SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 29
Baixar para ler offline
ขั้นตอนการแก้ ปัญหา
การถ่ ายทอดความคิดในการแก้ ไขปัญหา
ความหมาย
กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process)
          คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรื อตอบสนองต่อความต้องการซึ่งจะ
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็ นผลผลิตหรื อผลลัพธ์ระบบ
เทคโนโลยีโดยก่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ตามที่มนุษย์ตองการและ
                                                  ้
เปลี่ยนแปลงการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทากิจกรรมต่างๆของ
มนุษย์ เพราะมนุษย์มีความต้องการในการสร้างสิ่ งอานวยความสะดวก
ต่างๆในการดารงชีวิต
ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา

       วิธีการแก้ ปัญหาอย่ างเป็ นระบบ มีข้นตอน คือ
                                           ั
 ขันตอนที่ 1 วิเคราะห์ ปัญหาและกาหนดรายละเอียดของ
    ้
              ปัญหา
 ขันตอนที่ 2 วางแผนในการแก้ ปัญหา
          ้
 ขันตอนที่ 3 ดาเนินการแก้ ปัญหา
      ้
 ขันตอนที่ 4 การตรวจสอบและปรับปรุง
        ้
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ปญหาและกาหนดรายละเอียดของปัญหา
                       ั
            จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือการทาความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยก
ให้ออกว่าข้อมูลที่กาหนดมาในปัญหาหรื อเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และ
สิ่ งที่ตองการคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหา
         ้
ใด กล่าวโดยสรุ ปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้
        1. การระบุขอมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาหนด
                   ้
มาในปัญหา
        2. การระบุขอมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้ าหมายหรื อสิ่ งที่ตองหา
                     ้                                             ้
คาตอบ
        3. การกาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีหา
คาตอบหรื อข้อมูลออก
ขั้นตอนที่ 2 วางแผนในการแก้ปญหา
                              ั
         ขั้นตอนนี้จาเป็ นต้องอาศัยประสบการณ์ของผูแก้ปัญหาเป็ น
                                                       ้
หลัก ขั้นตอนนี้จะเริ่ มจากการเลือกเครื่ องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดย
พิจารณาความเหมาะสมระหว่างเครื่ องมือกับเงื่อนไขต่างๆ ของปัญหาซึ่ง
หมายรวมถึงความสามารถของเครื่ องมือในการแก้ปัญหาดังกล่าว และสิ่ งที่
สาคัญคือความคุนเคยในการใช้งานเครื่ องมือนั้นๆ ของผูแก้ปัญหา
                ้                                        ้
ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการแก้ปญหา
                            ั

         ขั้นตอนนี้เป็ นขั้นตอนที่ตองลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่ องมือที่ได้
                                    ้
เลือกไว้ข้นตอนนี้กเ็ ป็ นการใช้โปรแกรมสาเร็ จหรื อใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียน
          ั
โปรแกรมแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้ตองอาศัยความรู ้เกี่ยวกับเครื่ องมือที่เลือกใช้ซ่ ึง
                                  ้
ผูแก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะที่ดาเนินการหากพบ
  ้
                                ็
แนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้กสามารถปรับเปลี่ยนได้
การแก้ ปัญหาด้ วยกระบวนการสารสนเทศ
         หลักการแก้ปัญหาตามวิธีวิทยาศาสตร์
         หลักการแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิศวกรรม
         วิธีการแก้ปัญหาแบบสร้างสรรค์
ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบและปรับปรุง

            หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้
ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผูแก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้น
                            ้
สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก
เพื่อให้มนใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ในทุกกรณี อย่างถูกต้องและ
         ั่
สมบูรณ์ แบ่งได้เป็ น 2 ขั้นตอน ได้แก่
           การตรวจสอบและ
                                            การตรวจสอบโดย
             ปรับปรุงโดย
                                              ผู้ใช้ งานจริง
              ผู้ออกแบบ
การตรวจสอบและ
                      การตรวจสอบโดย
  ปรับปรุงโดย
                        ผู้ใช้งานจริง
   ผู้ออกแบบ


ควรกระทำระหว่ำง        ตรวจสอบภำยหลัง
กำรดำเนินงำนและ          กำรดำเนินงำน
  ภำยหลังกำร            เสร็จสิ ้นแล้ ว โดย
ดำเนินงำนเสร็จสิ ้น     จัดเก็บข้ อมูลจำก
      แล้ ว              ผู้ใช้ งำนโดยตรง
การถ่ายทอดความคิดในการแก้ไขปัญหาด้วย
            อัลกอริทม [ Algorithm ]
                    ึ

