SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 87
Baixar para ler offline
เซต (Set)
1. เซต
ในทางคณิตศาสตร์ใช้เซต เพื่อให้เกิดแนวคิดของการอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยสามารถระบุได้แน่นอนว่า
สิ่ง ๆ นั้นอยู่ในเซตหรือไม่ เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก
ใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ A, B, C, . . .แทนชื่อเซต และใช้อักษรตัวเล็กแทนสมาชิกในเซต
สำหรับเซต A ใดๆ เราจะเขียน
a ∈ A แทนข้อความ “ a เป็นสมาชิกของ A ”
a /∈ A แทนข้อความ “ a ไม่เป็นสมาชิกของ A ”
n(A) แทน “ จำนวนสมาชิกของ A ”
เราสามารถเขียนบรรยายถึงเซตได้สองวิธี คือ
1. แบบแจกแจงสมาชิก เขียนสมาชิกทุกตัวลงในเครื่องหมายปีกกาและมีเครื่องหมายจุลภาค(,) ขั้นระหว่างสมาชิกแต่ละตัว
2. แบบบอกเงื่อนไข เขียนตัวแปรแทนสมาชิก แล้วบรรยายสมบัติของตัวแปรนั้น
2. ประเภทของเซตที่สำคัญ
1. เซตจำกัด (Finite Set) หมายถึง เซตที่สามารถหาจำนวนสมาชิกได้
2. เซตอนันต์ (Infinite Set) หมายถึง เซตที่มีจำนวนสมาชิกมากมายมหาศาล
3. เซตว่าง (Empty Set) หมายถึง เซตที่ไม่มีสมาชิกอยู่เลย แทนด้วย φ หรือ { }
4. เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) หมายถึง เซตที่กำหนดขอบเขตของสมาชิกของเซตที่เราต้องการ
ศึกษาเขียนแทนด้วย U
3. ความสัมพันธ์ระหว่างเซต
1. การเท่ากันของเซต เซต A เท่ากับเซต B ก็ต่อเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว
เขียนแทนด้วย A = B
2. สับเซต (Subset) เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิก
ของ B เขียนแทนด้วย A ⊆ B
ถ้า A เป็นสับเซตของ B และ A = B แล้วเราจะกล่าวว่า A เป็นสับเซตแท้ของ B
3. พาวเวอร์เซต (Power Set) พาวเวอร์เซตของเซต A หมายถึง เซตของสับเซตทั้งหมดของ A
เขียนแทนด้วย P(A)
4. ข้อสังเกต
1. φ ⊆ A และ A ⊆ A
2. φ ∈ P(A) และ A ∈ P(A)
3. φ ⊆ P(A)
4. ถ้า A ⊆ B แล้ว P(A) ⊆ P(B)
5. P(A) ∩ P(B) = P(A ∩ B)
6. ถ้า A มีสมาชิก m ตัว แล้ว จำนวนสมาชิกของ P(A) มีทั้งหมด 2m ตัว
นั่นคือ n(P(A)) = 2m
1
5. การกระทำทางเซต
1. ยูเนียน (Union) เซต A ยูเนียน B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A หรือเซต B
เขียนแทนด้วย A ∪ B
2. อินเตอร์เซกชัน (Intersection) อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก
ของเซต A และเซต B ที่ซ้ำกัน เขียนแทนด้วย A ∩ B
3. ผลต่าง (Difference) ผลต่างระหว่างเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ของเซต
A ที่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วย A − B
4. คอมพลีเมนต์ (Complement) คอมพลีเมนต์ของเซต A คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ของเอกภพ
สัมพัทธ์ U แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย A
6. จำนวนเซต
กำหนด A ⊆ B, n(A) = m และ n(B) = n
1. จำนวนเซต E ซึ่ง A ⊆ E ⊆ B มีเท่ากับ 2n−m เซต
2. จำนวนเซต E ซึ่ง A ∩ E = φ และ E ⊆ B มีเท่ากับ 2n−m เซต
3. จำนวนเซต E ซึ่ง A E และ E ⊆ B มีเท่ากับ 2n − 2n−m เซต
4. จำนวนเซต E ซึ่ง A ∩ E = φ ซึ่ง E ⊆ B มีเท่ากับ 2n − 2n−m เซต
7. สมบัติบางประการของเซต
1. φ ⊆ A ∩ B ⊆ A ⊆ A ∪ B ⊆ U
2. ถ้า A ⊆ B แล้ว A ∪ B = B และ A ∩ B = A
3. ถ้า A ⊆ B และ C ⊆ D แล้ว (A ∩ C) ⊆ (B ∩ D) และ (A ∪ C) ⊆ (B ∪ D)
4. φ ∪ A = A และ φ ∩ A = φ
5. U ∪ A = U และ U ∩ A = A
6. A ∪ A = A และ A ∩ A = A
7. φ = U และ U = φ
8. ถ้า A ⊆ B แล้ว B ⊆ A
9. (A ) = A
10. (A ∪ B) = A ∩ B และ (A ∩ B) = A ∪ B
11. A − B = A ∩ B
12. A ∪ A = U และ A ∩ A = φ
13. A ∪ B = B ∪ A และ A ∩ B = B ∩ A
14. (A ∪ B) ∪ C = A ∪ (B ∪ C) และ (A ∩ B) ∩ C = A ∩ (B ∩ C)
15. A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C) และ A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C)
16. n(A ∪ B) = n(A) + n(B) − n(A ∩ B)
17. n(A − B) = n(A) − n(A ∩ B)
18. n(A∪B ∪C) = n(A)+n(B)+n(C)−n(A∩B)−n(A∩C)−n(B ∩C)+n(A∩B ∩C)
2
การให้เหตุผล (Reasoning)
การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญมีอยู่ 2 วิธีได้แก่ การให้เหตุผลแบบอุปนัย และการให้เหตุผลแบบนิรนัย
1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)
หมายถึง วิธีการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายๆ ครั้งจากกรณีย่อย
แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป
2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)
หมายถึง วิธีการสรุปข้อเท็จจริงโดยการนำความรู้พื้นฐานความเชื่อข้อตกลงหรือบทนิยามซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน
และยอมรับว่าเป็นจริง เพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป
การให้เหตุผลแบบนิรนัยประกอบด้วยสองส่วนคือเหตุหรือสมมติฐานและผลถ้าการยอมรับสมมติฐานสามารถนำไปสู่
การสรุปส่วนที่เป็นผลได้อย่างสมเหตุสมผล (Valid)จะถือว่าการสรุปผลนั้นถูกต้องโดยการตรวจสอบการสมเหตุสมผลสามารถ
ใช้การวาดแผนภาพตามสมติฐาน แล้วพิจารณาว่าแผนภาพแต่ละกรณีแสดงผลสรุปตามผลที่ตั้งไว้หรือไม่
ถ้าทุกกรณีของแผนภาพแสดงผลตามที่กำหนด จะได้ว่าการสรุปผลนั้นสมเหตุสมผล
ถ้ามีแผนภาพบางกรณีไม่สอดคล้องกับผลที่สรุป จะได้ว่าการสรุปผลนั้นไม่สมเหตุสมผล
ข้อความ แผนภาพ
สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B
ไม่มีสมาชิกตัวใดของ A เป็นสมาชิกของ B
มีสมาชิกบางตัวของ A เป็นสมาชิกของ B
มีสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B
มีสมาชิกของ A หนึ่งตัวที่เป็นสมาชิกของ B
มีสมาชิกของ A หนึ่งตัวที่ไม่เป็นสมาชิกของ B
3
1. แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของระบบจำนวนจริง
จำนวนจริง (R)
จำนวนอตรรกยะ(Q ) จำนวนตรรกยะ(Q)
จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม(I ) จำนวนเต็ม(I)
จำนวนเต็มลบ(I−) จำนวนเต็มศูนย์(0) จำนวนเต็มบวก(I+)
จำนวนนับ(N)
นิยาม จำนวนเต็มบวก p เป็น จำนวนเฉพาะ (prime number) ก็ต่อเมื่อ p = 1 และถ้าจำนวนเต็ม x หาร p
ลงตัวจะได้ว่า x ∈ {1, −1, p, −p} จำนวนเต็มบวกอื่นนอกเหนือจาก 1 และจำนวนเฉพาะเรียกว่าจำนวนประกอบ
(composite numbers)
นิยาม เรียกจำนวนเต็ม m และ n ว่าเป็น จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ (relatively primes) เมื่อ ห.ร.ม. ของ m และ
n คือ 1
2. ช่วง เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจำนวนจริง และ a < b
ช่วง ความหมาย
(a, b) { x | a < x < b }
[a, b] { x | a ≤ x ≤ b }
(a, b] { x | a < x ≤ b }
[a, b) { x | a ≤ x < b }
(a, ∞) { x | x > a }
[a, ∞) { x | x ≥ a }
(−∞, a) { x | x < a }
(−∞, a] { x | x ≤ a }
(−∞, ∞) R
3. การแยกตัวประกอบ
1. ดึงตัวร่วม
2. สามพจน์สองวงเล็บ
3. สี่พจน์สองวงเล็บ
4. ผลต่างกำลังสอง A2 − B2 = (A + B)(A − B)
จำนวนจริง (Real Number)
4
ผลต่างกำลังสาม A3 − B3 = (A − B)(A2 + AB + B2)
ผลบวกกำลังสาม A3 + B3 = (A + B)(A2 − AB + B2)
กำลังสองสมบูรณ์ (A ± B)2 = A2 ± 2AB + B2
5. ทฤษฎีบทเศษเหลือ (remainder theorem)
เมื่อ P(x) คือพหุนาม anxn + an−1xn−1 + . . . + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก
an, an−1, . . . , a1, a0 ∈ R ซึ่ง an = 0 ถ้าหารพหุนาม P(x) ด้วย x − c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง
แล้วเศษจะเท่ากับ P(c)
เศษที่ได้จากการหารพหุนาม P(x) ด้วย x − c คือ P(c)
6. ทฤษฎีบทตัวประกอบ (factor theorem)
เมื่อ P(x) คือพหุนาม anxn + an−1xn−1 + . . . + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก
an, an−1, . . . , a1, a0 ∈ R ซึ่ง an = 0 พหุนาม P(c) นี้จะมี x − c เป็นตัวประกอบก็ต่อเมื่อ P(c) = 0
P(c) = 0 ก็ต่อเมื่อ x − c หาร P(x) ลงตัว
7. ทฤษฎีบทตัวประกอบจำนวนตรรกยะ
เมื่อ P(x) คือพหุนาม anxn + an−1xn−1 + . . . + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก
an, an−1, . . . , a1, a0 ∈ Z ซึ่ง an = 0 ถ้า x − k
m เป็นตัวประกอบของพหุนาม P(x) โดยที่ m
และ k เท่ากับ 1 แล้ว m จะเป็นตัวประกอบของ an และ k จะเป็นตัวประกอบของ a0
4. การแก้สมการและอสมการ
