ต้องการขายข้าวได้เร็วขึ้น
                                                  2) ต้องการให้ทุกคนทาหน้าที่
                                                  3) ต้องการขายข้าวให้ได้ราคาสูง *
                                                  4) ต้องการให้ได้ข้าวเปลือกที่มีคุณภาพ




                   ข้อสอบที่ใช้ในการสอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 แสดงรายละเอียด ดังตาราง
                      แบบทดสอบความสามารถ                       จานวนข้อ                เวลา
                   ด้านภาษา(Literacy)                              30                   50
                   ด้านคานวณ(Numeracy)                             30                   60
                   ด้านเหตุผล(Reasoning ability)                   30                   50


ตารางสอบ
         การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 กาหนดสอบ
วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556 รายละเอียดกาหนดสอบ ตามตารางสอบดังนี้


     วันสอบ               8.30-9.20 น.                         10.00-11.00 น.                     12.30-13.20 น.
21 ก.พ. 2556              ความสามารถ                พัก         ความสามารถ               พัก       ความสามารถ
                            ด้านภาษา                             ด้านคานวณ                           ด้านเหตุผล
4. แผน และวิธีการประเมิน
          งานการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปีการศึกษา 2555 ของเขตพื้นที่การศึกษา ร่วมมือ
กับส่วนกลางในการวางแผนการประเมิน การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทางานชุดต่าง ๆ เพื่อรองรับงาน
ประเมิ น การจั ด สอบ การก ากับ ติ ดตามการประเมิน การรวบรวมกระดาษคาตอบเพื่ อน าส่ ง ส่ ว นกลาง
ตลอดจนการนาผลการประเมินไปปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ของเขตพื้นที่การศึกษา
โรงเรี ย น และนั ก เรี ย นเป็ น รายบุ ค คล จึ ง จ าเป็ น ต้ อ งจั ด ระบบการบริ ห ารจั ด การให้ รั ด กุ ม เป็ น ไปอย่ า ง
มีประสิทธิภาพ ในทุกพื้นที่ของเขตพื้นที่การศึกษา

                                                          19
ภาระที่สาคัญในการจัดการประเมินประการหนึ่งคือการบริหารจัดการให้มีความคล่องตัว รองรับระบบ
การประเมินได้อย่างมีประสิทธิภาพ เขตพื้นที่การศึกษาจึงควรแบ่งภาระรับผิดชอบออกเป็นศูนย์ประสานการสอบ
ซึ่งอาจแบ่งเป็นศูนย์ตามอาเภอต่าง ๆ ในเขตพื้นที่การศึกษา โดยรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
แต่ละท่าน ที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในแต่ละพื้นที่ (Area Based) เป็นผู้รับผิดชอบดูแล บริหารจัดการศูนย์
ประสานการสอบในพื้นทีที่ตนรับผิดชอบ
                        ่
       การดาเนินงานประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา
2555 ชั้ น ประถมศึก ษาปี ที่ 3 ได้ ก าหนดแผน และวิธี ก ารประเมิ น ในส่ ว นกลางโดยส านั ก ทดสอบทาง
การศึกษา และ เขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้
 การดาเนินงานในส่วนกลาง

        1. เพื่อให้การดาเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน
ปีการศึกษา 2555 มีประสิทธิภาพ มีความเป็นมาตรฐาน สอดคล้องกับนโยบาย และวิธีการประเมินคุณภาพ
การศึกษา รวมทั้งเพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายงานความก้าวหน้าด้านผลสัมฤทธิ์
ของนักเรียน ให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน และใช้เป็นข้อมูลส่งเสริม สนับสนุน และ
พัฒ นาการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่อเนื่อ ง จึงได้แต่งตั้ง
คณะกรรมการต่าง ๆดังต่อไปนี้
                  1.1 คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพ
ผู้เรียน ปีการศึกษา 2555 โดย มีเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นที่ปรึกษา รองเลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นางเบญจลักษณ์ น้าฟ้า) เป็นประธานกรรมการ ที่ปรึกษา สพฐ.
ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ. ผู้อานวยการสานัก/ผู้แทนหน่วยงานใน สพฐ. เป็นกรรมการ ผู้อานวยการสานักทดสอบทาง
การศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่พิจารณากาหนดรูปแบบ หลักการและแนวทางการประเมิน
คุณ ภาพการศึก ษา เพื่ อ ตรวจสอบคุ ณ ภาพการจั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ นฐาน และรายงานความก้ า วหน้ า ด้ า น
ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน รวมทั้งการส่งเสริม สนับสนุน การนาผลไปใช้ และพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างต่อเนื่อง เสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงาน การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การประเมิน ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ให้คาแนะนา กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตาม
ประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระบบ และแต่งตั้ง
คณะกรรมการ (เพิ่มเติม) คณะอนุกรรมการ หรือคณะทางานเฉพาะเรื่อง ตามความจาเป็นและเห็นสมควร
เพื่อปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่คณะกรรมการมอบหมาย
                  1.2 คณะกรรมการดาเนินงานประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา 2555 โดย
ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเป็นประธานกรรมการ รองผู้อานวยการสานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบการประเมิน เป็นรองประธานกรรมการ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาทุกคน ผู้อานวยการกลุ่มในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกกลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิจากคณะกรรมการ
ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ผู้แทนสถานศึกษาระดับ
ประถมศึกษา ผู้แทนสถานศึกษาสังกัดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ศึกษานิเทศก์ทุกคนเป็นกรรมการ ผู้อานวยการกลุ่ม
นิ เ ทศ ติ ด ตามและประเมิ น ผลการศึ ก ษา เป็ น กรรมการและเลขานุ ก าร ศึ ก ษานิ เ ทศก์ ก ลุ่ ม งานวั ด และ
ประเมินผลฯ และศึกษานิเทศก์กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกรรมการและ
ผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่กาหนดแผนดาเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขต
                                                   20
พื้นที่การศึกษา ตามนโยบาย หลักการและแนวทางที่คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ
(ส่วนกลาง) กาหนด ให้คาแนะนา กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานประเมินคุณภาพ
การศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบฯ แต่งตั้งคณะกรรมการ (เพิ่มเติม) คณะอนุกรรมการ คณะทางาน
เฉพาะเรื่อง ตามความจาเป็นและเห็นสมควร เพื่อปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่คณะกรรมการดาเนินการประเมิน
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา มอบหมาย
          2. ประชุมคณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ(ส่ ว นกลาง) เพื่อพิจารณา
กาหนดรูปแบบ หลักการ และแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
          3. ประชุมปฏิบัติการคณะกรรมการดาเนินงานระดับเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อกาหนดแผนปฏิบัติงาน
ประเมินการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปีการศึกษา 2555 ระหว่างส่วนกลาง
กับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
          4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทางาน เพื่อปฏิบัติงาน ตามกิจกรรมในแผนการประเมิน
          5. จั ดสรรงบประมาณการดาเนิ น งานประเมินให้ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยจัดสรร
งบประมาณตามสัดส่วน โรงเรียน และจานวนนักเรียน ของแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา
          6. จัดทาต้นฉบับแบบทดสอบและเอกสารประกอบ
          7. จัดส่งแบบทดสอบและเอกสารประกอบให้เขตพื้นที่การศึกษาก่อนวันสอบ
          8. คณะติด ตามและประเมิน ผลการดาเนินงานการประเมิ นจากส่ ว นกลาง (ผู้ เชี่ ยวชาญ และ
นักวิชาการจากสานักทดสอบทางการศึกษา) ติดต่อ ประสานการดาเนินการสอบกับเขตพื้นที่การศึกษา และ
ปฏิบัติงานก่อนวันสอบ วันสอบ และหลังสอบ เพื่อให้คาแนะนา แก้ปัญหาอุปสรรคที่เกิดจากการปฏิบัติงาน
และรายงานผลการปฏิบัติงานการประเมินให้กับ สพฐ.
          9. รับกระดาษคาตอบแบบจากเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ตามวันที่กาหนด
          10. ตรวจกระดาษคาตอบ วิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูล และรายงานผล
          11. รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา
2555
          12. ติดตาม สนับสนุนเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึ กษาทุกแห่ง นาผลการประเมินไปใช้ วางแผนและ
ดาเนิน การปรับปรุงการเรีย นการสอนของโรงเรียน และการดาเนินการของเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อแก้ไข
จุดอ่อนด้อยของนักเรียนเป็นรายบุคคล และรายโรงเรียน


  การดาเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

         เพื่ อให้ ก ารดาเนิ น งานประเมิน คุณ ภาพการศึก ษาขั้น พื้น ฐาน เพื่ อการประกั นคุ ณ ภาพผู้ เ รีย น
ปีการศึกษา 2555 ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีประสิทธิภาพ และมาตรฐานเดียวกันทุก
เขตพื้นที่การศึกษา ควรมีแนวดาเนินการ ดังนี้
         1. จัดเตรียมแผนการประเมิน ฯ ของเขตพื้นที่การศึกษา สารวจข้อมูลนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมาย
พร้อมเข้าระบบ EPCC ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลจานวนนักเรียน โรงเรียน ให้ถูกต้องเรียบร้อยและเป็น
ปัจจุบัน


                                                    21
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบWongduean Phumnoi
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานrbsupervision
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐานPochchara Tiamwong
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2จุลี สร้อยญานะ
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการkeeree samerpark
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรsomdetpittayakom school
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษาkruthai40
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 

Mais procurados (20)

การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
O net
O netO net
O net
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
รายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานรายงานผลการดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงาน
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
11ประกาศใช้มาตรฐานพื้นฐาน
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 5 กำกับ ติดตาม2
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการ
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียรBest practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
Best practice รองฉวีวรรณ ลาภเสถียร
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษามาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
มาตรฐานปฎิบัติงานมัธยมศึกษา
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 

Destaque (8)

การวัด
การวัดการวัด
การวัด
 
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุดชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุด
 
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
ป.1
ป.1ป.1
ป.1
 
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
 
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
โจทย์ปัญหาระคนป.3 4
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป.3 2550
 

Semelhante a คู่มือสอบ Nt 55

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางkamonnet
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...Jaru O-not
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑TooNz Chatpilai
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfwidsanusak srisuk
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1Chok Ke
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 

Semelhante a คู่มือสอบ Nt 55 (20)

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและ...
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdfบรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
บรรยาย หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่ง.pdf
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
คู่มืองานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา1
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 