         อัลกอริทม (Algorithm) คือ กระบวนการ การทางานที่ใช้การ
                 ึ
ตัดสิ นใจ โดยนาหลักเหตุผลและคณิ ตศาสตร์มาช่วยเลือกวิธีการหรื อ
ขั้นตอนการดาเนินงานต่อไป จนกระทังถึงขั้นตอนสุ ดท้าย เป็ นวิธีการที่ใช้
                                  ่
แยกย่อยและเรี ยงลาดับขั้นตอนของกระบวนการในการทางานต่างๆ เพื่อเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพในการค้นหาและแก้ไขปัญหา
อัลกอริ ทึมที่ดีจะต้องได้ผลลัพธ์ตรงกับความต้องการเสมอ
ควรมีลกษณะดังนี้
      ั


 มีควำมถูกต้ องแม่นยำ                 เข้ ำใจได้ ง่ำยและชัดเจน




                 มีขนตอนหลักและขันตอนย่อย
                    ั้           ้
เครื่ องมือที่ใช้ในการจาลองความคิดมักจะประกอบขึ้นด้วย
เครื่ องหมายที่แตกต่างกันหลายอย่าง แต่พอสรุ ปได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ
1. การจาลองความคิดเป็ นข้ อความหรือคาบรรยาย (Algorithm) เป็ น
การเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็ นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน เพื่อให้
ทราบถึงขั้นตอนการทางานของการแก้ปัญหาแต่ละตอน ในบางครั้งอาจใช้
คาสังของภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมก็ได้
       ่
2. การจาลองความคิดเป็ นสั ญลักษณ์ หรือผังงาน (Flowchart)
    สัญลักษณ์ คือ เครื่ องหมายรู ปแบบต่างๆ ซึ่งใช้สาหรับสื่ อสาร
ความหมายให้เข้าใจตรงกัน สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริ กา ได้กาหนด
สัญลักษณ์ไว้เป็ นมาตรฐานแล้ว สามารถนาไปใช้ได้ตามความเหมาะสม
ต่อไป
การเขียนรหัสจาลอง

          รหัสลาลองหรื อ pseudocode เป็ นคาบรรยายที่เขียนแสดง
ขั้นตอนวิธี(algorithm) ของการเขียนโปรแกรม โดยใช้ภาษาที่กะทัดรัด
สื่ อสารกับโปรแกรมเมอร์ผเู ้ ขียนโปรแกรม โดยอาจใช้ภาษาที่ใช้ทวไปและ
                                                             ั่
อาจมีภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประกอบ แต่ไม่มีมาตรฐานแน่นอนใน
การเขียน pseudocode และไม่สามารถนาไปทางานบนคอมพิวเตอร์
โดยตรง(เพราะไม่ใช่คาสังในภาษาคอมพิวเตอร์) และไม่ข้ ึนกับ
                        ่
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง นิยมใช้ pseudocode แสดง
algorithm มากกว่าใช้ผงงาน เพราะผังงานอาจไม่แสดงรายละเอียดมาก
                             ั
นักและใช้สญลักษณ์ซ่ ึงทาให้ไม่สะดวกในการเขียน เช่นโปรแกรมใหญ่ ๆ
            ั
มักจะประกอบด้วยคาสังต่างๆที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ที่
                             ่
ใช้ในการเขียนโปรแกรมจริ งๆ เช่น begin…end, if…else,
do…while, while, for, read และ print การเขียนรหัส
จาลองจะต้องมีการวางแผนสาหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลต่างๆที่จะใช้ใน
โปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่ องหมายเท่ากับ (=) แทนการ
กาหนดค่าให้กาหนดตัวแปรนั้นๆ
   การเขียนผังงาน
        ผังงาน (flowchart) คือ แผนภาพซึ่งแสดงลาดับขั้นตอน
ของการทางาน โดยแต่ละขั้นตอนจะถูกแสดงโดยใช้สญลักษณ์ซ่ ึงมี
                                               ั
ความหมายบ่งบอกว่า ขั้นตอนนั้น ๆ มีลกษณะการทางาน ทาให้ง่ายต่อ
                                   ั
ความเข้าใจ ว่าในการทางานนั้นมีข้นตอนอะไรบ้าง และมีลาดับอย่างไร
                                ั
ประเภทของผังงาน
1. ผังงานระบบ (system flowchart)
เป็ นผังซึ่งแสดงขอบเขต และลาดับขั้นตอนการทางานของระบบหนึ่ง ๆ
2. ผังงานโปรแกรม (Program flowchart)
เป็ นผังงานซึ่งแสดงลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรมหนึ่ง ๆ

การใช้ สัญลักษณ์
           จะใช้สญลักษณ์ที่เป็ นรู ปภาพแทนคาสังการทางานโดยจะไม่ใช้
                    ั                         ่
คาอธิบายลักษณะการทางาน มีลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่
เริ่ มต้นไปสิ้ นสุ ดโปรแกรม
ตัวอย่ างสั ญลักษณ์
                      สัญลักษณ์           ความหมาย
                                         เริ่มต้ น/สิ ้นสุด