ข้อควรระวัง 1. สมการพหุนามกำลังสอง ax2 + bx + c = 0 จะได้ x = −b±
√
b2−4ac
2a
(x ∈ R เมื่อ b2 − 4ac ≥ 0)
2. ห้ามนำศูนย์คูณตลอดทั้งสมการและอสมการ
3. ถ้านำจำนวนลบคูณตลอดทั้งอสมการ ต้องเปลี่ยนเครื่องหมายอสมการเป็นตรงข้าม
4. ถ้านำจำนวนบวกคูณตลอดทั้งอสมการ ไม่ต้องเปลี่ยนเครื่องหมายอสมการ
5. ค่าสัมบูรณ์ การแก้สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์
นิยาม
|Δ| =
⎧
⎨
⎩
Δ เมื่อΔ ≥ 0;
−Δ เมื่อΔ < 0
ทฤษฎีบท
1. |a| ≥ 0
2. |a| = | − a|
3. |ab| = |a||b|
4. |a
b | = |a|
|b|
5. |a − b| = |b − a|
6. |a|2 = a2
7. |a + b| ≤ |a| + |b|
8. เมื่อ a เป็นจำนวนบวกแล้ว
5
(i) |x| < a ก็ต่อเมื่อ −a < x < a
(ii) |x| ≤ a ก็ต่อเมื่อ −a ≤ x ≤ a
9. เมื่อ a เป็นจำนวนบวกแล้ว
(i) |x| > a ก็ต่อเมื่อ x < −a หรือ x > a
(ii) |x| ≥ a ก็ต่อเมื่อ x ≤ −a หรือ x ≥ a
นิยาม กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริงแล้ว
√
a2 = |a|
การแก้สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ ทำได้โดย 1. ใช้นิยาม
2. ยกกำลังสองทั้งสองข้าง (ระวังเครื่องหมาย)
3. แยกกรณี
6. หารลงตัว ห.ร.ม. และค.ร.น.
ให้ m และ n = 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัว ก็ต่อเมื่อมีจำนวนเต็ม c ซึ่ง m = nc เรียก n
ว่าตัวหาร(divisor) ตัวหนึ่งของ m
ใช้ n | m แทน n หาร m ลงตัว
ใช้ n m แทน n หาร m ไม่ลงตัว
ทฤษฎีบท ขั้นตอนวิธีการหาร ให้ m และ n เป็นจำนวนเต็มที่ n = 0 จะมีจำนวนเต็ม q และ r ชุดเดียวที่
m = nq + r โดย 0 ≤ r < |n| เรียก q ว่าผลหาร เรียก r ว่าเศษ
ทฤษฎีบท (m, n) = 1 ก็ต่อเมื่อ ∃ x, y ∈ Z, mx + ny = 1
ทฤษฎีบท ให้ m และ n เป็นจำนวนเต็ม และ p เป็นจำนวนเฉพาะ ถ้า p | mn แล้ว p | m หรือ p | n
ทฤษฎีบท mn = (m, n)[m, n]
6
ตรรกศาสตร์ (Logic)
1. ประพจน์ (Proposition or Statement)
ประพจน์คือประโยคที่เป็นมีค่าความจริงเป็นจริงหรือมีค่าความจริงเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียวซึ่งอาจอยู่
ในรูปประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธก็ได้ แทนค่าความจริง “ จริง ” ด้วย T และแทนค่าความจริง “ เท็จ ” ด้วย F
2. การเชื่อมประพจน์
เมื่อมีประพจน์หลายๆประพจน์ เราสามารถสร้างประพจน์ใหม่ได้โดยการเชื่อมประพจน์เหล่านั้นเข้าด้วยกันโดยใช้ตัวเชื่อม
(Connectives) ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 5 แบบ คือ
2.1 ∼ (นิเสธ)
2.2 ∧ (และ)
2.3 ∨ (หรือ)
2.4 → (ถ้า . . . แล้ว)
2.5 ↔ (ก็ต่อเมื่อ)
เมื่อกำหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ใด ๆ ข้อกำหนดในการเชื่อมประพจน์ ด้วยตัวเชื่อมข้างต้นเป็นดังนี้
p ∼ p
T F
F T
p q p ∧ q p ∨ q p → q p ↔ q
T T T T T T
T F F T F F
F T F T T F
F F F F T T
3. การสร้างตารางค่าความจริงและการสมมูลของประพจน์
ในการพิจารณารูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นได้สำหรับประพจน์ใด ๆ จะต้องพิจารณาจากค่าความจริงที่เป็นไปได้
ของประพจน์ย่อย ทุกกรณี เช่น
ถ้ามีประพจน์เดียวคือ p ค่าความจริงของประพจน์เป็นไปได้ 2 กรณี คือ จริงกับเท็จ
ถ้ามีประพจน์ย่อยสองประพจน์คือ p และ q ค่าความจริงของประพจน์เป็นไปได้ 4 กรณี คือ
p จริง q จริง , p จริง q เท็จ
p เท็จ q จริง , p เท็จ q เท็จ
นั่นคือ ประพจน์ที่ประกอบด้วย n ประพจน์ย่อย จะม่ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด 2n กรณี
ประพจน์ใดๆสองประพจน์จะสมมูลกันก็ต่อเมื่อ ไม่ว่าค่าความจริงในประพจน์ย่อยจะเป็นอย่างไรค่าความจริงของทั้งสอง
ประพจน์นั้น จะเหมือนกันทุกกรณี การตรวจสอบการสมมูลสามารถทำได้โดยสร้าง
ตารางค่าความจริง หรือใช้ทฤษฎีของการ สมมูลในการตรวจสอบ
7
ทฤษฎีบท กำหนดให้p, q และ r เป็นประพจน์ใดๆ จะได้ว่า
3.3.1 กฏการสลับที่
p ∨ q ≡ q ∨ p
p ∧ q ≡ q ∧ p
p ↔ q ≡ q ↔ p
3.3.2 กฏการกระจาย
p ∧ (q ∨ r) ≡ (p ∧ q) ∨ (p ∧ r)
p ∨ (q ∧ r) ≡ (p ∨ q) ∧ (p ∨ r)
3.3.3 กฏการจัดหมู่
(p ∨ q) ∨ r ≡ p ∨ (q ∨ r)
(p ∧ q) ∧ r ≡ p ∧ (q ∧ r)
3.3.4 เอกลักษณ์
p ∨ p ≡ p
p ∧ p ≡ p
p ∧ T ≡ p
p ∨ F ≡ p
3.3.5 p → q ≡ ∼ p ∨ q ≡ ∼ q →∼ p
3.3.6 ∼ (∼ p) ≡ p
3.3.7 ∼ (p ∨ q) ≡ ∼ p ∧ ∼ q
∼ (p ∧ q) ≡ ∼ p ∨ ∼ q
∼ (p → q) ≡ p ∧ ∼ q
3.3.8 p ↔ q ≡ (p → q) ∧ (q → p)
หมายเหตุ สำหรับการพิสูจน์ทฤษฎีบทข้างต้น สามารถทำได้เองโดยการสร้างตารางค่าความจริง
4. สัจนิรันดร์ (Tautology)
เราจะเรียกประพจน์ใดว่าสัจนิรันดร์ก็ต่อเมื่อ ไม่ว่าค่าความจริงของประพจน์ย่อยจะเป็นอะไรก็ตามค่าความจริงของ
ประพจน์นั้นจะเป็นจริงเสมอ
เช่น สามารถแสดงว่าประพจน์ (p → q) ↔ (∼ q →∼ p) เป็นสัจนิรันดร์ได้โดยสร้างตาราง
p q ∼ q ∼ p p → q ∼ q →∼ p (p → q) ↔ (∼ q →∼ p)
T T F F T T T
T F T F F F T
F T F T T T T
F F T T T T T
8
5. ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
ประโยคเปิด คือ ประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธที่มีตัวแปร ประโยคเปิดไม่เป็นประพจน์ แต่ถ้าแทนตัวแปร
ด้วยสมาชิก ในเอกภพสัมพัทธ์แล้วประโยคเปิดจะกลายเป็นประพจน์ ในการทำประโยคเปิดให้เป็นประพจน์
สามารถทำได้โดยการใส่ วลีบ่งปริมาณ ซึ่งมีอยู่สองตัว คือ “ ∀ ” (for all, ทุก ๆ ) และ “ ∃ ” (for some,
บางตัว ) ซึ่งการกำหนดค่าความจริงและ การใส่นิเสธเป็นไปตามตารางต่อไปนี้
ข้อความ นิเสธ เงื่อนไขที่ทำให้เป็นจริง เงื่อนไขที่ทำให้เป็นเท็จ
∀x P(x) ∃x ∼ P(x) ทุก ๆ x ในเอกภพสัมพัทธ์ มีบาง x ในเอกภพสัมพัทธ์
ที่ทำให้ P(x) จริง ที่ทำให้ P(x) เท็จ
∃x P(x) ∀x ∼ P(x) มีบาง x ในเอกภพสัมพัทธ์ ทุก ๆ x ในเอกภพสัมพัทธ์
ที่ทำให้ P(x) จริง ที่ทำให้ P(x) เท็จ
ประโยคเปิดสองตัวแปรในบางครั้งประโยคเปิดอาจมีตัวแปรมากกว่าหนึ่งตัวการกำหนดค่าความจริงและการใส่นิเสธ
ของประโยคเปิดสองตัวแปร เป็นดังนี้
ให้ P(x, y) เป็นประโยคเปิดใด ๆ จะได้ว่า
ข้อความ นิเสธ เงื่อนไขที่ทำให้เป็นจริง เงื่อนไขที่ทำให้เป็นเท็จ
∀x ∀y P(x, y) ∃x ∃y ∼ P(x, y) ทุก ๆ x ทุก ๆ y ในเอกภพ มีบาง x และมีบาง y ในเอกภพ
สัมพัทธ์ ทำให้ P(x, y) จริง สัมพัทธ์ที่ทำให้ P(x, y) เท็จ
∀x ∃y P(x, y) ∃x ∀y ∼ P(x, y) ทุก ๆ x ในเอกภพสัมพัทธ์จะหา มีบาง x ที่ทำให้ทุก y ในเอกภพ
y ที่ทำให้ P(x, y) จริงได้ สัมพัทธ์ ทำให้ P(x, y) เท็จ
∃x ∀y P(x, y) ∀x ∃y ∼ P(x, y) มีบาง x ที่ทำให้ทุก y ในเอกภพ ทุก x ในเอกภพสัมพัทธ์ จะหา
สัมพัทธ์ ทำให้ P(x, y) จริง y ที่ทำให้ P(x, y) เท็จได้
∃x ∃y P(x, y) ∀x ∀y ∼ P(x, y) มีบาง x และมีบาง y ในเอกภพ ทุก x และทุก y ในเอกภพสัมพัทธ์
สัมพัทธ์ ที่ทำให้ P(x, y) จริง สัมพัทธ์ ทำให้ P(x, y) เท็จ
6. การอ้างเหตุผล
การอ้างเหตุผลคือการอ้างว่าเมื่อมีข้อความ p1, p2, . . . , pn ชุดหนึ่งเป็นจริงเราสามารถสรุปข้อความ c ได้หรือไม่
นั่นคือข้อความ (p1 ∧ p2 ∧ . . . ∧ pn) → c เป็นสัจนิรันดร์ หรือไม่นั่นเอง
ถ้าข้อความ (p1 ∧ p2 ∧ . . . ∧ pn) → c เป็นสัจนิรันดร์ เราจะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล
(valid) ถ้าไม่เป็นสัจนิรันดร์ จะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลนี้ ไม่สมเหตุสมผล (invalid)
9
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
(Relation and Function)
1. ผลคูณคาร์ทีเซียน (Cartesian product)
นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ ผลคูณคาร์ทีเซียน (Cartesian product) ของ
A และ B คือ
A × B = { (a, b) | a ∈ A และ b ∈ B }
ข้อสังเกต
1. ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และ B เป็นเซต ดังนั้นจึงสามารถพูดถึงนิยามต่าง ๆ ของเซตได้
2. n(A × B) = n(A) · n(B) = n(B × A)
3. A × B เทียบเท่า B × A แต่ A × B ไม่จำเป็นต้องเท่ากับ B × A
4. ถ้า A = φ หรือ B = φ จะได้ว่า A × B = φ
2. ความสัมพันธ์
นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ ความสัมพันธ์จาก A ไป B (relation from A to B) คือ
สับเซตของ A × B
เรียก r ว่าเป็น ความสัมพันธ์ ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก R ไป R
เรียก r ว่าเป็น ความสัมพันธ์บน A ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป A
ข้อสังเกต
1. จำนวนความสัมพันธ์ทั้งหมดจาก A ไป B มีจำนวน 2n(A)·n(B) ความสัมพันธ์