คู่มือสอบ Nt 55

  • 1. คู่มือการจัดสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 255๕ สานักทดสอบทางการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คานา การพัฒนาในโลกปัจจุบันให้ความสาคัญอย่างยิ่งกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ไม่เว้นแม้แต่ประเทศ ไทย ดังจะเห็นได้จากกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561) ที่กาหนดให้ มีการพัฒนา 4 ประการ คือ การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพครูยุคใหม่ พัฒนาสถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ รวมถึงพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการยุคใหม่ ในส่วนของการพัฒนาคุณภาพคนไทย นั้น สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ยึดห่วงโซ่คุณภาพเป็นหลัก กล่าวคือ พัฒนาหลักสูตร การ จัดการเรียนรู้ และการวัดประเมินผล ให้สัมพันธ์สอดรับกัน ดังนั้น ผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้รับ การวางรากฐานให้มีความรู้ความสามารถและมีทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ สอดรับกับกรอบแนวทางการปฏิรูปดังกล่าว และมีการประเมินคุณภาพผู้เรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่ง เป็ น ช่ ว งชั้ น แรกและเป็ น ช่ ว งเวลาที่ ส าคั ญ ในการวางพื้ น ฐานที่ จ าเป็ น ตามหลั ก สู ต ร ว่ า ผู้ เ รี ย นมี ค วามรู้ ความสามารถและทักษะตามที่หลักสูตรกาหนดหรือไม่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสานัก ทดสอบทางการศึกษารับผิดชอบการประเมินคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 มาอย่ างต่อเนื่ อง โดยได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาทุกเขต ผลจากการประเมิน ถูกนาไปใช้ เป็นสารสนเทศประกอบการวางแผนพัฒ นาคุณภาพ เด็กไทยตลอดมา อย่างไรก็ตาม ในปีการศึกษา 2555 นี้ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมี นโยบายที่ จ ะประเมิ น ความสามารถพื้ น ฐานเบื้ อ งต้ น ส าคั ญ ที่ ใ ช้ ใ นการเรี ย นรู้ ข องนั ก เรี ย น 3 ด้ า น คื อ ความสามารถด้านภาษา (Literacy) ด้านคานวณ (Numeracy) และด้านเหตุผล(Reasoning ability) ดังนั้น เพื่อให้การดาเนินการประเมินได้มาตรฐาน ยุติธรรม น่าเชื่อถือ ตรวจสอบได้ และเป็นไปในแนวทางเดียวกัน ผล การประเมินสามารถนาไปใช้ปรับปรุงและพัฒนาความสามารถทั้ง 3 ด้านได้ตรงตามความสามารถที่แท้จริง ของ นักเรียน ดังเช่นที่เคยปฏิบัติมาโดยตลอด สานักทดสอบทางการศึกษาจึงได้จัดทาคู่มือการจัดสอบ ตามโครงการ ประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 ฉบับนี้ขึ้น เพื่อให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้ร่วมกันพิจารณาถึงแนวทาง และรายละเอียดของการ ดาเนินการประเมินตามคู่มือจัดสอบ ทั้งรูปแบบ แผนและวิธีการประเมิน ของส่วนกลาง และของสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา รวมทั้งแนวทางการขอร่วมโครงการ ฯ ของสังกัดอื่นที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักทดสอบทางการศึกษาขอขอบคุณสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาทุกเขตที่ให้ ความร่วมมืออย่างดียิ่งเสมอมา และหวังเป็นยิ่งว่าผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดาเนินประเมิน ครั้งนี้ จะสามารถ ดาเนินการได้ตามแนวทางที่กาหนดทุกประการ เพื่อให้เป็น มาตรฐานเดียวกัน ผลการประเมินมีความเชื่อถือได้ และนาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาได้อย่างถูกต้องตามความเป็นจริงต่อไป สานักทดสอบทางการศึกษา มกราคม 2556 2
  • 3. สารบัญ หน้า 1. เหตุผลและความสาคัญ 4 2. วัตถุประสงค์ 5 3. นิยาม/เครื่องมือการประเมิน 5 ความสามารถด้านภาษา(Literacy) 5 ความสามารถด้านคานวณ(Numeracy) 10 ความสามารถด้านเหตุผล(Reasoning ability) 15 ตารางสอบ 19 4. แผนและวิธีการประเมิน 19 การดาเนินงานในส่วนกลาง 20 การดาเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 21 แผนปฏิบัติงานระหว่างส่วนกลางกับเขตพื้นที่การศึกษา 23 แนวปฏิบัติการจัดสอบ 24 ตัวอย่างกระดาษคาตอบ 25 การกรอก/ระบายรหัสบนกระดาษคาตอบ 26 แต่งตั้งศูนย์ประสานการสอบ สนามสอบ และกรรมการกากับห้องสอบ 27 สังกัดอื่นประสงค์ร่วมโครงการ ฯ 28 การนาผลไปใช้ 28 ภาคผนวก กลุ่มจังหวัดและจังหวัด (18 กลุ่มจังหวัด) 31 3
  • 4. คู่มือการจัดสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพือการประกันคุณภาพผูเรียน ่ ้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 ความสามารถด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล 1.เหตุผลและความสาคัญ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) กาหนดวิสัยทัศน์ ให้คนไทยได้เรียนรู้ ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ และเป้าหมาย ปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ โดยเน้นประเด็นหลัก สามประการ คือ 1) คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของคนไทย โอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษา แหล่งเรียนรู้ สภาพแวดล้อม หลักสูตรและเนื้อหา พัฒนาวิชาชีพครูให้เป็น วิชาชีพที่มีคุณค่า สามารถดึงดูดคนเก่งดีและมีใจรัก มาเป็นครูคณาจารย์ได้อย่างยั่งยืน ภายใต้ระบบบริหารจัดการ ที่มีประสิทธิภาพ 2) เพิ่มโอกาสการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่ว ถึงและมีคุณภาพ เพื่อให้ประชาชนทุกคน ทุกเพศทุกวัยมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาค ส่วนของสังคม ในการบริหารและจัดการศึกษา โดยเพิ่มบทบาทของผู้ที่อ ยู่ภายนอกระบบการศึกษาด้วย และ ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการต่อคณะรัฐมนตรี “.....ให้สถาบันทดสอบทางการศึกษา แห่งชาติและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดาเนินการประกันการเรียนรู้และรับรองมาตรฐาน ผู้เรียน โดยประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในชั้ นเรียนสุดท้ายของแต่ละช่วงชั้นให้เป็นการวัดผลระดับชาติ เพื่อให้สามารถใช้การวัดประเมินผลที่เป็นมาตรฐาน สามารถเทียบเคียงกันได้ เป็นกลไกในการประกันการ เรียนรู้และรับรองมาตรฐานผู้เรียนแต่ละช่วงชั้น......” จากวิสัยทัศน์ เป้าหมายและข้อเสนอดังกล่าว สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้ กาหนดจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบาย ในด้านทักษะและความสามารถ คือ ชั้น ป.1-3 นักเรีย นมีทักษะความสามารถในการอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ป.4-6 อ่านคล่ อง เขีย นคล่ อง คิดเลขคล่ อง ทั กษะการคิดขั้นพื้นฐาน ม.1-3 แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ การเรี ย นรู้ มี ทั ก ษะการคิ ด ขั้ น สู ง ทั ก ษะชี วิ ต ม.4-6 แสวงหาความรู้ เ พื่ อ แก้ ปั ญ หา ใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ใช้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง รวมทั้งมีทักษะชีวิต ทักษะการสื่ อสารตามช่ว งวัยในทุกช่ว งชั้น กอรบกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ได้กาหนดให้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล สารสนเทศที่ จ าเป็ น ในการพิ จ ารณาว่ า ผู้ เ รี ย นเกิ ด คุ ณ ภาพการเรี ย นรู้ ต ามผลการเรี ย นรู้ ของหลักสู ตร สะท้อนจุดเน้นการพัฒ นาผู้ เรียนหรือไม่ ซึ่งกาหนดให้มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ โดยมีเจตนารมณ์ เช่นเดียวกัน คือ ต้องการสะท้อนภาพการจัดการศึกษาว่ าสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน ที่กาหนดได้มากน้อยเพียงใด การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 4 ระดับ จึงเป็นกิจกรรมที่สาคัญยิ่ง ที่จะ สะท้อนถึงผลการจัดการศึกษา ช่วยให้ผู้เรียนได้รู้ถึงศักยภาพในสมรรถนะความสามารถ หรือผลสัมฤทธิ์ของ ตนเองได้เป็นอย่างดี รู้ถึงสมรรถนะ ความสามารถ ตลอดจนศักยภาพที่ตนมี ว่าต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไข หรือพัฒนาในเรื่องใด ที่จาเป็นสมควรได้รั บการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนา ตนเองได้เต็มตามศักยภาพ รวมทั้งยังมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข มีศักยภาพในการศึกษา ต่อและประกอบอาชีพ 4