                                     รับข้ อมูลเข้ ำ/แสดงผล

                                    รับข้ อมูลเข้ ำจำกมนุษย์

                                  แสดงผลลัพธ์บนกระดำนด้ วย
                                         เครื่ องพิมพ์
                                       กำรประมวลผล
สัญลักษณ์            ความหมาย
               จุดต่อเนื่องภำยในหน้ ำ
                 เดียวกันของผังงำน
             จุดต่อเนื่องที่อยูคนละหน้ ำ
                              ่
                 ของผังงำนเดียวกัน
            ลูกศรแสดงลำดับกำรทำงำน
โครงสร้ างการเขียนผังงาน
         เป็ นรู ปแบบพื้นฐานของการเขียนผังงาน เนื่องจากเขียนได้ง่าย
และนาไปใช้งานมากี่สุด

      1.โครงสร้ างแบบเป็ นลาดับ
 (Sequence Structure)
      โครงสร้างลักษณะนี้เป็ นโครงสร้าง
 พื้นฐานของผังงาน และเป็ นลักษณะ
 ขั้นตอนการทางานที่พบมากที่สุด คือ
 ทางานทีละขั้นตอนลาดับ
2.โครงสร้ างแบบมีตัวเลือก
(Selection Structure)
โครงสร้างการทางานแบบมีการเลือกมี
รู ปแบบที่ซบซ้อนกว่าโครงสร้างแบบเป็ น
            ั
ลาดับรู ปแบบที่ง่ายที่สุดของโครงสร้างแบบ
นี้คือ การเลือกแบบมีทางออก 2 ทาง ในการ
เลือกแบบมีทางออก 2 ทาง นี้จะมีทางออก
จากสัญลักษณ์การตัดสิ นใจเพียง 2 ทาง คือ
ใช่หรื อไม่ใช่ เท่านั้น (แต่ระบบการเขียนผัง
งานระบบ อนุญาตให้มีทางออกจากการ
ตัดสิ นใจได้มากกว่า 2 ทาง)
3.โครงสร้ างแบบทาซ้า (Iteration Structure)
           โครงสร้างการทางานแบบทาซ้ า จะทางานแบบเดียวกันซ้ าไปเรื่ อย
ๆ ในขณะที่ยงเป็ นไปตามเงื่อนไขหรื อเงื่อนไขเป็ นจริ ง จนกระทั้งเงื่อนไข
              ั
เป็ นเท็จจึงทางานอื่นต่อไป
ประโยชน์ ของผังงาน
• ช่วยให้สามารถทาความเข้าใจลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
   หรื อระบบใด ๆได้อย่างรวดเร็ ว
• ช่วยแสดงลาดับขั้นตอนการทางาน ทาให้สามารถเขียนโปรแกรมได้
   อย่างเป็ นระบบไม่สบสน นอกจากนี้ผงงานยังเป็ นอิสระต่อภาษาที่ใช้ใน
                     ั              ั
   การ เขียนโปรแกรม กล่าวคือจากผังงานเดียวกันสามารถนาไปเขียน
   โปรแกรมด้วยภาษาใดก็ได้
• ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิด
   ข้อผิดพลาด ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ ว
• ช่วยให้ผอ่ืนสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และ
             ู้
   รวดเร็ วมากขึ้น
การเขียนโปรแกรม
                     ผังงานโปรแกรมสามารถนามาใช้เขียนโปรแกรม โดยในการเขียน
                                                      ่
โปรแกรมสามารถเลือกใช้ภาษาได้หลายภาษา ไม่วาจะเป็ นภาษาแอสเซมบลี
ภาษาเบสิ ก ภาษาซี ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล ภาษาฟอร์แทรน หรื อภาษา
อื่น ๆ ซึ่งแต่ละภาษาก็มีรูปแบบไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้แตกต่างกันออกไป
แต่โดยทัวไปแล้วจะมีรูปแบบหรื อโครงสร้างของคาสังที่คล้ายกัน โดยทัวไป
                   ่                                    ่             ่
ทุกคาสังจะมีคาสังพื้นฐานต่อไปนี้
        ่                   ่
• คาสังการรับข้อมูลเข้า และการแสดงผล
           ่
• คาสังการกาหนดค่า
             ่
• คาสังการเปรี ยบเทียบเงื่อนไข
               ่
• คาสังการทาซ้ าหรื อการวนลูป
                 ่
คาถาม
1.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร
ก.การทางานตามขั้นตอนทีกาหนด
                         ่
ข.ขั้นตอนการแก้ ปัญหาหรือตอบสนองต่ อความต้ องการ
ค.กระบวนการจัดการกับข้ อมูลข่ าวสาร
ง.การจัดการแบบลายุค้
2.การแก้ ปัญหาด้ วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีกี่
ขั้นตอน
ก.3                  ข.4         ค.5           ง.6
3.การวิเคราะห์ ปัญหาและกาหนดรายละเอียดของปัญหามี
องค์ ประกอบดังต่ อไปนี้ ยกเว้ นข้ อใด
ก.การกาหนดวิธีประมวลผล ข.การระบุข้อมูลออก
ค.การระบุข้อมูลเข้ า          ง.การวิเคราะห์ ข้อมูล