2. φ และ A × B เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B เสมอ
3. โดเมนและเรนจ์
นิยาม กำหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์ใด ๆ เรานิยาม
โดเมน (Domain) ของ r คือเซต Dr = { x | มี y ซึ่งทำให้ (x, y) ∈ r }
เรนจ์ (Range) ของ r คือเซต Rr = { y | มี x ซึ่งทำให้ (x, y) ∈ r }
ข้อสังเกต
1. อาจคิดง่าย ๆ ได้ว่า โดเมนของ r ก็คือ เซตที่เก็บสมาชิกตำแหน่งแรกของ r และ เรนจ์ของ r ก็คือ เซตที่เก็บ
สมาชิกตำแหน่งหลังของ r
2. ในการหาโดเมนของความสัมพันธ์ r นั้น เราจะเขียนสมการในรูป y = f(x) จากนั้นจึงพิจารณาค่า
x ที่เป็นไปได้ทั้งหมด ส่วนในการหาเรนจ์ของความสัมพันธ์ r นั้น เราจะเขียนสมการในรูป
x = g(y) จากนั้นจึงพิจารณาค่า y ที่เป็นไปได้ทั้งหมด
4. กราฟของความสัมพันธ์
นิยาม กราฟของความสัมพันธ์ r คือเซตของจุดในระนาบโดยที่แต่ละจุดแทนสมาชิกของความสัมพันธ์ r
5. อินเวอร์สของความสัมพันธ์
นิยาม อินเวอร์สของความสัมพันธ์ r คือความสัมพันธ์ ที่เกิดจากการสลับที่ของสมาชิกตัวหน้า และ
10
สมาชิกตัวหลัง ในแต่ละคู่อันดับที่เป็นสมาชิกของ r อินเวอร์สของความสัมพันธ์ r แทนด้วย r−1
6. ฟังก์ชัน (Function)
นิยาม ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ซึ่งในสองคู่อันดับใด ๆ ของความสัมพันธ์นั้น ถ้ามีสมาชิกตัวหน้าเท่ากัน
แล้ว สมาชิกตัวหลังต้องเท่ากันด้วย
ฟังก์ชัน f คือ ความสัมพันธ์ ซึ่งถ้ามี (x, y) ∈ f และ (x, z) ∈ f แล้ว y = z
ข้อสังเกต เราอาจตรวจสอบว่าการเป็นฟังก์ชันได้โดยใช้กราฟกล่าวคือเมื่อวาดกราฟของความสัมพันธ์แล้วสามารถหาเส้นตรง
ที่ขนานกับแกน y ที่ตัดกราฟอย่างน้อยสองจุดจะกล่าวได้ว่าความสัมพันธ์นั้นไม่เป็นฟังก์ชันเพราะจุดตัดที่พบนั้นก็คือ
สมาชิกในความสัมพันธ์ที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกัน
แต่สมาชิกตัวหลังต่างกัน
7. ฟังก์ชันประเภทต่างๆ
1. ฟังก์ชันจาก A ไป B (function from A into B) f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f
เป็นฟังก์ชันที่มี A เป็นโดเมน และมีสับเซตของ B เป็นเรนจ์ เขียนแทนด้วย f : A → B
2. ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B (function from A onto B) f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B ก็ต่อเมื่อ
f เป็นฟังก์ชันที่มี A เป็นโดเมน และมี B เป็นเรนจ์ เขียนแทนด้วย f : A
−→
onto B
3. ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B (one-to-one function from A to B) f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B ซึ่งถ้า y ∈ Rf แล้วจะมี x ∈ Df เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่ทำให้
(x, y) ∈ f เขียนแทนด้วย f : A 1−1
−→ B
f เป็นฟังก์ชัน 1 − 1 ก็ต่อเมื่อ ถ้า f(x1) = f(x2) แล้ว x1 = x2
4. ฟังก์ชันเพิ่ม ให้ f เป็นฟังก์ชันจากสับเซตของ R ไป R และ A ⊆ B f เป็นฟังก์ชันเพิ่มใน A ก็ต่อเมื่อ
สำหรับสมาชิก x1 และ x2 ใด ๆ ใน A ถ้า x1 < x2 แล้ว f(x1) < f(x2)
5. ฟังก์ชันลด ให้ f เป็นฟังก์ชันจากสับเซตของ R ไป R และ A ⊆ B f เป็นฟังก์ชันลดใน A ก็ต่อเมื่อ
สำหรับสมาชิก x1 และ x2 ใด ๆ ใน A ถ้า x1 < x2 แล้ว f(x1) > f(x2)
6. ฟังก์ชันเชิงเส้น (linear function) คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax + b เมื่อ a, b ∈ R
7. ฟังก์ชันคงที่ (constant function) คือฟังก์ชันเชิงเส้นที่มี a = 0 กราฟของฟังก์ชันจะเป็นเส้นตรง
ขนานกับแกน x
8. ฟังก์ชันขั้นบันได (step function) คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของ R และมีค่าฟังก์ชันคงตัว
เป็นช่วง ๆ มากกว่าสองช่วง กราฟของฟังก์ชันจะมีรูปคล้ายบันได
11
9. ฟังก์ชันกำลังสอง (quadratic function) คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c ∈ R
และ a = 0
10. ฟังก์ชันพหุนาม (polynomial function) คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป
f(x) = anxn
+ an−1xn−1
+ . . . + a2x2
+ a1x + a0
โดยที่ an, an−1, . . . , a1, a0 เป็นค่าคงตัว และ n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่าหรือเท่ากับศูนย์
11. ฟังก์ชันตรรกยะ (rational function) คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = p(x)
q(x) เมื่อ p, q เป็นฟังก์ชัน
พหุนาม
12. ฟังก์ชันคาบ (periodic function) ฟังก์ชัน f ซึ่งไม่ใช่ฟังก์ชันคงที่จะเป็นฟังก์ชันคาบก็ต่อเมื่อ มีจำนวนจริง
p ซึ่ง f(x + p) = f(x) สำหรับทุกค่าของ x และ x + p ที่อยู่ในโดเมนของ f
13. ฟังก์ชันคอมโพสิท (Composite function) ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน และ Rf ∩ Dg = φ
ฟังก์ชันคอมโพสิทของ f และ g เขียนแทนด้วย g ◦ f กำหนดโดย (g ◦ f)(x) = g(f(x)) สำหรับทุก x
ซึ่ง f(x) ∈ Dg
14. ฟังก์ชันอินเวอร์ส (inverse function) ให้ f เป็นฟังก์ชัน f−1 เป็นฟังก์ชัน ก็ต่อเมื่อ f
เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
15. พีชคณิตของฟังก์ชัน (algebra of function) กำหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันในเซตของ
จำนวนจริง
f + g = { (x, y) | y = f(x) + g(x) และ x ∈ Df ∩ Dg}
f − g = { (x, y) | y = f(x) − g(x) และ x ∈ Df ∩ Dg}
f · g = { (x, y) | y = f(x) · g(x) และ x ∈ Df ∩ Dg}
f
g = { (x, y) | y = f(x)
g(x) เมื่อ x ∈ Df ∩ Dg และ g(x) = 0}
12
เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย
(Analytic geometry and Conic section)
1. เรขาคณิตวิเคราะห์
ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด ระยะห่างระหว่างจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) คือ
|P1P2| = (x1 − x2)2 + (y1 − y2)2
จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด ให้ P(x, y) เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2)
P(x, y) = x1+x2
2 , y1+y2
2
จุดที่แบ่งระยะห่างระหว่างจุดสองจุดเป็นอัตราส่วน m : n ให้ P(x, y) เป็นจุดที่แบ่งระยะห่าง
ระหว่างจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) เป็น m : n กล่าวคือ |PP1| : |PP2| = m : n
P(x, y) = nx1+mx2
m+n , ny1+my2
m+n
ความชัน 1. ให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) โดยที่ x1 = x2 จะได้ว่า m
เป็นความชันของเส้นตรง L ก็ต่อเมื่อ
m = y1−y2
x1−x2
2. ถ้าเส้นตรง L ทำมุม θ กับแกน X แล้ว
ความชันของ L = tan θ
3. ถ้าเส้นตรง L1 และ L2 มีความชันเป็น m1 และ m2 ตามลำดับ จะได้ว่า
L1 L2 ↔ m1 = m2
m1 · m2 = −1 ↔ L1 ⊥ L2
13
ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้น ระยะทางระหว่างเส้นตรง Ax + By + C = 0 กับจุด (x1, y1) คือ
d = |Ax1+By1+C|
√
A2+B2
ระยะห่างระหว่างเส้นขนาน ระยะห่างระหว่างเส้นขนาน Ax + By + C1 = 0 กับ Ax + By + C2 = 0 คือ
d = |C1−C2|
√
A2+B2
ข้อระวัง ต้องทำให้ A และ B ของทั้งสองสมการเท่ากันก่อนจึงจะใช้สูตรได้
2. ภาคตัดกรวย
1. วงกลม
นิยาม วงกลมคือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจากจุดคงที่(จุดศูนย์กลาง) จุดหนึ่งบนระนาบ
เป็นระยะทางเท่ากัน(รัศมี) เสมอ
สมการวงกลม
(x − h)2 + (y − k)2 = r2
องค์ประกอบ
จุดศูนย์กลาง (h, k)
รัศมี r
ข้อสังเกต
1. ใช้กำลังสองสมบูรณ์ในการแปลงสมการให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน เพื่อหาจุดศูนย์กลาง และรัศมี
2. x และ y นั้นมีกำลังสองเท่ากัน มีสัมประสิทธิ์เท่ากัน และบวกกันอยู่
3. รัศมีมากกว่าศูนย์ ถ้ารัศมีเป็นศูนย์ จะได้กราฟเป็นจุดศูนย์กลางจุดเดียว
14
2. พาราโบลา
นิยาม พาราโบลาคือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรงคงที่(ไดเรกทริกซ์) เส้นหนึ่ง
บนระนาบ และจุดคงที่(โฟกัส) จุดหนึ่ง เป็นระยะทางเท่ากันเสมอ
สมการพาราโบลา
(x − h)2 = 4c(y − k)
(y − k)2 = 4c(x − h)
15
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ พาราโบลาแบบคร่อมแกน x พาราโบลาแบบคร่อมแกน y
จุดยอด (h, k) (h, k)
โฟกัส (h + c, k) (h, k + c)
สมการไดเรกทริกซ์ x = h − c y = k − c
ความกว้างของพาราโบลา ณ จุดโฟกัส |4c| |4c|
แกนของพาราโบลา y = k x = h
ข้อสังเกต
1. กราฟของสมการพาราโบลาจะคร่อมทางแกนกำลังหนึ่ง