  • 5. เป้ า หมายและตั ว บ่ ง ชี้ ก ารปฏิ รู ป การศึ ก ษาในทศวรรษที่ ส องของคณะกรรมการนโยบายปฏิ รู ป การศึกษาในทศวรรษที่สอง (กนป.) เป้าหมายที่ 1 ให้คนไทยและการศึกษาไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน ระดับสากล โดยมีตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนคือ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในวิชาหลัก จากการทดสอบระดับชาติมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 50 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้น เป็นไม่ต่ากว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ (ผลทดสอบ PISA) 3) ความสามารถด้าน ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ 3 ต่อปี และจุดเน้นในการดาเนินงานของ สพฐ.ปี งบประมาณ 2556 คือนักเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้หลักเพิ่มขึ้น โดยผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ 3 (Student Achievement) นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคนอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน (Literacy Numeracy & Reasoning abilities) จากเป้าหมายตัวบ่งชี้ และจุดเน้นดังกล่าว การวัดและ ประเมิน ผลการเรี ย นรู้ ของส านั กงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะประเมินเพื่อศึกษาและพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนให้เข้าสู่มาตรฐาน เพื่อเป็นหลักประกันการเรียนรู้ (Accountability) และเตรียมการให้ผู้เรียน มีความพร้อมสาหรับรองรับการประเมิน ทั้งการทดสอบระดับชาติหรือระดับนานาชาติ โดยจะมุ่งประเมินให้ ทัดเทียมกับนานาชาติเช่นการประเมินระดับนานาชาติ (PISA,TIMSS,…) ที่มีรูปแบบการประเมินที่หลากหลาย มุ่งเน้นคุณภาพของนักเรียนโดยพิจารณาจากความสามารถพื้นฐานหลักที่จาเป็น ตอบสนองตามเป้าหมายของ การปฏิรู ปในทศวรรษที่ส อง โดยปี การศึกษา 2555 นี้จะเริ่ม ประเมินความสามารถด้านภาษา(Literacy) ด้านคานวณ(Numeracy) และด้านเหตุผล(Reasoning ability) กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งถือเป็น ความสามารถพื้นฐานเบื้องต้นสาคัญที่ใช้ในการเรียนรู้ ผลการประเมินที่ได้จะเป็นข้อมูลสาคัญที่สะท้อนคุณภาพ การดาเนิ นงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เขตพื้นที่ การศึกษา และส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ที่จาเป็นต้องมีข้อมูลผลการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุง/พัฒนาในการเตรียมความพร้อมของผู้เรียน และ เป็นตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวม เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกาหนดนโยบาย และการวางแผนในการพั ฒ นาคุณภาพการศึ กษาระดับสถานศึกษา ระดับ เขตพื้นที่ การศึกษา และระดั บ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าว ในปีการศึกษา 2555 (งบประมาณปี 2556) สานักทดสอบทาง การศึ กษา จึ ง ได้ ด าเนิ น โครงการประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ กษาขั้ นพื้ น ฐาน เพื่ อการประกั น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 2. วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความสามารถพื้นฐานที่จาเป็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในด้านภาษา(Literacy) ด้านคานวณ(Numeracy) และด้านเหตุผล(Reasoning ability) 5
  • 6. 3. นิยาม / เครื่องมือการประเมิน ความสามารถด้านภาษา(Literacy) ความสามารถด้านภาษา (Literacy) หมายถึง ความสามารถในการอ่าน เพื่อรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ สรุป สาระส าคั ญ จากเรื่ อ งที่ อ่ า น ประเมิ น ค่ า สิ่ ง ที่ อ่ า นจากสื่ อ ประเภทต่ า งๆ น าความรู้ แ ละข้ อ คิ ด ไปใช้ ใ น ชีวิตประจาวัน สื่อสารเป็นภาษาพูดและภาษาเขียนได้ถูกต้องตามหลักการใช้ภาษาและอย่างมีวิจารณญาณและ สร้างสรรค์ คาสาคัญ(Key characteristics) 1. ความสามารถในการอ่าน หมายถึง พฤติกรรมการรู้ ความเข้าใจ การสรุปสาระสาคัญ การวิเคราะห์ และการประเมินสิ่งที่ได้จากการอ่าน 2. รู้ หมายถึง การบอกความหมาย เรื่องราว ข้อเท็จจริง และเหตุการณ์ต่างๆ 3. เข้าใจ หมายถึง การแปลความ ตีความ ขยายความ และสรุปอ้างอิง 4. สรุ ป สาระส าคั ญ หมายถึง การสรุป ใจความส าคั ญ ของเนื้ อเรื่อ งได้ อย่ างสั้ น ๆ กระชับ และ ครอบคลุม 5. วิเคราะห์ หมายถึง การแยกแยะเรื่องราว ข้อเท็จจริง เหตุผล ข้อคิดเห็น คุณค่า และส่วนประกอบ อื่น ๆ 6. ประเมินค่า หมายถึง การตัดสินความถูกต้อง ความชัดเจน ความเหมาะสม คุณค่า ตามเกณฑ์ที่ กาหนด 7. สื่อประเภทต่างๆ หมายถึง สิ่งที่นาเสนอเรื่องราวและข้อมูลต่างๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจาวัน ทั้งที่ เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน นิทาน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลง บทร้อยกรอง และสาระความรู้จากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ 8. น าความรู้ และข้ อคิด ไปใช้ ใ นชีวิตประจาวัน หมายถึ ง การเลื อกนาความรู้ ความเข้าใจ สาระสาคัญ ความคิด และข้อมูลที่ ได้จากการวิเคราะห์และประเมิน ค่า ไปใช้เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหา การตัดสินใจ หรือตามจุดมุ่งหมายอันเป็นประโยชน์ในการดาเนินชีวิต 9. ภาษาพูด หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างไม่เป็นทางการ เป็นกันเองและสุภาพ เหมาะสมโดย คานึงถึงฐานะของบุคคล 10. ภาษาเขียน หมายถึง ภาษาที่ใช้สื่อสารอย่างเป็นทางการ โดยเลือกใช้คาที่เหมะสมกับบุคคล สถานการณ์ และคานึงถึงความถูกต้องตามหลักภาษา 11. สื่อสาร หมายถึง การถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และความคิด จากการอ่าน โดยการบอกเล่า หรือเขียน อธิบาย วิเคราะห์ หรือประเมินค่า 12. สร้างสรรค์ หมายถึง การใช้ภาษาพูดหรืกภาษาเขียนจากการอ่า แสดงความรู้และความคิดใหม่ ที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพที่สูงกว่าเดิม 13. วิจารณญาณ หมายถึง การใช้ความรู้ ความคิด ทาความเข้าใจเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล โดย อาศัยประสบการณ์ พิจารณา ตัดสินเรื่องที่อ่านด้วยความรอบคอบ 6