 4.การพิจารณาข้ อมูลและเงือนไขทีกาหนดมาในปัญหา อยู่
                          ่     ่
ในองค์ ประกอบใดของการวิเคราะห์ ข้อมูล
ก.การระบุข้อมูลเข้ า              ข.การระบุข้อมูลออก
ค.การกาหนดวิธีประมวลผล            ง.ก และ ข ถูกต้ อง
5. ข้ อใดไม่ ใช่ โครงสร้ างการเขียนผังงาน
ก.โครงสร้ างแบบลาดับ ข.โครงสร้ างแบบทางเลือก
ค.โครงสร้ างแบบซ้าซ้ อน ง.โครงสร้ างแบบทาซ้า

6.อัลกอริทมทีดต้องมีผลลัพธ์ ทดควรมีคุณสมบัตยกเว้ นข้ อ
             ึ ่ ี           ี่ ี           ิ
ใด
ก.ความแม่ นยาถูกต้ อง
ข.มีข้นตอนหลักและขั้นตอนย่ อย
         ั
ค.เข้ าใจง่ ายและชัดเจน
ง.มีข้นตอนทีผลลัพธ์ ออกมาหลายคาตอบไม่ ใช่ คาตอบ
       ั       ่
เหมือนเดิมทุกครั้ง
7.สั ญลักษณ์ ทใช้ ในการเขียนผังงาน มีไว้ เพืออะไร
              ี่                            ่
ก.แสดงขั้นตอนการทางาน ข.ความสวยงาม
ค.การจัดการข้ อมูล         ง.ลาดับข้ อมูล

8.การเขียนโปรแกรม โครงสร้ างของคาสั่ งทีคล้ ายกัน
                                          ่
โดยทัวไปทุกคาสั่ งจะมีคาสั่ งพืนฐานต่ อไปนียกเว้ นข้ อใด
     ่                          ้           ้
ก.คาสั่ งการรับข้ อมูลเข้ า และการแสดงผล
ข.คาสั่ งการทาซ้าหรือการวนลูป
ค.คาสั่ งการเปรียบเทียบเงือนไข
                             ่
ง.คาสั่ งการประเมินผลข้ อมูล
9.การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้ออกแบบควร
ดาเนินงานเวลาใด
ก.หลังการดาเนินงานเสร็จสิ้นแล้ ว
ข.ควรกระทาระหว่ างการดาเนินงานและภายหลังการ
ดาเนินงานเสร็จสิ้นแล้ ว
ค.ระหว่ างการดาเนินงาน
ง.ไม่ มีข้อใดถูกต้ อง
10.การเขียนโครงสร้ างแบบลาดับควรมีวธีการเขียนอย่ างไร
                                        ิ
ก.เขียนเป็ นลาดับขั้นจากบนลงล่ าง หรือ ซ้ ายไปขวาเท่ านั้น
ข.เขียนเป็ นลาดับขั้นตอน จากขวาไปซ้ ายเท่ านั้น
ค.เขียนแบบแสดงเงือนไข มีสองทางเลือก
                      ่
ง.เขียนเป็ นลาดับ ไล่ ลงมาแล้ วแยกออกเป็ นสองทาง แบบ
สองตัวเลือก
จัดทาโดย
นางสาว ชุ ติมณฑน์ เอียมศรีทรัพย์
                      ่                    เลขที่ 16
นางสาว ธิพรัตน์ เนื่องภิรมย์               เลขที่ 17
นางสาว แพรพลอย พรหมชนะ                     เลขที่ 18
นางสาว ภาสวัณ คูหา                         เลขที่ 19
นาวสาว วรรณนิลา ชนะใจวัฒนา                 เลขที่ 20
             นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/5

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมmr.somsak phoolpherm
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมFon Edu Com-sci
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์Onrutai Intanin
 
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหาWarapang Plodplong
 
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมหลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมInam Chatsanova
 
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22tangmottmm
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีmcf_cnx1
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์Todsapol Aryuyune
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์Todsapol Aryuyune
 

Mais procurados (20)

ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ความหมายของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Chapter4
Chapter4 Chapter4
Chapter4
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
20140605ใบความรู้ การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
 