2. จุดโฟกัสได้จากการบวก c เข้ากับจุดยอด ตามแกนที่คร่อม
3. วงรี
นิยามวงรีคือเซตของจุดทุกจุดบนระนาบซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุดใดๆไปยังจุดคงที่(จุดโฟกัส)สองจุดบนระนาบ
มีค่าคงตัว โดยค่าคงตัวนี้มากกว่าระยะห่างของจุดคงที่ทั้งสอง
สมการวงรี
(x−h)2
a2 + (y−k)2
b2 = 1
16
(x−h)2
b2 + (y−k)2
a2 = 1
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ วงรีแบบคร่อมแกน x วงรีแบบคร่อมแกน y
ศูนย์กลาง (h, k) (h, k)
จุดยอด(V, V ) (h ± a, k) (h, k ± a)
โฟกัส(F, F ) (h ± c, k) (h, k ± c)
จุดปลายแกนโท(B, B ) (h, k ± b) (h ± b, k)
ความยาวแกนเอก 2a 2a
ความยาวแกนโท 2b 2b
ความกว้างของวงรี ณ โฟกัส 2b2
a
2b2
a
ข้อสังเกต
1. ความสัมพันธ์ของ a, b และ c คือ b2 = a2 − c2
2. a มากกว่า b
3. a หรือตัวมาก อยู่ใต้แกนใด กราฟคร่อมไปทางแกนนั้น
4. คร่อมแกนไหนแกนนั้นเปลี่ยน (เปลี่ยนจาก (h, k) โดยการเลื่อนด้วย a สำหรับจุดยอด และ c สำหรับโฟกัส)
5. ความยาวคงที่ที่กล่าวถึงในนิยามยาว 2a นั่นคือ สำหรับจุด P ใด ๆ บนวงรีจะได้ว่า |PF| + |PF | = 2a
4. ไฮเพอร์โบลา
นิยาม ไฮเพอร์โบลาคือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจากจุดใด ๆ ไปยังจุดคงที่(จุดโฟกัส)
สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่ทั้งสอง
17
สมการไฮเพอร์โบลา
(x−h)2
a2 − (y−k)2
b2 = 1
(y−k)2
a2 − (x−h)2
b2 = 1
18
องค์ประกอบ
องค์ประกอบ ไฮเพอร์โบลาแบบคร่อมแกน x ไฮเพอร์โบลาแบบคร่อมแกน y
ศูนย์กลาง (h, k) (h, k)
จุดยอด(V, V ) (h ± a, k) (h, k ± a)
โฟกัส(F, F ) (h ± c, k) (h, k ± c)
จุดปลายแกนสังยุค(B, B ) (h, k ± b) (h ± b, k)
ความยาวแกนตามขวาง 2a 2a
ความยาวแกนสังยุค 2b 2b
ความกว้างของไฮเพอร์โบลา ณ โฟกัส 2b2
a
2b2
a
สมการเส้นกำกับ(asymptote) (y − k) = ±b
a (x − h) (y − k) = ±a
b (x − h)
ข้อสังเกต
1. ความสัมพันธ์ของ a, b และ c คือ b2 = c2 − a2
2. a กับ b เปรียบเทียบกันไม่ได้
3. ใต้แกนใดเป็นบวก กราฟคร่อมไปทางแกนนั้น
4. ใต้แกนบวกเป็น a2 (กราฟคร่อมไปทางแกนไหน ใต้แกนนั้นเป็น a2 )
5. คร่อมแกนไหนแกนนั้นเปลี่ยน (เปลี่ยนจาก (h, k) โดยการเลื่อนด้วย a สำหรับจุดยอด และ c สำหรับโฟกัส)
6. ความยาวคงที่ที่กล่าวถึงในนิยามยาว 2a นั่นคือ สำหรับจุด P ใด ๆ บนวงรีจะได้ว่า
| |PF| − |PF | | = 2a
7. ในการแปลงรูปสมการโดยใช้กำลังสองสมบูรณ์ จงระมัดระวังเครื่องหมายเมื่อดึงตัวร่วมที่เป็นลบ
19
ตรีโกณมิติ (Trigonometry)
1. สูตรตรีโกณมิติ
1. ค่ามุมและนิยามพื้นฐาน
มุม (θ) 0 30 (π
6 ) 45 (π
4 ) 60 (π
3 ) 90 (π
2 )
sin θ 0 1
2
√
2
2
√
3
2 1
cos θ 1
√
3
2
√
2
2
1
2 0
tan θ 0 1√
3
1
√
3 ไม่นิยาม
sin (−θ) = − sin θ
cos (−θ) = cos θ
tan θ = sin θ
cos θ ; cos θ = 0
sec θ = 1
cos θ ; cos θ = 0
csc θ = 1
sin θ ; sin θ = 0
cot θ = cos θ
sin θ ; sin θ = 0
2. สูตรตรีโกณมิติพื้นฐาน
sin2
θ + cos2 θ = 1
1 + cot2 θ = csc2 θ ; sin θ = 0
tan2 θ + 1 = sec2 θ ; cos θ = 0
sin(A ± B) = sin A cos B ± sin B cos A
cos(A ± B) = cos A cos B ∓ sin A sin B
tan(A ± B) = tan A±tan B
1∓tan A tan B
cot(A ± B) = cot A cot B∓1
cot A±cot A
20
2 sin A cos B = sin(A + B) + sin(A − B)
2 cos A sin B = sin(A + B) − sin(A − B)
2 cos A cos B = cos(A + B) + cos(A − B)
2 sin A sin B = cos(A − B) − cos(A + B)
sin A + sin B = 2 sin(A+B
2 ) cos(A−B
2 )
sin A − sin B = 2 cos(A+B
2 ) sin(A−B
2 )
cos A + cos B = 2 cos(A+B
2 ) cos(A−B
2 )
cos A − cos B = −2 sin(A+B
2 ) sin(A−B
2 )
sin 2A = 2 sin A cos A
= 2 tan A
1+tan2 A
cos 2A = cos2 A − sin2
A
= 1 − 2 sin2
A
= 2 cos2 A − 1
tan 2A = 2 tan A
1−tan2 A
sin 3A = 3 sin A − 4 sin3
A
cos 3A = 4 cos3 A − 3 cos A
tan 3A = 3 tan A−tan3 A
1−3 tan2 A
sin A
2 = ± 1−cos A
2
cos A
2 = ± 1+cos A
2
tan A
2 = ± 1−cos A
1+cos A
21
3. อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ฟังก์ชัน โดเมน เรนจ์
sin [−π
2 , π
2 ] [−1, 1]
cos [0, π] [−1, 1]
tan (−π
2 , π
2 ) R
csc [−π
2 , 0) ∪ (0, π
2 ] (−∞, −1] ∪ [1, ∞)
sec [0, π
2 ) ∪ (π
2 , π] (−∞, −1] ∪ [1, ∞)
cot (0, π) R
ฟังก์ชัน โดเมน เรนจ์
arcsin [−1, 1] [−π
2 , π
2 ]
arccos [−1, 1] [0, π]
arctan R (−π
2 , π
2 )
arccsc (−∞, −1] ∪ [1, ∞) [−π
2 , 0) ∪ (0, π
2 ]
arcsec (−∞, −1] ∪ [1, ∞) [0, π
2 ) ∪ (π
2 , π]
arccot R (0, π)
4. กฏของโคไซน์และไซน์
กฏของไซน์ (sine - law)
sin A
a = sin B
b = sin C
c
กฏของโคไซน์ (cosine - law)
a2 = b2 + c2 − 2bc cos A
b2 = a2 + c2 − 2ac cos B
c2 = a2 + b2 − 2ab cos C
22
ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
(Exponential function and Logarithmic function)
1. เลขชี้กำลัง
นิยาม ให้ a ∈ R, n ∈ N
1. an = a · a · . . . · a
n copies
2. a−n = 1
an เมื่อ a = 0
3. a0 = 1 เมื่อ a = 0
สมบัติ ให้ a, b ∈ R และ m, n ∈ Q, am, an, bn ∈ R
1. am · an = am+n
2. am
an = am−n เมื่อ a = 0
3. (an)m = anm
4. (ab)n = anbn
5. (a
b )n = an
bn เมื่อ b = 0
2. ค่ารากของจำนวนจริง
นิยาม กำหนด x, y ∈ R, n ∈ N − {1}
1. y เป็นค่ารากที่ n ของ x ก็ต่อเมื่อ yn = x
2. y เป็นค่าหลักรากที่ n ของ x ก็ต่อเมื่อ
(i) yn = x
(ii) xy ≥ 0
เราใช้สัญลักษณ์ n
√
x หรือ x
1
n แทนค่าหลักรากที่ n ของ x
สมบัติ ให้ x, y ∈ R, m, n ∈ N − {1}
1. ถ้า x มีค่ารากที่ n แล้ว ( n
√
x)n = x
2. ถ้า x และ y มีค่ารากที่ n แล้ว n
√
x n
√
y = n
√
xy
3. ถ้า x และ y มีค่ารากที่ n และ y = 0 แล้ว
n√
x
n
√
y = n x
y
4. ถ้า x เป็นจำนวนจริงบวกแล้ว x
m
n = (xm)
1
n = (x
1
n )m
5. ถ้า x มีค่ารากที่ n, m แล้ว x จะมีค่ารากที่ nm
6. n
√
xn = |x| เมื่อ n เป็นจำนวนคู่
n
√
xn = x เมื่อ n เป็นจำนวนคี่
7. ถ้า x > 0 แล้ว n
√
x > 0
ถ้า x < 0 แล้ว n
√
x < 0
ถ้า x = 0 แล้ว n
√
x = 0
3. การหาค่าของ x ± 2
√
y ให้ x, y ∈ [0, ∞) โดยที่ x ≥ 2
√
y
x ± 2
√
y =
√
a ±
√
b โดย x = a + b, y = ab และ a ≥ b
23
4. ฟังก์ชันชี้กำลัง
expa = {(x, y) | y = ax} โดยที่ a > 0, a = 1
y = ax
0 < a < 1 a > 1
ฟังก์ชันลด ฟังก์ชันเพิ่ม
1. ผ่านจุด (0, 1) เสมอ
2. ไม่ตัดแกน X
3. เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (มีอินเวอร์ส)
4. โดเมน คือ R เรนจ์คือ R+
การแก้สมการและอสมการฟังก์ชันชี้กำลัง
สำหรับ 0 < a < 1 หรือ a > 1
ax = ay ↔ x = y
สำหรับ 0 < a < 1
ax > ay ↔ x < y
ax ≥ ay ↔ x ≤ y
สำหรับ a > 1
ax > ay ↔ x > y
ax ≥ ay ↔ x ≥ y
ข้อสังเกต 1. ในการจัดรูปสมการมักมีการสมมติตัวแปร
2. อาจมีบางคำตอบที่เป็นไปไม่ได้
24
5. ฟังก์ชันลอการิทึม
loga = exp−1
a = {(x, y) | y = loga x} โดยที่ a > 0, a = 1
y = loga x
0 < a < 1 a > 1
ฟังก์ชันลด ฟังก์ชันเพิ่ม
1. ผ่านจุด (1, 0) เสมอ
2. ไม่ตัดแกน Y
3. เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (มีอินเวอร์ส)
4. โดเมน คือ R+ เรนจ์คือ R
การแก้สมการและอสมการฟังก์ชันลอการิทึม
สำหรับ 0 < a < 1 หรือ a > 1
loga x = loga y ↔ x = y
สำหรับ 0 < a < 1
loga x > loga y ↔ x < y
loga x ≥ loga y ↔ x ≤ y
สำหรับ a > 1
loga x > loga y ↔ x > y
loga x ≥ loga y ↔ x ≥ y
ข้อสังเกต 1. x = ay ↔ y = loga x
2. เรียก x ว่าเลขหลังล็อค ซึ่งต้องมากกว่า 0
3. ในการจัดรูปสมการมักมีการสมมติตัวแปร
4. อาจมีบางคำตอบที่เป็นไปไม่ได้ ต้องตรวจคำตอบเสมอ
25
สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม (เมื่อทุกพจน์มีความหมาย)
1. loga 1 = 0
2. loga a = 1
3. loga xy = loga x + loga y
4. loga
x
y = loga x − loga y
5. logam xn = n
m loga x
6. aloga x = x
7. เขียน log x แทน log10 x โดยเรียก log x ว่าลอการิทึมสามัญ
เขียน ln x แทน loge x เมื่อ e ≈ 2.7182818 โดยเรียก ln x ว่าลอการิทึมธรรมชาติ
8. loga x = logc x
logc a = log x
log a = ln x
ln a = 1
logx a เมื่อ c > 0 และ c = 1
9. กำหนดให้ log N = n + log n0 โดยที่ 1 ≤ n0 < 10 และ n ∈ I
เรียก n ว่าค่าคาแรกเทอริสติก(characteristic) และเรียก log n0 ว่าค่าแมนทิสสา(mantissa)
10. log x = y ↔ x =antilog y
26
เมทริกซ์ (Matrix)