  • 7. ระดับความสามารถชั้นปี ระดับชั้น ความสามารถ คาสาคัญ ประถมศึกษาปีที่ ๓ สามารถอธิบายความหมายจากเรื่องที่อ่าน 1. อธิ บ ายความหมายจากเรื่ องที่ อ่ า น ในสื่ อประเภทต่างๆ คาดคะเนเหตุการณ์ หมายถึ ง ความสามารถในการขยาย สรุ ป เรื่ อ งราว และข้อ คิดจากการอ่านเพื่ อ เพิ่มเติมความรู้ หรือข้อคิดเห็นที่ได้จาก การอ่านเรื่องที่เหมาะกับระดับชั้นเรียน น าไปใช้ในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์ และ และตามความสนใจของนักเรียน โดย สื่ อ สารแสดงความคิ ด เห็ น ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง การตอบคาถามด้วยการเขียนหรือด้วย เหมาะสม และสร้างสรรค์ วิธีการสื่ อสารอื่นๆ ได้อย่างถูกต้องและ ตัวชี้วัด ชัดเจน ๑. อธิบายความหมายจากเรื่องที่อ่าน 2. สื่ อประเภทต่างๆ หมายถึง สิ่ งที่ ๒. คาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อาน นาเสนอเรื่องราวและข้อมูลต่างๆ ที่พบ ๓. สรุปเรื่องราวและข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน เห็ น ในชี วิ ต ประจ าวั น ทั้ ง ที่ เ ป็ น สื่ อ ๔. วิเคราะห์เรื่องที่อ่านได้อย่างถูกต้อง สิ่ ง พิ ม พ์ และสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ซึ่ ง ๕. นาข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่านไปใช้ใน นาเสนอข่ า วและเหตุ ก ารณ์ ป ระจ าวั น ชีวิตประจาวัน นิทาน เรื่องเล่าสั้น ๆ บทเพลง บทร้อย 6. สื่อสารความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านอย่าง กรอง และสาระความรู้จากบทเรียนใน มีเหตุผลและสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่นๆ 3. คาดคะเนเหตุก ารณ์ หมายถึ ง ความสามารถในการคิดคาดเหตุการณ์ เวลา ทิ ศทาง และผลที่อ าจจะเกิ ด ขึ้ น โดยใช้ ค วามรู้ ประสบการณ์ จ ากการ อ่านสนับสนุนได้อย่างสมเหตุสมผล 4. สรุ ป ใจความส าคั ญ หมายถึ ง ความสามารถในการจับใจความสาคัญ จากการอ่านที่เหมาะกับระดับชั้นเรียน 5. ข้อคิด หมายถึง ความสามารถในการ สรุปแนวคิดและแปลเจตนาของผู้เขียน เรื่ อ งที่ อ่ า น และเขี ย นสรุ ป เรื่ อ งที่ อ่ า น ด้วยการใช้ถ้อยคาภาษาของตนเอง 6. นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน หมายถึง น าข้ อ มู ล เรื่ อ งราว ข้ อ คิ ด ต่ า งๆ ไป ประยุกต์ใช้ โดยเลือกให้เป็นประโยชน์ ในการด าเนิน ชี วิ ต ทั้ ง ในการตั ด สิ น ใจ การแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับเหตุการณ์ และระดับชั้นเรียน 7
  • 8. ระดับชั้น ความสามารถ คาสาคัญ 7. วิเคราะห์ หมายถึง แยกข้อเท็จจริง ความคิ ดเห็ น และส่ ว นประกอบต่า งๆ ในเรื่องที่อ่านได้ถูกต้อง 8. สื่อสาร หมายถึง ความสามารถใน การใช้ถ้อ ยคาภาษาอย่างถูก ต้อง และ เหมาะสมกับระดับชั้นเรียน เพื่อแสดง ความรู้ในสิ่งได้อ่านให้คนอื่นเข้าใจตรง ตามวัตถุประสงค์ 9. ความคิดเห็น หมายถึง ความคิดที่ เกิ ด ขึ้ น จากข้ อ ความที่ อ่ า น โดยใช้ กระบวนการคิดอย่างมีเหตุผลเหมาะสม กั บ วั ย แ ล ะ พื้ น ฐ า น ค ว า ม รู้ แ ล ะ ประสบการณ์ของนักเรียนแต่ละคน 10. สร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารที่แสดงถึง ความสามารถด้านภาษาของนักเรียน สมเหตุสมผลและเป็นความคิดที่แปลก ใหม่ มีคุณค่า ตัวอย่างข้อสอบ ความสามารถด้านภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับพฤติกรรม ความรู้ การปรุงอาหารด้วยวิธีการทอด เป็นการทาอาหารให้สุกโดยใส่ เนื้อสัตว์หรือผักลงในกระทะที่ตั้งจนน้ามันร้อน เมื่อทอดเสร็จแล้ว ตัวชี้วัด ๑. อธิบายความหมาย ควรให้อาหารที่ทอดสะเด็ดน้ามัน ใช้กระดาษซับน้ามันดูดซับน้ามัน จากเรื่องที่อ่าน ออกจากอาหารที่ทอดได้ อาหารที่ผ่านการสะเด็ดน้ามันเป็นอย่างดี จะคงความกรอบให้ยาวนานได้อีกด้วย อิงมาตรฐานตามหลักสูตร ภาษาไทยสาระที่ 1 การอ่าน คาถาม อาหารทอดจะคงความกรอบได้ดีควรทาอย่างไร มฐ. ท 1.1 (ป. 3/5) 1) ทอดในน้ามันที่ร้อนจัด 2) ใช้เวลาทอดนานขึ้น 3) ให้อาหารสะเด็ดน้ามัน 4) ทาอาหารให้สุกก่อนทอด 8
  • 9. แนวการตอบ (เฉลย) ข้อ 3) ให้อาหารสะเด็ดน้ามัน เกณฑ์ในการให้คะแนน ตอบถูก ได้ 1 คะแนน ตอบผิด ได้ 0 คะแนน ความสามารถด้านภาษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับพฤติกรรม นาไปใช้ อึ่งอ่างตัวหนึ่งอาศัยอยู่ริมบึง มันนึกว่าตัวเองเก่งกว่าใคร ๆ วันหนึ่งอึ่งอ่างขึ้นมานอนหน้าบึ้ง ผึ่งแดดอยู่ริมบึง มันได้ยินเสีย งผึ้ง ตัวชี้วัด 5. นาข้อคิดที่ได้จาก บินมา อึ่งอ่างอยากสู้กับผึ้งจึงดึงใบบัวมาบังตัว พอผึ้งมากินน้าที่ริม เรื่องที่อ่านไปใช้ในชีวิตประจาวัน บึ ง มั น ก็ แ ลบลิ้ น จะท าร้ า ยผึ้ ง ผึ้ ง รู้ ว่ า ถู ก อึ่ ง อ่ า งเล่ น งาน จึ ง ใช้ อิงมาตรฐานตามหลักสูตร เหล็ กในต่อย อึ่งอ่างรู้สึ กปวดลิ้นมาก มันส านึกผิ ดที่คิดทาร้ายผึ้ ง ภาษาไทยสาระที่ 1 การอ่าน ผึ้งจึงช่วยดึงเหล็กในออกให้ อึ่งอ่างซาบซึ้งและไม่อวดเก่งอีกเลย มฐ. ท 1.1 (ป. 3/5) คาถาม ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน สามารถนาไปใช้ในเรื่องใด 1) ถ้ามีภัยมาถึงตัวต้องยอมรับ 2) ถ้าจะสู้กับใครต้องมีความมั่นใจ 3) ถ้าถูกทาร้ายต้องป้องกันตัวเอง 4) ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข แนวการตอบ (เฉลย) 4) ถ้าอยู่ร่วมกันอย่างสันติชีวิตจะมีสุข เกณฑ์ในการให้คะแนน ตอบถูก ได้ 1 คะแนน ตอบผิด ได้ 0 คะแนน 9
  • 10. ความสามารถด้านคานวณ(Numeracy) ความสามารถด้านคานวณ (Numeracy) หมายถึง ความสามารถในการใช้ทักษะการคิดคานวณ ความคิดรวบยอด และทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน คาสาคัญ(Key characteristics) 1. ทักษะการคิดคานวณ หมายถึง ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อย่าง ถูกต้อง คล่องแคล่ว 2. ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ จานวนนับ เศษส่วน ทศนิยม และร้อยละ ความยาว ระยะทาง น้าหนัก พื้นที่ ปริมาตร ความจุ เวลา เงิน ทิศ แผนผัง และขนาด ของมุม ชนิดและสมบัติของรูปเรขาคณิต แบบรูปและความสัมพันธ์ แผนภูมิและกราฟ การคาดคะเนการ เกิดขึ้นของเหตุการณ์ต่าง ๆ 3. ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ได้แก่ ความสามารถในการแก้ปัญหาด้วย วิธีการที่หลากหลาย การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ การนาเสนอ การเชื่อมโยง ความรู้และการมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ระดับความสามารถชั้นปี ระดับชั้น ความสามารถ ตัวชี้วัด ประถมศึกษาปีที่ 3 ความสามารถในการใช้ทักษะกระบวนการ 1. สามารถนาการบวก การลบ การคูณ ทางคณิตศาสตร์โดยเน้นการสื่อสาร การสื่อ การหารและการบวก ลบ คูณ หาร ความหมายทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา ระคน ของจานวนนับไปใช้ในการ โดยวิธีการที่หลากหลาย และการให้เหตุผล แก้ปัญหาโดยวิธีการที่หลากหลาย ในเรื่องจานวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์ 2. สามารถนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ไป การเปรียบเทียบและคาดคะเน (ความยาว ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ น้ าหนั ก ปริ ม าตร หรื อ ความจุ ) เงิ น และ ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ เวลา การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติ ในการสื่อสาร การสื่อความหมายได้ ที่เป็นส่วนประกอบของรูปเรขาคณิตสามมิติ อย่างถูกต้อง มีการให้เหตุผล การ แบบรู ป และความสั มพั น ธ์ การอ่ า นข้ อ มู ล เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆได้อย่างเหมาะสม จากแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิแท่ง และนา สอดคล้อง กับชีวิตประจาวัน ความรู้ ท างคณิ ต ศาสตร์ ไ ปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ขอบข่ายการสร้างข้อคาถาม 1. การบวกจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 10