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมหลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
หลักการพื้นฐานในการเขียนโปรแกรม
 
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22
 
Lesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-programLesson5 devenlopment-program
Lesson5 devenlopment-program
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 : หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
Photoshop cs
Photoshop csPhotoshop cs
Photoshop cs
 

Semelhante a งานนำเสนอ1 คอม

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศMeaw Sukee
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศABELE Snvip
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlcKapook Moo Auan
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L CKapook Moo Auan
 

Semelhante a งานนำเสนอ1 คอม (20)

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
 
System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

งานนำเสนอ1 คอม

  • 1.
  • 3. ความหมาย กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรื อตอบสนองต่อความต้องการซึ่งจะ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากทรัพยากรให้เป็ นผลผลิตหรื อผลลัพธ์ระบบ เทคโนโลยีโดยก่อให้เกิดประโยชน์ใช้สอย ตามที่มนุษย์ตองการและ ้ เปลี่ยนแปลงการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทากิจกรรมต่างๆของ มนุษย์ เพราะมนุษย์มีความต้องการในการสร้างสิ่ งอานวยความสะดวก ต่างๆในการดารงชีวิต
  • 4. ขั้นตอนการแก้ไขปัญหา วิธีการแก้ ปัญหาอย่ างเป็ นระบบ มีข้นตอน คือ ั  ขันตอนที่ 1 วิเคราะห์ ปัญหาและกาหนดรายละเอียดของ ้ ปัญหา  ขันตอนที่ 2 วางแผนในการแก้ ปัญหา ้  ขันตอนที่ 3 ดาเนินการแก้ ปัญหา ้  ขันตอนที่ 4 การตรวจสอบและปรับปรุง ้
  • 5. ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ปญหาและกาหนดรายละเอียดของปัญหา ั จุดประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือการทาความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยก ให้ออกว่าข้อมูลที่กาหนดมาในปัญหาหรื อเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และ สิ่ งที่ตองการคืออะไร อีกทั้งวิธีการที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหา ้ ใด กล่าวโดยสรุ ปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้ 1. การระบุขอมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาหนด ้ มาในปัญหา 2. การระบุขอมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้ าหมายหรื อสิ่ งที่ตองหา ้ ้ คาตอบ 3. การกาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขั้นตอนวิธีหา คาตอบหรื อข้อมูลออก
  • 6. ขั้นตอนที่ 2 วางแผนในการแก้ปญหา ั ขั้นตอนนี้จาเป็ นต้องอาศัยประสบการณ์ของผูแก้ปัญหาเป็ น ้ หลัก ขั้นตอนนี้จะเริ่ มจากการเลือกเครื่ องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา โดย พิจารณาความเหมาะสมระหว่างเครื่ องมือกับเงื่อนไขต่างๆ ของปัญหาซึ่ง หมายรวมถึงความสามารถของเครื่ องมือในการแก้ปัญหาดังกล่าว และสิ่ งที่ สาคัญคือความคุนเคยในการใช้งานเครื่ องมือนั้นๆ ของผูแก้ปัญหา ้ ้