1. เมทริกซ์
นิยาม เมทริกซ์ คือ ชุดของจำนวน mn ตัว ซึ่งเขียนเรียงกัน m แถว n หลัก ภายในเครื่องหมายวงเล็บ
ในรูปแบบ
⎡
⎢
⎢
⎢
⎢
⎣
a11 a12 · · · a1n
a21 a22 · · · a2n
...
am1 am2 · · · amn
⎤
⎥
⎥
⎥
⎥
⎦
เรียก aij ว่าสมาชิก(entry) ในแถวที่ i และหลักที่ j ของเมทริกซ์ หรือเรียกว่าสมาชิกในตำแหน่งที่ ij
ของเมทริกซ์ เมื่อ i = 1, 2, . . . , m และ j = 1, 2, . . . , n
เรียก เมทริกซ์ที่มี m แถว n หลัก ว่าเป็น m × n เมทริกซ์และเรียก m × n ว่าเป็นมิติของเมทริกซ์
นิยาม ถ้า A เป็น m × n เมทริกซ์ใด ๆ แล้วทรานโพสของ A แทนด้วย At คือ n × m เมทริกซ์ ที่มีหลักที่
i เหมือนแถวที่ i ของเมทริกซ์ A เมื่อ i = 1, 2, . . . , m
นิยาม A = B ก็ต่อเมื่อ A และ B มีมิติเท่ากัน และ aij = bij สำหรับทุก ๆ ค่าของ i และ j
การบวกและการคูณของเมทริกซ์
นิยาม ถ้าเมทริกซ์ A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n จะได้ A + B = [aij + bij]m×n
นิยาม การคูณเมทริกซ์ด้วยจำนวนจริง : ถ้า A = [aij]m×n และ c เป็นจำนวนจริงแล้ว cA = [caij]m×n
นิยาม ถ้า A และ B เป็น m × n เมทริกซ์ แล้ว A − B = A + (−B)
นิยาม การคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ : กำหนดให้ A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n ผลคูณของ AB คือ
[cij]m×n เมื่อ cij = ai1b1j + · · · + ainbnj
ข้อสังเกต เมทริกซ์จะคูณกันได้ก็ต่อเมื่อจำนวนหลักของตัวตั้งต้องเท่ากับจำนวนแถวของตัวคูณ
ข้อตกลง สำหรับจำนวนนับ n ใด ๆ An = A · A · . . . · A
n copies
ประเภทของเมทริกซ์ที่สำคัญ
เมทริกซ์ศูนย์ แทนด้วย 0 หรือ [0]m×n คือ เมทริกซ์ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็น 0
เมทริกซ์แถว คือเมทริกซ์ที่มีเพียงแถวเดียว
เมทริกซ์หลัก คือเมทริกซ์ที่มีเพียงหลักเดียว
เมทริกซ์จัตุรัส คือเมทริกซ์ที่มีจำนวนแถวและจำนวนหลักเท่ากัน
เมทริกซ์ทแยงมุม คือเมทริกซ์จัตุรัสที่มีสมาชิก ที่ไม่อยู่ในแนวเส้นทแยงมุมหลัก (แนวทแยงจากมุมซ้ายบน
ไปยังขวาล่าง) เป็นศูนย์หมด
เมทริกซ์เอกลักษณ์ หรือเมทริกซ์หนึ่งหน่วย คือเมทริกซ์ทแยงมุมที่มีสมาชิกในแนวทแยงมุมหลักเป็นหนึ่ง
ทั้งหมด และสมาชิกในตำแหน่งอื่นเป็นศูนย์ แทนเมทริกซ์เอกลักษณ์ขนาด n × n ด้วย In
เมทริกซ์ไม่เอกฐาน (nonsingular matrix) เราจะเรียกเมทริกซ์จัตุรัส A ว่าเป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน ก็ต่อเมื่อ
เราสามารถหาเมทริกซ์จัตุรัส B ซึ่งทำให้ AB = BA = I เมื่อ I คือเมทริกซ์เอกลักษณ์ขนาด
เดียวกับเมทริกซ์A
เมทริกซ์เอกฐาน (singular matrix) คือเมทริกซ์จัตุรัสที่ไม่ใช่เมทริกซ์ไม่เอกฐาน
27
นิยาม ถ้า A =
a11 a12
a21 a22
เป็นเมทริกซ์จัตุรัสขนาด 2×2 แล้วดีเทอร์มินันต์ของ A คือa11a22−a21a22
แทนด้วย det(A), |A| หรือ
a11 a12
a21 a22
นิยาม กำหนดเมทริกซ์ A = [aij]n×n โดย n > 2 แล้วไมเนอร์ของ aij คือดีเทอร์มินันต์ที่ได้จากการ
ตัดแถวที่ i หลักที่ j ของเมทริกซ์ A แทนด้วย Mij(A)
นิยาม กำหนดเมทริกซ์ A = [aij]n×n โดย n > 2 แล้วโคแฟคเตอร์ของ aij คือ (−1)i+jMij(A) แทน
ด้วยCij(A)
ทฤษฎีบท กำหนดให้ A =
⎡
⎢
⎣
a11 a12 a13
a21 a22 a23
a31 a32 a33
⎤
⎥
⎦
det(A) = (a11a22a33 + a12a23a31 + a13a21a32) − (a31a22a13 + a32a23a11 + a33a21a12)
ทฤษฎีบท กำหนดให้ A = [aij]n×n โดย aij ∈ R โดย n ≥ 2
1. det(A) = ai1Ci1(A) + ai2Ci2(A) + · · · + ainCin(A) (สำหรับ n > 2)
2. det(A) = a1jC1j(A) + a2jC2j(A) + · · · + anjCnj(A) (สำหรับ n > 2)
3. ถ้า A มีสมาชิกแถวใดแถวหนึ่ง(หลักใดหลักหนึ่ง) เป็นศูนย์ทุกตัวแล้ว det(A) = 0
4. ถ้าสลับที่ระหว่างสองแถวหรือสองหลักใด ๆ ของ A แล้ว ดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์ใหม่คือ −det(A)
5. ถ้า A มีสมาชิกสองแถวหรือสองหลักใด ๆ เหมือนกันแล้ว det(A) = 0
6. ถ้าคูณสมาชิกทุกตัวในแถวหรือหลักใด ๆ ของ A ด้วยค่าคงตัว c แล้วดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์
ใหม่คือc · det(A)
7. ถ้าเปลี่ยนแถวใดแถวหนึ่ง(หรือหลักใดหลักหนึ่ง)ของ A โดยใช้ค่าคงตัวที่ไม่ใช่ศูนย์ คูณสมาชิกทุกตัว
ในแถวใดแถวหนึ่ง(หรือหลักใดหลักหนึ่ง)ของ A แล้วนำไปบวกกับสมาชิกในแถว(หรือหลัก)ที่ต้องการ
เปลี่ยนนั้น โดยบวกสมาชิกในลำดับเดียวกันเข้าด้วยกัน แล้วใช้ผลบวกแทนที่สมาชิกเดิม แล้วดีเทอร์มิ-
นันต์ของเมทริกซ์ใหม่ จะเท่ากับดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์เดิม
นิยาม ถ้า A = [aij]n×n เมื่อ n > 1 แล้ว เมทริกซ์ผูกพัน(adjoint matrix) ของ A แทนด้วย adj(A) คือ
adj(A) = (Cij(A))t
ทฤษฎีบท ถ้า A = [aij]n×n เมื่อ n > 1 แล้ว A−1 = 1
det(A) adj(A) เมื่อ det(A) = 0 เรียก A−1
เมทริกซ์สมมาตร (symmetry matrix) คือเมทริกซ์ที่สมาชิกแถวที่i หลักที่j เหมือนกับสมาชิกแถวที่j หลักที่ i
ทฤษฎีบท กำหนดให้ A, B, C เป็นเมทริกซ์ขนาด m × n และ 0 เป็นเมทริกซ์ศูนย์ขนาด m × n จะได้ว่า
1. A + B เป็นเมทริกซ์ขนาด m × n
2. A + (B + C) = (A + B) + C
3. A + 0 = A = 0 + A
4. A + (−A) = 0 = (−A) + A
5. A + B = B + A
6. A(BC) = (AB)C
7. A(B + C) = AB + AC
8. AIn = A = InA
9. (AB)t = BtAt และ (ABC)t = CtBtAt
10. (kA)−1 = 1
k A−1 เมื่อ k ∈ R
ดีเทอร์มินันต์ (Determinant)
28
ว่าอินเวอร์สการคูณของ A
ทฤษฎีบท ถ้า A =
a b
c d
และ det(A) = 0 จะได้ A−1 = 1
ad−bc
d −b
−c a
ทฤษฎีบท ถ้า A = [aij]n×n, A = [aij]n×n เมื่อ n ≥ 2 แล้ว
1. det(A) = det(At)
2. det(AB) = det(A)det(B)
3. det(An) = (det(A))n
4. det(cA) = cndet(A)
5. det(In) = 1
6. det(A−1) = 1
det(A)
7. det(adj(A)) = (det(A))n−1
2. การหาคำตอบของระบบสมการเชิงเส้น
ทฤษฎีบท : กฏของคราเมอร์ จากระบบสมการเชิงเส้น เขียนสมการเมทริกซ์ได้ดังนี้
⎡
⎢
⎢
⎢
⎢
⎣
a11 a12 · · · a1n
a21 a22 · · · a2n
...
an1 an2 · · · ann
⎤
⎥
⎥
⎥
⎥
⎦
⎡
⎢
⎢
⎢
⎢
⎣
x1
x2
...
xn
⎤
⎥
⎥
⎥
⎥
⎦
=
⎡
⎢
⎢
⎢
⎢
⎣
b1
b2
...
bn
⎤
⎥
⎥
⎥
⎥
⎦
ซึ่งอยู่ในรูป AX = B ถ้า A เป็นเมทริกซ์ขนาด n × n โดยที่ det(A) = 0 แล้วระบบสมการที่เขียน
ในรูปสมการเมทริกซ์ AX = B เมื่อตัวไม่ทราบค่าคือ x1, x2, x3, . . . , xn และ b1, b2, b3, . . . , bn เป็นค่าคงตัว
มีคำตอบคือ
x1 = det(A1)
det(A) , x2 = det(A2)
det(A) , x3 = det(A3)
det(A) , . . . , xn = det(An)
det(A)
เมื่อ Ai คือเมทริกซ์ที่ได้จากการแทนหลักที่ i ของ A ด้วยหลักของ B
การดำเนินการทางแถว (row operation)
คือการดำเนินการกับเมทริกซ์ที่จะลดขั้นตอนและทำให้คำตอบของระบบสมการไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งมี 3 วิธีคือ
1. การสลับที่ระหว่างแถวที่ i กับแถวที่ j แทนด้วย Rij
2. การคูณสมาชิกทุกตัวในแถวที่ i ด้วยค่าคงตัว c โดยที่ c = 0 แทนด้วย cRi
3. การบวกแถวที่ i ด้วย c เท่าของแถวที่ j แทนด้วย Ri + cRj
ข้อสังเกต การดำเนินการทางแถวสามารถใช้ในการหาคำตอบของระบบสมการเชิงเส้น และการหา
อินเวอร์สการคูณ
29
กำหนดการเชิงเส้น (Linear Programing)
1. กราฟอสมการเชิงเส้น
1. วาดกราฟสมการเชิงเส้น (โดยหาจุดที่สอดคล้องกับสมการเชิงเส้นสองจุด มักใช้จุดตัดแกนX
และจุดตัดแกนY )
2. พิจารณาอาณาบริเวณ โดยใช้จุดที่ไม่อยู่บนเส้นกราฟทดสอบ (มักใช้จุด (0, 0))
ถ้าจุดที่ทดสอบสอดคล้องกับอสมการ จะได้กราฟเป็นอาณาบริเวณที่มีจุดนั้นอยู่
ถ้าจุดที่ทดสอบขัดแย้งกับอสมการ จะได้กราฟเป็นอาณาบริเวณที่อยู่ตรงข้ามกับบริเวณที่มีจุดนั้นอยู่
3. พิจารณาว่าอสมการนั้นยอมรับการเท่ากันได้หรือไม่ โดยเลือกแทนด้วยเส้นทึบหรือเส้นประให้สอดคล้อง
2. กราฟของระบบอสมการเชิงเส้น
1. วาดกราฟของอสมการเชิงเส้น หาบริเวณที่สอดคล้องในทุกๆ อสมการ (คืออาณาบริเวณที่ซ้อนทับกัน)
เรียกอาณาบริเวณนั้นว่า อาณาบริเวณที่หาคำตอบได้ แล้วหาพิกัดของมุมของอาณาบริเวณที่หาคำตอบได้
2. ในกรณีที่ระบบอสมการเชิงเส้นมีหลายอสมการ ในการวาดกราฟของอสมการเชิงเส้น อาจต้องหาพิกัดของ
จุดตัดของสองเส้นก่อน
3. การแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีใช้กราฟ
- ปัญหากำหนดการเชิงเส้นประกอบด้วย ฟังก์ชันจุดประสงค์ (objective function) และอสมการข้อจำกัด
(constraint inequalities)
- ผลเฉลยของปัญหาจะเป็นพิกัดที่อยู่ในบริเวณที่หาคำตอบได้ของระบบอสมการเชิงเส้นที่ได้มาจาก