  • 11. ระดับชั้น ความสามารถ ตัวชี้วัด 2. การลบจานวนที่ตัวตั้งไม่เกิน100,000 3. การคูณจานวนหนึ่งหลักกับจานวนไม่เกิน สี่หลัก 4. การหารที่ตัวตั้งไม่เกินสี่หลักและตัวหารมี หนึ่งหลัก 5. การบวก ลบ คูณ หารระคน 6. การเปรียบเทียบและคาดคะเนความยาว น้าหนัก ปริมาตร และความจุ เงิน และ เวลา 7. การอ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย กิจกรรม หรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา 8. การบอกชนิดของรูปเรขาคณิตสองมิติที่ เป็น ส่วนประกอบของ รูปเรขาคณิตสามมิติ 9. แบบรูปของจานวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 ทีละ 50 10. แบบรูปของจานวนที่ลดลงทีละ 3 ทีละ 4 ทีละ 5 ทีละ 25 ทีละ 50 11. แบบรูปซ้า 12. แบบรูปของรูปที่มีรูปร่างขนาด หรือสี ที่สัมพันธ์กันสองลักษณะ 13. การอ่านแผนภูมิรูปภาพและแผนภูมิ แท่ง 11
  • 12. ตัวอย่างข้อสอบ ความสามารถด้านคานวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 คาชี้แจง จากข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 1 – 2 ระดับพฤติกรรม/ ปัจจุบันโลกกาลังประสบปัญหาภาวะโลกร้อน จากการทิ้งขยะ ซึ่งควร ทักษะกระบวนการ แยกระหว่าง ขยะเปียก แก้ว พลาสติก และขยะที่เป็นพิษ เพื่อสามารถนาไป - วิเคราะห์ กาจัดได้อย่างถูกวิธี เนื่องจากระยะเวลาการย่อยสลายแตกต่างกัน เช่น โฟม ใช้เวลา 1,000 ปี ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ ผ้าอ้อมสาเร็จรูป ใช้เวลา 500 ปี – จานวนนับ การลบ ถุงพลาสติก ใช้เวลา 450 ปี ทักษะกระบวนการทาง อะลูมิเนียม ใช้เวลา 100 ปี คณิตศาสตร์ ถ้วยกระดาษเคลือบ ใช้เวลา 5 ปี – ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง เศษกระดาษ ใช้เวลา 5 เดือน คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1. แจ๋วใช้ถุงพลาสติกใส่อาหารเช้า เจี๊ยบใช้กล่องโฟมใส่อาหารกลางวัน กับชีวิตประจาวัน ขยะของใครใช้เวลาในการย่อยสลายมากกว่ากันและมากกว่ากันกี่ปี – ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ 1) เจี๊ยบมากกว่าแจ๋ว 450 ปี แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 2) แจ๋วมากกว่าเจี๊ยบ 450 ปี – ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง 3) เจี๊ยบมากกว่าแจ๋ว 550 ปี คณิตศาสตร์ในการสื่อ 4) แจ๋วมากกว่าเจี๊ยบ 550 ปี ความหมายทางคณิตศาสตร์ เฉลย 3) – เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน เกณฑ์การให้คะแนน คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ อิงมาตรฐานตามหลักสูตร ค 1.1 ป.3/1-2 ค 1.2 ป.3/1-2 ค 6.1 ป.3/1-5 ระดับพฤติกรรม/ 2. ใครช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ดีที่สุด ทักษะกระบวนการ 1) ดา ให้ลูกใช้ผ้าอ้อมสาเร็จรูป - นาไปใช้ 2) ขาว ใช้ถุงพลาสติกใส่อาหาร ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ 3) แดง ใช้ถ้วยพลาสติกใส่นมสดดื่ม – จานวนนับ การเปรียบเทียบ 4) ชมพู ใช้เศษกระดาษผสมดินปลูกต้นไม้ ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ เฉลย 4) – ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ เกณฑ์การให้คะแนน แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวัน 12
  • 13. – ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ – ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ – เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ อิงมาตรฐานตามหลักสูตร ค 1.1 ป.3/1 – 2 ค 6.1 ป.3/1-5 คาชี้แจง จากข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ตอบคาถามข้อ 3 – 4 ระดับพฤติกรรม/ คุณครูให้โหน่ง หม่า และ เท่ง เลือกจานวนเต็มคนละ 6 จานวน ทักษะกระบวนการ ได้ผลการเลือกดังนี้ - วิเคราะห์ ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ จำนวนทีเ่ ลือกได้ – จานวนนับ การหาร 12 16 4 ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ 18 10 20 – ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน โหน่ง สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับชีวิตประจาวัน จำนวนทีเ่ ลือกได้ – ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ 10 40 30 แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 70 20 60 – ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการสื่อ หม่า ความหมายทางคณิตศาสตร์ – เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง จำนวนทีเ่ ลือกได้ คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ อิงมาตรฐานตามหลักสูตร 35 10 25 ค 1.2 ป.3/1 50 45 40 ค 6.1 ป.3/1 - 5 เท่ง 13
  • 14. 3. จากข้อมูลข้างต้น ข้อใดสรุปเกี่ยวกับจานวนที่โหน่งเลือก ได้ถูกต้อง 1) เป็นจานวนที่ 2 และ 5 หารลงตัว 2) เป็นจานวนที่หารด้วย 5 ลงตัว 3) เป็นจานวนที่ 2 หารลงตัว 4) เป็นจานวนที่ 3 หารไม่ลงตัว เฉลย 3) เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน 4. จานวนที่เลือกได้ทุกจานวนของใคร ที่หารด้วย 5 และ 10 ลงตัว ระดับพฤติกรรม/ 1) หม่า ทักษะกระบวนการ 2) เท่ง - วิเคราะห์ 3) หม่า กับ โหน่ง คาอธิบายขยายความ 4) เท่ง กับ โหน่ง ทักษะทางการคิดคานวณ – การหาร เฉลย 1) ความคิดรวบยอดทางคณิตศาสตร์ – จานวนนับ การหาร เกณฑ์การให้คะแนน ทักษะกระบวนการทาง ตอบถูกต้องได้ 1 คะแนน ตอบผิดหรือไม่ตอบได้ 0 คะแนน คณิตศาสตร์ – ใช้วิธีการที่หลากหลายทาง คณิตศาสตร์แก้ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับชีวิตประจาวัน – ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ – ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทาง คณิตศาสตร์ในการสื่อ ความหมายทางคณิตศาสตร์ – เชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ใน คณิตศาสตร์และเชื่อมโยง คณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ อิงมาตรฐานตามหลักสูตร ค 1.2 ป.3/1 ค 6.1 ป.3/1 - 5 14