  • 7. ขั้นตอนที่ 3 ดาเนินการแก้ปญหา ั ขั้นตอนนี้เป็ นขั้นตอนที่ตองลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่ องมือที่ได้ ้ เลือกไว้ข้นตอนนี้กเ็ ป็ นการใช้โปรแกรมสาเร็ จหรื อใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียน ั โปรแกรมแก้ปัญหา ขั้นตอนนี้ตองอาศัยความรู ้เกี่ยวกับเครื่ องมือที่เลือกใช้ซ่ ึง ้ ผูแก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะที่ดาเนินการหากพบ ้ ็ แนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้กสามารถปรับเปลี่ยนได้ การแก้ ปัญหาด้ วยกระบวนการสารสนเทศ หลักการแก้ปัญหาตามวิธีวิทยาศาสตร์ หลักการแก้ปัญหาตามวิธีการทางวิศวกรรม วิธีการแก้ปัญหาแบบสร้างสรรค์
  • 8. ขั้นตอนที่ 4 การตรวจสอบและปรับปรุง หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผูแก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้างขึ้น ้ สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซึ่งได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก เพื่อให้มนใจว่าสามารถรองรับข้อมูลเข้าได้ในทุกกรณี อย่างถูกต้องและ ั่ สมบูรณ์ แบ่งได้เป็ น 2 ขั้นตอน ได้แก่ การตรวจสอบและ การตรวจสอบโดย ปรับปรุงโดย ผู้ใช้ งานจริง ผู้ออกแบบ
  • 9. การตรวจสอบและ การตรวจสอบโดย ปรับปรุงโดย ผู้ใช้งานจริง ผู้ออกแบบ ควรกระทำระหว่ำง ตรวจสอบภำยหลัง กำรดำเนินงำนและ กำรดำเนินงำน ภำยหลังกำร เสร็จสิ ้นแล้ ว โดย ดำเนินงำนเสร็จสิ ้น จัดเก็บข้ อมูลจำก แล้ ว ผู้ใช้ งำนโดยตรง
  • 10. การถ่ายทอดความคิดในการแก้ไขปัญหาด้วย อัลกอริทม [ Algorithm ] ึ อัลกอริทม (Algorithm) คือ กระบวนการ การทางานที่ใช้การ ึ ตัดสิ นใจ โดยนาหลักเหตุผลและคณิ ตศาสตร์มาช่วยเลือกวิธีการหรื อ ขั้นตอนการดาเนินงานต่อไป จนกระทังถึงขั้นตอนสุ ดท้าย เป็ นวิธีการที่ใช้ ่ แยกย่อยและเรี ยงลาดับขั้นตอนของกระบวนการในการทางานต่างๆ เพื่อเพิ่ม ประสิ ทธิภาพในการค้นหาและแก้ไขปัญหา
  • 11. อัลกอริ ทึมที่ดีจะต้องได้ผลลัพธ์ตรงกับความต้องการเสมอ ควรมีลกษณะดังนี้ ั มีควำมถูกต้ องแม่นยำ เข้ ำใจได้ ง่ำยและชัดเจน มีขนตอนหลักและขันตอนย่อย ั้ ้
  • 12. เครื่ องมือที่ใช้ในการจาลองความคิดมักจะประกอบขึ้นด้วย เครื่ องหมายที่แตกต่างกันหลายอย่าง แต่พอสรุ ปได้เป็ น 2 ลักษณะ คือ 1. การจาลองความคิดเป็ นข้ อความหรือคาบรรยาย (Algorithm) เป็ น การเขียนเค้าโครงด้วยการบรรยายเป็ นภาษาที่มนุษย์ใช้สื่อสารกัน เพื่อให้ ทราบถึงขั้นตอนการทางานของการแก้ปัญหาแต่ละตอน ในบางครั้งอาจใช้ คาสังของภาษาที่ใช้เขียนโปรแกรมก็ได้ ่ 2. การจาลองความคิดเป็ นสั ญลักษณ์ หรือผังงาน (Flowchart) สัญลักษณ์ คือ เครื่ องหมายรู ปแบบต่างๆ ซึ่งใช้สาหรับสื่ อสาร ความหมายให้เข้าใจตรงกัน สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริ กา ได้กาหนด สัญลักษณ์ไว้เป็ นมาตรฐานแล้ว สามารถนาไปใช้ได้ตามความเหมาะสม ต่อไป
  • 13. การเขียนรหัสจาลอง รหัสลาลองหรื อ pseudocode เป็ นคาบรรยายที่เขียนแสดง ขั้นตอนวิธี(algorithm) ของการเขียนโปรแกรม โดยใช้ภาษาที่กะทัดรัด สื่ อสารกับโปรแกรมเมอร์ผเู ้ ขียนโปรแกรม โดยอาจใช้ภาษาที่ใช้ทวไปและ ั่ อาจมีภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมประกอบ แต่ไม่มีมาตรฐานแน่นอนใน การเขียน pseudocode และไม่สามารถนาไปทางานบนคอมพิวเตอร์ โดยตรง(เพราะไม่ใช่คาสังในภาษาคอมพิวเตอร์) และไม่ข้ ึนกับ ่ ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง นิยมใช้ pseudocode แสดง algorithm มากกว่าใช้ผงงาน เพราะผังงานอาจไม่แสดงรายละเอียดมาก ั นักและใช้สญลักษณ์ซ่ ึงทาให้ไม่สะดวกในการเขียน เช่นโปรแกรมใหญ่ ๆ ั