อสมการข้อจำกัดโดยเป็นพิกัดที่ทำให้ฟังก์ชันมีค่าสูงสุดหรือต่ำสุดตามฟังก์ชันจุดประสงค์
- โดยการใช้การเลื่อนของกราฟฟังก์ชันจุดประสงค์ที่มีความชันคงที่ แต่มีระยะตัดแกน Y ที่เปลี่ยนแปลง
พบว่าคำตอบที่ต้องการจะอยู่ที่จุดมุมของอาณาบริเวณที่หาคำตอบได้
4. สรุปขั้นตอนการแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้น
1. สมมติตัวแปร กำหนดฟังก์ชันจุดประสงค์ และอสมการข้อจำกัด
2. วาดกราฟของระบบอสมการเชิงเส้นที่ได้จากอสมการข้อจำกัด แล้วหาอาณาบริเวณที่หาคำตอบได้
3. หาพิกัดของจุดมุมของอาณาบริเวณที่หาคำตอบได้
4. นำจุดมุมทั้งหมดไปทดสอบกับฟังก์ชันจุดประสงค์ โดยเลือกพิกัดที่ทำให้ค่าของฟังก์ชันสูงสุดหรือต่ำสุด
ตามที่ต้องการ
ข้อสังเกต ในบางสถานการณ์ปัญหา ต้องการคำตอบที่เป็นจำนวนเต็ม แต่ถ้าพิกัดที่เป็นคำตอบไม่ใช่จำนวนเต็ม
จะต้องนำพิกัดที่เป็นจำนวนเต็มที่อยู่ใกล้เคียงกับจุดนั้น มาพิจารณหาพิกัดที่ให้ค่าที่ดีที่สุดแทน
30
เวกเตอร์ (Vectors)
1. ระบบพิกัดฉากสามมิติ
ทฤษฎีบท ระยะทางระหว่างจุด P(x1, y1, z1) และ Q(x2, y2, z2) หรือ | PQ |
มีค่าเท่ากับ (x2 − x1)2 + (y2 − y1)2 + (z2 − z1)2
2. เวกเตอร์
ปริมาณสเกลาร์(scalar quantity) คือปริมาณที่มีแต่ขนาด
ปริมาณเวกเตอร์(vector quantity) คือปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง
การเขียนปริมาณเวกเตอร์
1. เขียนแทนด้วยส่วนของเส้นตรงในระนาบ
ใช้สัญลักษณ์ AB แทนเวกเตอร์จาก A ไป B ซึ่งคือ ส่วนของเส้นตรงที่มีทิศจาก A ไป B เรียก A
ว่าจุดเริ่มต้น (initial point) เรียก B ว่าจุดสิ้นสุด (terminal point)
2. เขียนโดยใช้ตัวเลข
ถ้าจุด A มีพิกัดเป็น (x1, y1) และ B มีพิกัดเป็น (x2, y2) จะแทน AB ด้วย
x2 − x1
y2 − y1
ถ้าจุด A มีพิกัดเป็น (x1, y1, z1) และ B มีพิกัดเป็น (x2, y2, z2) จะแทน AB ด้วย
⎡
⎢
⎣
x2 − x1
y2 − y1
z2 − z1
⎤
⎥
⎦
(ใช้จุดสิ้นสุดลบจุดเริ่มต้น)
นิเสธของเวกเตอร์
นิเสธของเวกเตอร์ u คือเวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับขนาดของ u และมีทิศทางตรงข้ามกัน แทนด้วย − u
ขนาดของเวกเตอร์
ถ้าจุด A และ B มีพิกัดเป็น (x1, y1) และ (x2, y2) แล้ว | AB | = (x2 − x1)2 + (y2 − y1)2
และถ้าจุด A และ B มีพิกัดเป็น (x1, y1, z1) และ (x2, y2, z2) แล้ว
| AB | = (x2 − x1)2 + (y2 − y1)2 + (z2 − z1)2 ซึ่ง | AB | = | BA |
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย(unit vector)
เวกเตอร์หนึ่งหน่วย คือเวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่งหน่วย ซึ่งเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางเดียวกับ u คือ 1
| u |
u
โคไซน์แสดงทิศทาง(direction cosines) โคไซน์แสดงทิศทางของ a เมื่อ a=
⎡
⎢
⎣
a1
a2
a3
⎤
⎥
⎦ ซึ่ง | a | = 0
เทียบกับแกน X, Y และ Z ตามลำดับ คือจำนวนสามจำนวนซึ่งเรียงตามลำดับดังนี้ a1
| a |
, a2
| a |
, a3
| a |
นิยาม เวกเตอร์สองเวกเตอร์ จะมีทิศทางเดียวกันก็ต่อเมื่อมีโคไซน์แสดงทิศทางชุดเดียวกัน และจะมี
ทิศทางตรงข้ามกันก็ต่อเมื่อ โคไซน์แสดงทิศทางเทียบแต่ละแกนของเวกเตอร์หนึ่งเป็นจำนวนตรงข้าม
กับโคไซน์แสดงทิศทางของอีกเวกเตอร์หนึ่ง
31
นิยาม เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉากสองมิติ เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉากสามมิติ
การเท่ากัน
a
b
=
c
d
ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
⎡
⎢
⎣
a
b
c
⎤
⎥
⎦ =
⎡
⎢
⎣
d
e
f
⎤
⎥
⎦ ก็ต่อเมื่อ
a = d, b = e และ c = f
การบวกเวกเตอร์
a
b
+
c
d
=
a + c
b + d
⎡
⎢
⎣
a
b
c
⎤
⎥
⎦ +
⎡
⎢
⎣
d
e
f
⎤
⎥
⎦ =
⎡
⎢
⎣
a + d
b + e
c + f
⎤
⎥
⎦
เวกเตอร์ศูนย์ 0 เวกเตอร์ศูนย์คือ
0
0
เวกเตอร์ศูนย์คือ
⎡
⎢
⎣
0
0
0
⎤
⎥
⎦
การลบเวกเตอร์
a
b
−
c
d
=
a − c
b − d
⎡
⎢
⎣
a
b
c
⎤
⎥
⎦ −
⎡
⎢
⎣
d
e
f
⎤
⎥
⎦ =
⎡
⎢
⎣
a − d
b − e
c − f
⎤
⎥
⎦
การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ α
a
b
=
αa
αb
α
⎡
⎢
⎣
a
b
c
⎤
⎥
⎦ =
⎡
⎢
⎣
αa
αb
αc
⎤
⎥
⎦
เมื่อ α เป็นจำนวนจริงใดๆ เมื่อ α เป็นจำนวนจริงใดๆ
การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์
1. ถ้า c > 0 แล้ว c u จะเป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับ c| u | และมีทิศทางเดียวกับ u
2. ถ้า c < 0 แล้ว c u จะเป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับ −c| u | และมีทิศทางตรงข้ามกับ u
3. ถ้า c = 0 แล้ว c u= 0
4. ให้ m และ n เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ u, v เป็นเวกเตอร์ใด ๆ แล้ว
(i) (m + n) u = m u + n u
(ii) (mn) u = m(n u)
(iii) m(u + v ) = m u + m v
การขนานกันของเวกเตอร์
กำหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ที่ไม่ใช่ 0 จะกล่าวว่า u และ v ขนานกันก็ต่อเมื่อ มีจำนวนจริง c ที่ไม่ใช่
0 ที่ทำให้ u = c v
32
3. ผลคูณเชิงสเกลาร์
ถ้า u = x1 i + y1 j และ v = x2 i + y2 j จะได้ว่า u · v = x1x2 + y1y2
ถ้า u = x1 i + y1 j + z1 k และ v = x2 i + y2 j + z2 k จะได้ว่า u · v = x1x2+y1y2+z1z2
และ u · v = | u || v | cos θ
เมื่อ θ คือมุมระหว่าง u และ v , 0◦ ≤ θ ≤ 180◦ (แบบใช้จุดเริ่มต้นต่อกับจุดเริ่มต้น)
สมบัติของผลคูณเชิงสเกลาร์
กำหนดให้ u, v และ w เป็นเวกเตอร์ใด ๆ
1. u · v = v · u
2. u · u = | u |2
3. u ·(v + w) = u · v + u · w
4. ถ้า u = 0 หรือ v = 0 แล้ว u · v = 0
5. ถ้า u=0 และ v =0 แล้ว u⊥v ก็ต่อเมื่อ u · v = 0
6. | u ± v |2 = | u |2 ± 2 u · v +| v |2
7. ให้ D เป็นจุดบน OB ที่ AD⊥OB จะได้ว่า OD= (OA · OB) OB
|OB|2
4. ผลคูณเชิงเวกเตอร์
ถ้า u = a1 i + a2 j + a3 k และ v = b1 i + b2 j + b3 k
ผลคูณเชิงเวกเตอร์ของ u และ v แทนด้วย u × v คือเวกเตอร์
⎡
⎢
⎣
a2b3 − a3b2
a3b1 − a1b3
a1b2 − a2b1
⎤
⎥
⎦
หรือ
a2 a3
b2 b3
i −
a1 a3
b1 b3
j −
a1 a2
b1 b2
k
สมบัติของผลคูณเชิงเวกเตอร์
กำหนดให้ u, v และ w เป็นเวกเตอร์ใดๆ ในสามมิติ และ k เป็นจำนวนจริงใดๆ
1. u × v = −(v × u)
2. (u + v )× w = (u × w) + (v × w)
3. u × (v + w) = (u × v ) + (u × w)
4. u × (k v ) = k(u × v )
5. (k u)× v = k(u × v )
6. u × u = 0
7. i × j = k, j × k = i , k × i = j
8. u ·(v × w) = (u × v )· w
9. ถ้า u = 0 และ v = 0 จะได้ว่า | u × v | = | u || v | sin θ
เมื่อ θ คือมุมระหว่าง u และ v , 0◦ ≤ θ ≤ 180◦ (แบบใช้จุดเริ่มต้นต่อกับจุดเริ่มต้น)
10. สำหรับ u = 0, v = 0 และ u ไม่ขนานกับ v จะได้ว่า u × v ตั้งฉากกับ u และ u
การใช้เวกเตอร์ในการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมด้านขนาน
| u × v | = | u || v | sin θ เป็นพื้นที่ของสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านไม่ขนานยาว| u |และ | v | หน่วย
33
การใช้เวกเตอร์ในการหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนาน
| u · (v × r )| เป็นปริมาตรของสี่เหลี่ยมด้านขนานทรงตัน(parallelepiped) ที่มีด้านกว้าง ยาว สูง เป็น
r , v และ u ตามลำดับ
ข้อสังเกต 1. u · (v × r ) = r · (u × v ) = v · (r × u)
u · (v × r ) = − u · (r × v ) = − v · (u × r ) = − r · (v × u)
2. ถ้า u, v และ r อยู่ในระนาบเดียวกันแล้ว u ·(v × r ) = 0
3. u · (v × v ) = v · (r × r ) = r · (u × u) = 0
34
จำนวนเชิงซ้อน (Complex)
1. จำนวนเชิงซ้อน
เซต C = { (a, b) | a, b ∈ R } จะเรียกว่าเซตของจำนวนเชิงซ้อน ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุก ๆ สมาชิก (a, b)
และ (c, d) ใน C 1. (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
2. (a, b) + (c, d) = (a + c, b + d)
3. (a, b) · (c, d) = (ac − bd, ad + bc)
จำนวนเชิงซ้อน (a, b) นิยมเขียนแทนด้วย a + bi เรียก a ว่า ส่วนจริง และเรียก b ว่า ส่วนจินตภาพ
ข้อสังเกต 1. c(a, b) = (ca, cb)
2. i2 = −1 , i3 = −i , i4 = 1
สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน
กำหนดให้จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi นิยามสังยุคของ z แทนด้วย z คือ z = a − bi
สมบัติ 1. (a + bi)(a − bi) = a2 + b2
2. z1 + z2 = z1 + z2
3. z1 − z2 = z1 − z2
4. z1 · z2 = z1 · z2
5. z1
z2
= z1
z2
โดยที่ z2 = 0