  • 15. ความสามารถด้านเหตุผล(Reasoning ability) ความสามารถด้านเหตุผล (Reasoning Ability) หมายถึง ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และประสบการณ์ ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการดาเนิน ชีวิต โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และตัดสินใจอย่างมีหลักการ และเหตุผล บนพื้นฐานของข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลักคุณธรรมและจริยธรรม ระดับความสามารถชั้นปี ระดับชั้น ความสามารถ ตัวชี้วัด ประถมศึกษาปีที่ ๓ ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ และ 1. วิเคราะห์ด้วยการเปรียบเทียบข้อมูล ประสบการณ์ และประสบการณ์ ด้ า น สถานการณ์ หรื อ สารสนเทศโดยใช้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ า น ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมและเศรษฐกิจ และด้ านการ สังคมศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และด้านการ ดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล ดาเนิ น ชี วิ ต โดยการวิ เ คราะห์ สั ง เคราะห์ 2. จั ด กลุ่ ม ข้ อ มู ล สถานการณ์ หรื อ ประเมิ น ค่ า (การเปรี ย บเที ย บ จั ด กลุ่ ม ส า ร ส น เ ท ศ โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ด้ า น วางแผน เลื อ กแนวทาง) แก้ ปั ญ หาหรื อ วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม ตั ด สิ น ใจอย่ า งมี ห ลั ก การและเหตุ ผ ล บน และเศรษฐกิจ และด้านการดาเนินชีวิต พื้ น ฐ า น ข อ ง ข้ อ มู ล ส ถ า น ก า ร ณ์ ห รื อ อย่างมีเหตุผล สารสนเทศที่เพียงพอ โดยยึดหลัก คุณธรรม 3 . น า ข้ อ มู ล ส ถ า น ก า ร ณ์ ห รื อ สารสนเทศมาวิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ใน และจริยธรรม ก า ร ว า ง แ ผ น โ ด ย ใ ช้ ค ว า ม รู้ ด้ า น วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม ขอบข่ายสิ่งเร้า/สาระการเรียนรู้ และเศรษฐกิจ และด้านการดาเนินชีวิต - การจัดการอารมณ์และความเครียดของ อย่างมีเหตุผล ตนเอง 4. วิ เ คราะห์ แ ละก าหนดปั ญ หาและ - การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค สามารถหาแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล เลือกใช้ - ความปลอดภัยในชีวิต ข้อมูล สถานการณ์ หรือสารสนเทศใน - การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง การตัดสินใจและ/หรือแก้ปัญหา โดยใช้ - บุคลิกภาพ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม - ปฏิสัมพันธ์ในครอบครัว ด้านสังคมและเศรษฐกิจ และด้านการ - การสร้างสัมพันธภาพที่ดี ดาเนินชีวิตอย่างมีเหตุผล - วิถีประชาธิปไตย - ศาสนาที่ตนเองนับถือ 15
  • 16. ระดับชั้น ความสามารถ ตัวชี้วัด - การอยู่ร่วมกันในความหลากหลายของ ศาสนา - มารยาทไทย ภาษา การแต่งกาย - มรรยาทชาวพุทธและศาสนาที่ตนนับถือ - วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านภาษา การแต่งกาย และทักษะทางสังคม - ปัญหาสังคมที่ส่งผลต่อการอยู่ร่วมกัน - ปัญหาที่มีผลกระทบต่อร่างกาย อารมณ์ - ปัญหาที่มีผลกระทบต่อสังคมชุมชน ประเทศชาติ - เศรษฐกิจพอเพียง (การใช้จ่าย การออม การเลือก การใช้สินค้า บริการ อย่าง เหมาะสม) - วิถีทางที่ทาให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีด้านการ ใช้ทรัพยากร ด้านการปฏิบัติตน ด้าน การใช้จ่าย - ลาดับเหตุการณ์สาคัญที่ส่งผลต่อวิถีชีวิต (การเลือกตั้งในท้องถิ่น) - ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดมีผลต่อ การผลิต การบริโภคและการบริการ ในครอบครัว - ความเหมือน ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี - วัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านสังคม - เห็นคุณค่าและยอมรับความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม - ผลการแข่งขันทางการค้าเสรี - การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - ลมฟ้าอากาศ - ธรณีพิบัติภัย 16
  • 17. ระดับชั้น ความสามารถ ตัวชี้วัด - ทรัพยากรธรรมชาติ - สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต - การขยายพันธุ์พืชและสัตว์ - พันธุกรรม - วัสดุ แรง เสียง - ทิศ - ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ - กลางวัน กลางคืน - การพึ่งพาสิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ ในการ ดารงชีวิต - ความแตกต่างของเมืองและชนบท - มลพิษที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ - การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมจากอดีต ถึงปัจจุบัน - การดารงชีวิตในยุคเทคโนโลยี - การผลิตและการใช้ไฟฟ้า 17
  • 18. ตัวอย่างข้อสอบ ความสามารถด้านเหตุผล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับพฤติกรรม/ทักษะ กระบวนการ วิเคราะห์ ตัวชี้วัด 1. วิเคราะห์ด้วยการเปรียบเทียบ ข้อมูล สถานการณ์ หรือ สารสนเทศโดยใช้ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม ด้านสังคมและเศรษฐกิจ และ ด้านการดาเนินชีวิตอย่างมี เหตุผล 1. การกระทาตามภาพนี้จะเกิดผลโดยตรงต่อคนในชุมชนตามข้อใด มากที่สุด อิงมาตรฐานตามหลักสูตร 1) เป็นโรคทางเดินอาหาร 2) แมลงและหนูรบกวน* มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูปรับปรุง 3) เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย สิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน 4) อากาศเป็นพิษ (ส.5.2 ป.2/4) ความสามารถด้านเหตุผล ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ระดับพฤติกรรม/ทักษะ กระบวนการ การนาไปใช้ เกษตรกร กล่าวว่า การนาข้าวเปลือกมาตากไว้ริมคลอง ชลประทาน ก่อนส่งขายจะได้ราคาดี และถ้าไม่มีคนเฝ้า ข้าวเปลือก ตัวชี้วัด อาจถูกฝน และขายไม่ได้ราคา พวกเขาและครอบครัวจึงผลัดเปลี่ยน 3. นาข้อมูล สถานการณ์ หรือ กันนอนเฝ้าข้าวที่ตากจนกว่าข้าวจะแห้ง สารสนเทศมาวิเคราะห์ ประยุกต์ใช้ในการวางแผน โดย ปรับมาจากผู้จัดการออนไลน์ 15 พฤศจิกายน 55 ใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ สิ่งแวดล้อม ด้านสังคมและ เศรษฐกิจ และด้านการดาเนิน ชีวิตอย่างมีเหตุผล 18
  • 19. อิงมาตรฐานตามหลักสูตร 2. ข้อใดเป็นเหตุผลสาคัญที่สุดที่เกษตรกรครอบครัวจึงผลัดเปลี่ยนกัน ทักษะชีวิต นอนเฝ้าข้าวที่ตาก 1) ต้องการขายข้าวได้เร็วขึ้น 2) ต้องการให้ทุกคนทาหน้าที่ 3) ต้องการขายข้าวให้ได้ราคาสูง * 4) ต้องการให้ได้ข้าวเปลือกที่มีคุณภาพ ข้อสอบที่ใช้ในการสอบ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 แสดงรายละเอียด ดังตาราง แบบทดสอบความสามารถ จานวนข้อ เวลา ด้านภาษา(Literacy) 30 50 ด้านคานวณ(Numeracy) 30 60 ด้านเหตุผล(Reasoning ability) 30 50 ตารางสอบ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2555 กาหนดสอบ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556 รายละเอียดกาหนดสอบ ตามตารางสอบดังนี้ วันสอบ 8.30-9.20 น. 10.00-11.00 น. 12.30-13.20 น. 21 ก.พ. 2556 ความสามารถ พัก ความสามารถ พัก ความสามารถ ด้านภาษา ด้านคานวณ ด้านเหตุผล 4. แผน และวิธีการประเมิน งานการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปีการศึกษา 2555 ของเขตพื้นที่การศึกษา ร่วมมือ กับส่วนกลางในการวางแผนการประเมิน การแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทางานชุดต่าง ๆ เพื่อรองรับงาน ประเมิ น การจั ด สอบ การก ากับ ติ ดตามการประเมิน การรวบรวมกระดาษคาตอบเพื่ อน าส่ ง ส่ ว นกลาง ตลอดจนการนาผลการประเมินไปปรับปรุง พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน ของเขตพื้นที่การศึกษา โรงเรี ย น และนั ก เรี ย นเป็ น รายบุ ค คล จึ ง จ าเป็ น ต้ อ งจั ด ระบบการบริ ห ารจั ด การให้ รั ด กุ ม เป็ น ไปอย่ า ง มีประสิทธิภาพ ในทุกพื้นที่ของเขตพื้นที่การศึกษา 19