  • 14. มักจะประกอบด้วยคาสังต่างๆที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ที่ ่ ใช้ในการเขียนโปรแกรมจริ งๆ เช่น begin…end, if…else, do…while, while, for, read และ print การเขียนรหัส จาลองจะต้องมีการวางแผนสาหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลต่างๆที่จะใช้ใน โปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่ องหมายเท่ากับ (=) แทนการ กาหนดค่าให้กาหนดตัวแปรนั้นๆ การเขียนผังงาน ผังงาน (flowchart) คือ แผนภาพซึ่งแสดงลาดับขั้นตอน ของการทางาน โดยแต่ละขั้นตอนจะถูกแสดงโดยใช้สญลักษณ์ซ่ ึงมี ั ความหมายบ่งบอกว่า ขั้นตอนนั้น ๆ มีลกษณะการทางาน ทาให้ง่ายต่อ ั ความเข้าใจ ว่าในการทางานนั้นมีข้นตอนอะไรบ้าง และมีลาดับอย่างไร ั
  • 15.
  • 16. ประเภทของผังงาน 1. ผังงานระบบ (system flowchart) เป็ นผังซึ่งแสดงขอบเขต และลาดับขั้นตอนการทางานของระบบหนึ่ง ๆ 2. ผังงานโปรแกรม (Program flowchart) เป็ นผังงานซึ่งแสดงลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรมหนึ่ง ๆ การใช้ สัญลักษณ์ จะใช้สญลักษณ์ที่เป็ นรู ปภาพแทนคาสังการทางานโดยจะไม่ใช้ ั ่ คาอธิบายลักษณะการทางาน มีลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลตั้งแต่ เริ่ มต้นไปสิ้ นสุ ดโปรแกรม
  • 17. ตัวอย่ างสั ญลักษณ์ สัญลักษณ์ ความหมาย เริ่มต้ น/สิ ้นสุด รับข้ อมูลเข้ ำ/แสดงผล รับข้ อมูลเข้ ำจำกมนุษย์ แสดงผลลัพธ์บนกระดำนด้ วย เครื่ องพิมพ์ กำรประมวลผล
  • 18. สัญลักษณ์ ความหมาย จุดต่อเนื่องภำยในหน้ ำ เดียวกันของผังงำน จุดต่อเนื่องที่อยูคนละหน้ ำ ่ ของผังงำนเดียวกัน ลูกศรแสดงลำดับกำรทำงำน
  • 19. โครงสร้ างการเขียนผังงาน เป็ นรู ปแบบพื้นฐานของการเขียนผังงาน เนื่องจากเขียนได้ง่าย และนาไปใช้งานมากี่สุด 1.โครงสร้ างแบบเป็ นลาดับ (Sequence Structure) โครงสร้างลักษณะนี้เป็ นโครงสร้าง พื้นฐานของผังงาน และเป็ นลักษณะ ขั้นตอนการทางานที่พบมากที่สุด คือ ทางานทีละขั้นตอนลาดับ
  • 20. 2.โครงสร้ างแบบมีตัวเลือก (Selection Structure) โครงสร้างการทางานแบบมีการเลือกมี รู ปแบบที่ซบซ้อนกว่าโครงสร้างแบบเป็ น ั ลาดับรู ปแบบที่ง่ายที่สุดของโครงสร้างแบบ นี้คือ การเลือกแบบมีทางออก 2 ทาง ในการ เลือกแบบมีทางออก 2 ทาง นี้จะมีทางออก จากสัญลักษณ์การตัดสิ นใจเพียง 2 ทาง คือ ใช่หรื อไม่ใช่ เท่านั้น (แต่ระบบการเขียนผัง งานระบบ อนุญาตให้มีทางออกจากการ ตัดสิ นใจได้มากกว่า 2 ทาง)
  • 21. 3.โครงสร้ างแบบทาซ้า (Iteration Structure) โครงสร้างการทางานแบบทาซ้ า จะทางานแบบเดียวกันซ้ าไปเรื่ อย ๆ ในขณะที่ยงเป็ นไปตามเงื่อนไขหรื อเงื่อนไขเป็ นจริ ง จนกระทั้งเงื่อนไข ั เป็ นเท็จจึงทางานอื่นต่อไป
  • 22. ประโยชน์ ของผังงาน • ช่วยให้สามารถทาความเข้าใจลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม หรื อระบบใด ๆได้อย่างรวดเร็ ว • ช่วยแสดงลาดับขั้นตอนการทางาน ทาให้สามารถเขียนโปรแกรมได้ อย่างเป็ นระบบไม่สบสน นอกจากนี้ผงงานยังเป็ นอิสระต่อภาษาที่ใช้ใน ั ั การ เขียนโปรแกรม กล่าวคือจากผังงานเดียวกันสามารถนาไปเขียน โปรแกรมด้วยภาษาใดก็ได้ • ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิด ข้อผิดพลาด ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ ว • ช่วยให้ผอ่ืนสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และ ู้ รวดเร็ วมากขึ้น