6. z + z = 2Re(z) เมื่อ Re(z) คือส่วนจริงของ z
7. z − z = 2Im(z) เมื่อ Im(z) คือส่วนจินตภาพของ z
8. z = z
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน
กำหนดให้จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi นิยามค่าสัมบูรณ์ของ z แทนด้วย |z| คือ |z| =
√
a2 + b2
สมบัติ 1. zz = |z|2
2. |z| = | − z|
3. |z1z2| = |z1||z2|
4. |z1
z2
| = |z1|
|z2| , z2 = 0
5. |z−1| = |z|−1
6. |z| = |z|
7. |z1 + z2| ≤ |z1| + |z2|
8. |z1 − z2| ≥ ||z1| − |z2||
2. จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
ให้ z = a + bi โดยที่ z = 0 และ θ เป็นมุมบวกที่เล็กที่สุดซึ่ง tan θ = b
a จะได้ว่า รูปเชิงขั้วของ z คือ
z = |z|(cos θ + i sin θ) เรียก θ ว่าอาร์กิวเมนต์(argument)ของ z
การคูณและการหารจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว
กำหนดให้ z1, z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อนที่ไม่ใช่ศูนย์ โดย z1 = |z1|(cos θ1 + i sin θ1) และ
z2 = |z2|(cos θ2 + i sin θ2) จะได้ว่า
35
2. z1
z2
= |z1|
|z2| (cos(θ1 − θ2) + i sin(θ1 − θ2))
3. zn
1 = |z1|n(cos nθ1 + i sin nθ1)
การแก้สมการจำนวนเชิงซ้อน
สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z = |z|(cos θ + i sin θ) เมื่อ n ≥ 2 จะได้ว่า
n
√
z = n
|z|(cos(θ+2kπ
n ) + i sin(θ+2kπ
n )) เมื่อ k = 0, 1, 2, . . . , n − 1
กำหนดให้ f(x) = anxn + an−1xn−1 + · · · + a1x + a0 โดยที่ a0, a1, a2, . . . , an ∈ R และ an = 0
จะได้ว่า ถ้า f(z) = 0 แล้ว f(z) = 0 ด้วย
นั่นคือ ถ้า z เป็นคำตอบของสมการแล้ว z จะเป็นคำตอบของสมการด้วย
1. z1z2 = |z1||z2|(cos(θ1 + θ2) + i sin(θ1 + θ2))
36
37
ลำดับและอนุกรม (Sequence and Series)
1. ลำดับ
คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนนับ n ตัวแรก(ลำดับจำกัด) หรือเซตของจำนวนนับ(ลำดับอนันต์)
การเขียนลำดับ เขียนได้ 3 แบบ คือ เขียนแบบเซต เขียนแบบแจกแจงเฉพาะค่าของลำดับ เขียนแบบพจน์ทั่วไป
ลิมิตของลำดับ
1. ลำดับที่จะนำมาพิจารณาต้องเป็นลำดับอนันต์
2. ลิมิตของลำดับ (an) มีค่าเป็นจำนวนจริง L แทนด้วย lim
n→∞
an = L ก็ต่อเมื่อ เมื่อ n มีค่ามากขึ้น an
จะมีค่าเข้าใกล้หรือเท่ากับ L lim
n→∞
an = L ↔ ∀ > 0∃n0 ∈ N, n ≥ n0 → |an − L| <
3. ถ้า lim
n→∞
an = L (L ∈ R) แล้ว จะกล่าวว่า ลำดับ an ลู่เข้า(converge) สู่ L และถ้าลำดับ (an)
ไมีมีลิมิตแล้วเราจะกล่าวว่า ลำดับ an ลู่ออก(diverge) (ถ้าลิมิตของลำดับมีค่าแล้ว จะมีได้ค่าเดียว)
ทฤษฎีบท กำหนดให้ c เป็นค่าคงตัวใด ๆ lim
n→∞
an = A, lim
n→∞
bn = B
1. lim
n→∞
c = c
2. lim
n→∞
c · an = cA
3. lim
n→∞
(an + bn) = A + B
4. lim
n→∞
(an · bn) = AB
5. lim
n→∞
k
√
an =
k
√
A (เมื่อ k เป็นค่าคงที่และทุกเทอมมีความหมาย)
6. lim
n→∞
an
bn
=
A
B
(เมื่อทุกเทอมมีความหมาย)
หมายเหตุ
1. ถ้า an = p(x)
q(x) โดยที่ p(x) และ q(x) เป็นพหุนาม
ถ้า deg p(x) = deg q(x) จะได้ lim
n→∞
an =
A
B
เมื่อ A และ B คือสัมประสิทธิ์ของ x กำลังสูงสุดของพหุนาม
p(x) และ q(x) ตามลำดับ
ถ้า deg p(x) > deg q(x) จะได้ว่า lim
n→∞
an ลู่ออก
ถ้า deg p(x) < deg q(x) จะได้ว่า lim
n→∞
an = 0
2. ถ้า an อยู่ในรูปแบบของฟังก์ชันชี้กำลัง ให้ดึงตัวร่วมและใช้ข้อเท็จจริงที่ว่า lim
n→∞
an
= 0 เมื่อ 0 < a < 1
3. ใช้คอนจูเกต
ลำดับเลขคณิต
คือลำดับที่มีผลต่างของพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n เป็นค่าคงที่เสมอ
เรียกผลต่างที่คงที่นี้ว่าผลต่างร่วม แทนด้วย d (d = an+1 − an)
พจน์ทั่วไปของลำดับเลขคณิต an = a1 + (n − 1)d
ลำดับเรขาคณิต
คือลำดับที่มีอัตราส่วนของพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n เป็นค่าคงที่เสมอ
เรียกอัตราส่วนที่คงที่นี้ว่าอัตราส่วนร่วม แทนด้วย r (r = an+1
an
)
พจน์ทั่วไปของลำดับเรขาคณิต an = a1 · rn−1
2. อนุกรม
คือลำดับของผลบวกย่อย เรียก sn ว่าผลบวกย่อย n พจน์แรกของลำดับ (an)
37
อนุกรมที่เกิดจากลำดับจำกัด เรียก อนุกรมจำกัด sn = a1 + a2 + · · · + an =
N
i=1
ai
อนุกรมที่เกิดจากลำดับอนันต์เรียกอนุกรมอนันต์ lim
n→∞
sn = s∞ = a1 + a2 + · · · =
∞
i=1
ai
โดยถ้า lim
n→∞
sn มีค่า จะกล่าวว่าอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับค่าของลิมิตนั้น และถ้า lim
n→∞
sn หาค่าไม่ได้
จะกล่าวว่าอนุกรมลู่ออก
อนุกรมเลขคณิต
ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต sn = n
2 (2a1 + (n − 1)d) = n
2 (a1 + an)
อนุกรมเรขาคณิต
ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต sn = a1(1−rn)
1−r เมื่อ r = 1
ผลบวกอนันต์พจน์ของอนุกรมเรขาคณิต
lim
n→∞
sn =
∞
i=1
ai =
a1
1 − r
ก็ต่อเมื่อ |r| < 1
lim
n→∞
sn =
∞
i=1
ai ลู่ออก ก็ต่อเมื่อ |r| ≥ 1
อนุกรมผสม ใช้เทคนิคคูณตลอดด้วย r
อนุกรมที่อยู่ในรูปเศษส่วนย่อย ปรับแต่ละพจน์ใช้อยู่ในรูปเศษส่วนย่อย
อนุกรมพี
∞
n=1
1
np
ลู่เข้า ก็ต่อเมื่อ p > 1
∞
n=1
1
np
ลู่ออก ก็ต่อเมื่อ p ≤ 1
สัญลักษณ์แทนการบวก
1.
n
i=1
c = nc
2.
n
i=1
cxi = c
n
i=1
xi
3.
n
i=1
(xi ± yi) =
n
i=1
xi ±
n
i=1
yi
4.
n
i=1
i =
n(n + 1)
2
5.
n
i=1
i2
=
n(n + 1)(2n + 1)
6
6.
n
i=1
i3
=
n
i=1
i
2
=
1
4
(n(n + 1))2
38
1. ถ้า
∞
n=1
an เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว lim
n→∞
an = 0 หรือ ถ้า lim
n→∞
an = 0 แล้ว
∞
n=1
an ลู่ออก
2. ถ้า
∞
n=1
an และ
∞
n=1
bn เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้วสำหรับจำนวนจริง c, d ใด ๆ จะได้ว่า
∞
i=1
can ± dbn
เป็นอนุกรมลู่เข้าด้วย โดยที่
∞
n=1
(can ± dbn) = c
∞
n=1
an ± d
∞
n=1
bn
3. กำหนดให้ 0 ≤ an ≤ bn≤ จะได้ว่า
ถ้า
∞
n=1
bn ลู่เข้า แล้ว
∞
n=1
an จะลู่เข้าด้วย
ถ้า
∞
n=1
an ลู่ออก แล้ว
∞
n=1
bn จะลู่ออกด้วย
ทฤษฎีบท
39
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
(Functional relation between data)
1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
1. ความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
2. การเขียนแผนภาพการกระจาย
2. ระเบียบวิธีกำลังสองน้อยสุด
สมการเส้นตรง : รูปทั่วไปคือ y = mx + c
สมการปกติ n
i=1
yi = m
n
i=1
xi + nc
n
i=1
xiyi = m
n
i=1
x2
i + c
n
i=1
xi
สมการเส้นพาราโบลา : รูปทั่วไปคือ y = ax2 + bx + c
สมการปกติ n
i=1
yi = a
n
i=1
x2
i + b
n
i=1
xi + nc
n
i=1
xiyi = a
n
i=1
x3
i + b
n
i=1
x2
i + c
n
i=1
xi
n
i=1
x2
i yi = a
n
i=1
x4
i + b
n
i=1
x3
i + c
n
i=1
x2
i
สมการเอกซ์โพเนนเชียล : รูปทั่วไปคือ y = abx หรือ log y = log a + x log b
สมการปกติ n
i=1
log yi = n log a + log b
n
i=1
xi
n
i=1
xi log yi = log a
n
i=1
xi + log b
n
i=1
x2
i
3. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา
เราสามารถแทนข้อมูลที่เป็นตัวแปรอิสระซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ห่างเท่ากันได้ดังนี้
ถ้าจำนวนช่วงเวลาที่นำมาสร้างความสัมพันธ์เป็นจำนวนคี่มักจะแทนด้วย . . . , −3, −2, −1, 0, 1, 2, 3, . . .
โดยให้ช่วงเวลาที่อยู่ตรงการเป็น 0
ถ้าจำนวนช่วงเวลาที่นำมาสร้างความสัมพันธ์เป็นจำนวนคู่ มักจะแทนด้วย . . . , −5, −3, −1, 1, 3, 5, . . .
โดยให้ช่วงเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น −1 และ 1
ข้อสังเกต 1. รู้ตัวแปรอิสระทำนายตัวแปรตาม ไม่สามารถทำนายกลับได้
(ถ้าจะทำนายต้องสลับตัวแปรแล้วสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันใหม่)
2. เมื่อจะทำนายความสัมพันธ์ในรูปอนุกรมเวลา ต้องแปลงข้อมูลก่อน
3. สำหรับสมการรูปเส้นตรง (x, y) อยู่บนเส้น
4. สำหรับสมการรูปเส้นตรง Δy = mΔx
40
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebookaossy
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังyingsinee
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมaossy
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบprapasun
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1ธนกฤต แม่นผล
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 sensehaza
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 