  • 20. ภาระที่สาคัญในการจัดการประเมินประการหนึ่งคือการบริหารจัดการให้มีความคล่องตัว รองรับระบบ การประเมินได้อย่างมีประสิทธิภาพ เขตพื้นที่การศึกษาจึงควรแบ่งภาระรับผิดชอบออกเป็นศูนย์ประสานการสอบ ซึ่งอาจแบ่งเป็นศูนย์ตามอาเภอต่าง ๆ ในเขตพื้นที่การศึกษา โดยรองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แต่ละท่าน ที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาในแต่ละพื้นที่ (Area Based) เป็นผู้รับผิดชอบดูแล บริหารจัดการศูนย์ ประสานการสอบในพื้นทีที่ตนรับผิดชอบ ่ การดาเนินงานประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2555 ชั้ น ประถมศึก ษาปี ที่ 3 ได้ ก าหนดแผน และวิธี ก ารประเมิ น ในส่ ว นกลางโดยส านั ก ทดสอบทาง การศึกษา และ เขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้ การดาเนินงานในส่วนกลาง 1. เพื่อให้การดาเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2555 มีประสิทธิภาพ มีความเป็นมาตรฐาน สอดคล้องกับนโยบาย และวิธีการประเมินคุณภาพ การศึกษา รวมทั้งเพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายงานความก้าวหน้าด้านผลสัมฤทธิ์ ของนักเรียน ให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน และใช้เป็นข้อมูลส่งเสริม สนับสนุน และ พัฒ นาการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างต่อเนื่อ ง จึงได้แต่งตั้ง คณะกรรมการต่าง ๆดังต่อไปนี้ 1.1 คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพ ผู้เรียน ปีการศึกษา 2555 โดย มีเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นที่ปรึกษา รองเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (นางเบญจลักษณ์ น้าฟ้า) เป็นประธานกรรมการ ที่ปรึกษา สพฐ. ผู้เชี่ยวชาญ สพฐ. ผู้อานวยการสานัก/ผู้แทนหน่วยงานใน สพฐ. เป็นกรรมการ ผู้อานวยการสานักทดสอบทาง การศึกษา เป็นกรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่พิจารณากาหนดรูปแบบ หลักการและแนวทางการประเมิน คุณ ภาพการศึก ษา เพื่ อ ตรวจสอบคุ ณ ภาพการจั ด การศึ ก ษาขั้ น พื้ นฐาน และรายงานความก้ า วหน้ า ด้ า น ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน รวมทั้งการส่งเสริม สนับสนุน การนาผลไปใช้ และพัฒนาการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อย่างต่อเนื่อง เสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงาน การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การประเมิน ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ให้คาแนะนา กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระบบ และแต่งตั้ง คณะกรรมการ (เพิ่มเติม) คณะอนุกรรมการ หรือคณะทางานเฉพาะเรื่อง ตามความจาเป็นและเห็นสมควร เพื่อปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่คณะกรรมการมอบหมาย 1.2 คณะกรรมการดาเนินงานประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา 2555 โดย ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเป็นประธานกรรมการ รองผู้อานวยการสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบการประเมิน เป็นรองประธานกรรมการ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาทุกคน ผู้อานวยการกลุ่มในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกกลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิจากคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการจัดการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ผู้แทนสถานศึกษาระดับ ประถมศึกษา ผู้แทนสถานศึกษาสังกัดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ศึกษานิเทศก์ทุกคนเป็นกรรมการ ผู้อานวยการกลุ่ม นิ เ ทศ ติ ด ตามและประเมิ น ผลการศึ ก ษา เป็ น กรรมการและเลขานุ ก าร ศึ ก ษานิ เ ทศก์ ก ลุ่ ม งานวั ด และ ประเมินผลฯ และศึกษานิเทศก์กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เป็นกรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ มีหน้าที่กาหนดแผนดาเนินงานประเมินคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขต 20
  • 21. พื้นที่การศึกษา ตามนโยบาย หลักการและแนวทางที่คณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ (ส่วนกลาง) กาหนด ให้คาแนะนา กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานประเมินคุณภาพ การศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาที่รับผิดชอบฯ แต่งตั้งคณะกรรมการ (เพิ่มเติม) คณะอนุกรรมการ คณะทางาน เฉพาะเรื่อง ตามความจาเป็นและเห็นสมควร เพื่อปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่คณะกรรมการดาเนินการประเมิน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา มอบหมาย 2. ประชุมคณะกรรมการการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ(ส่ ว นกลาง) เพื่อพิจารณา กาหนดรูปแบบ หลักการ และแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา เพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 3. ประชุมปฏิบัติการคณะกรรมการดาเนินงานระดับเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อกาหนดแผนปฏิบัติงาน ประเมินการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฯ ปีการศึกษา 2555 ระหว่างส่วนกลาง กับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 4. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/คณะทางาน เพื่อปฏิบัติงาน ตามกิจกรรมในแผนการประเมิน 5. จั ดสรรงบประมาณการดาเนิ น งานประเมินให้ เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยจัดสรร งบประมาณตามสัดส่วน โรงเรียน และจานวนนักเรียน ของแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา 6. จัดทาต้นฉบับแบบทดสอบและเอกสารประกอบ 7. จัดส่งแบบทดสอบและเอกสารประกอบให้เขตพื้นที่การศึกษาก่อนวันสอบ 8. คณะติด ตามและประเมิน ผลการดาเนินงานการประเมิ นจากส่ ว นกลาง (ผู้ เชี่ ยวชาญ และ นักวิชาการจากสานักทดสอบทางการศึกษา) ติดต่อ ประสานการดาเนินการสอบกับเขตพื้นที่การศึกษา และ ปฏิบัติงานก่อนวันสอบ วันสอบ และหลังสอบ เพื่อให้คาแนะนา แก้ปัญหาอุปสรรคที่เกิดจากการปฏิบัติงาน และรายงานผลการปฏิบัติงานการประเมินให้กับ สพฐ. 9. รับกระดาษคาตอบแบบจากเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ตามวันที่กาหนด 10. ตรวจกระดาษคาตอบ วิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูล และรายงานผล 11. รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2555 12. ติดตาม สนับสนุนเขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึ กษาทุกแห่ง นาผลการประเมินไปใช้ วางแผนและ ดาเนิน การปรับปรุงการเรีย นการสอนของโรงเรียน และการดาเนินการของเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อแก้ไข จุดอ่อนด้อยของนักเรียนเป็นรายบุคคล และรายโรงเรียน การดาเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพื่ อให้ ก ารดาเนิ น งานประเมิน คุณ ภาพการศึก ษาขั้น พื้น ฐาน เพื่ อการประกั นคุ ณ ภาพผู้ เ รีย น ปีการศึกษา 2555 ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา มีประสิทธิภาพ และมาตรฐานเดียวกันทุก เขตพื้นที่การศึกษา ควรมีแนวดาเนินการ ดังนี้ 1. จัดเตรียมแผนการประเมิน ฯ ของเขตพื้นที่การศึกษา สารวจข้อมูลนักเรียนตามกลุ่มเป้าหมาย พร้อมเข้าระบบ EPCC ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลจานวนนักเรียน โรงเรียน ให้ถูกต้องเรียบร้อยและเป็น ปัจจุบัน 21