  • 23. การเขียนโปรแกรม ผังงานโปรแกรมสามารถนามาใช้เขียนโปรแกรม โดยในการเขียน ่ โปรแกรมสามารถเลือกใช้ภาษาได้หลายภาษา ไม่วาจะเป็ นภาษาแอสเซมบลี ภาษาเบสิ ก ภาษาซี ภาษาปาสคาล ภาษาโคบอล ภาษาฟอร์แทรน หรื อภาษา อื่น ๆ ซึ่งแต่ละภาษาก็มีรูปแบบไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้แตกต่างกันออกไป แต่โดยทัวไปแล้วจะมีรูปแบบหรื อโครงสร้างของคาสังที่คล้ายกัน โดยทัวไป ่ ่ ่ ทุกคาสังจะมีคาสังพื้นฐานต่อไปนี้ ่ ่ • คาสังการรับข้อมูลเข้า และการแสดงผล ่ • คาสังการกาหนดค่า ่ • คาสังการเปรี ยบเทียบเงื่อนไข ่ • คาสังการทาซ้ าหรื อการวนลูป ่
  • 24. คาถาม 1.กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงอะไร ก.การทางานตามขั้นตอนทีกาหนด ่ ข.ขั้นตอนการแก้ ปัญหาหรือตอบสนองต่ อความต้ องการ ค.กระบวนการจัดการกับข้ อมูลข่ าวสาร ง.การจัดการแบบลายุค้ 2.การแก้ ปัญหาด้ วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมีกี่ ขั้นตอน ก.3 ข.4 ค.5 ง.6
  • 25. 3.การวิเคราะห์ ปัญหาและกาหนดรายละเอียดของปัญหามี องค์ ประกอบดังต่ อไปนี้ ยกเว้ นข้ อใด ก.การกาหนดวิธีประมวลผล ข.การระบุข้อมูลออก ค.การระบุข้อมูลเข้ า ง.การวิเคราะห์ ข้อมูล 4.การพิจารณาข้ อมูลและเงือนไขทีกาหนดมาในปัญหา อยู่ ่ ่ ในองค์ ประกอบใดของการวิเคราะห์ ข้อมูล ก.การระบุข้อมูลเข้ า ข.การระบุข้อมูลออก ค.การกาหนดวิธีประมวลผล ง.ก และ ข ถูกต้ อง
  • 26. 5. ข้ อใดไม่ ใช่ โครงสร้ างการเขียนผังงาน ก.โครงสร้ างแบบลาดับ ข.โครงสร้ างแบบทางเลือก ค.โครงสร้ างแบบซ้าซ้ อน ง.โครงสร้ างแบบทาซ้า 6.อัลกอริทมทีดต้องมีผลลัพธ์ ทดควรมีคุณสมบัตยกเว้ นข้ อ ึ ่ ี ี่ ี ิ ใด ก.ความแม่ นยาถูกต้ อง ข.มีข้นตอนหลักและขั้นตอนย่ อย ั ค.เข้ าใจง่ ายและชัดเจน ง.มีข้นตอนทีผลลัพธ์ ออกมาหลายคาตอบไม่ ใช่ คาตอบ ั ่ เหมือนเดิมทุกครั้ง
  • 27. 7.สั ญลักษณ์ ทใช้ ในการเขียนผังงาน มีไว้ เพืออะไร ี่ ่ ก.แสดงขั้นตอนการทางาน ข.ความสวยงาม ค.การจัดการข้ อมูล ง.ลาดับข้ อมูล 8.การเขียนโปรแกรม โครงสร้ างของคาสั่ งทีคล้ ายกัน ่ โดยทัวไปทุกคาสั่ งจะมีคาสั่ งพืนฐานต่ อไปนียกเว้ นข้ อใด ่ ้ ้ ก.คาสั่ งการรับข้ อมูลเข้ า และการแสดงผล ข.คาสั่ งการทาซ้าหรือการวนลูป ค.คาสั่ งการเปรียบเทียบเงือนไข ่ ง.คาสั่ งการประเมินผลข้ อมูล
  • 28. 9.การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้ออกแบบควร ดาเนินงานเวลาใด ก.หลังการดาเนินงานเสร็จสิ้นแล้ ว ข.ควรกระทาระหว่ างการดาเนินงานและภายหลังการ ดาเนินงานเสร็จสิ้นแล้ ว ค.ระหว่ างการดาเนินงาน ง.ไม่ มีข้อใดถูกต้ อง 10.การเขียนโครงสร้ างแบบลาดับควรมีวธีการเขียนอย่ างไร ิ ก.เขียนเป็ นลาดับขั้นจากบนลงล่ าง หรือ ซ้ ายไปขวาเท่ านั้น ข.เขียนเป็ นลาดับขั้นตอน จากขวาไปซ้ ายเท่ านั้น ค.เขียนแบบแสดงเงือนไข มีสองทางเลือก ่ ง.เขียนเป็ นลาดับ ไล่ ลงมาแล้ วแยกออกเป็ นสองทาง แบบ สองตัวเลือก
  • 29. จัดทาโดย นางสาว ชุ ติมณฑน์ เอียมศรีทรัพย์ ่ เลขที่ 16 นางสาว ธิพรัตน์ เนื่องภิรมย์ เลขที่ 17 นางสาว แพรพลอย พรหมชนะ เลขที่ 18 นางสาว ภาสวัณ คูหา เลขที่ 19 นาวสาว วรรณนิลา ชนะใจวัฒนา เลขที่ 20 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/5