Mais procurados (20)

Math aos ebook
Math aos ebookMath aos ebook
Math aos ebook
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
ข้อสอบปลายภาคม4เทอม1
 
ใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรมใบงานลำดับและอนุกรม
ใบงานลำดับและอนุกรม
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 

Destaque

เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1Unity' Aing
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1Inmylove Nupad
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2 krurutsamee
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลbenjalakpitayaschool
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันkrurutsamee
 
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1K'Keng Hale's
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานPasit Suwanichkul
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 

Destaque (10)

เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
ชุดที่2
ชุดที่2 ชุดที่2
ชุดที่2
 
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูลความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
เอกสารความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน
 
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1เฉลยข้อสอบเมทริกซ์  ตอนที่ 1
เฉลยข้อสอบเมทริกซ์ ตอนที่ 1
 
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปเข้มฯ#7 วิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Semelhante a สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์

สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์wisita42
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงkruaunpwk
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตตSomrak Sokhuma
 
บทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงบทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงBombam Waranya
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทTutor Ferry
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวนปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวนphotmathawee
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 

Semelhante a สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์ (20)

สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.1
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
Real
RealReal
Real
 
เซตตตตตต
เซตตตตตตเซตตตตตต
เซตตตตตต
 
บทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริงบทที่1 จำนวนจริง
บทที่1 จำนวนจริง
 
Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวนปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
ปลุกจิตคณิต ม.4 - ทฤษฎีจำนวน
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
Number
NumberNumber
Number
 

สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. เซต (Set) 1. เซต ในทางคณิตศาสตร์ใช้เซต เพื่อให้เกิดแนวคิดของการอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยสามารถระบุได้แน่นอนว่า สิ่ง ๆ นั้นอยู่ในเซตหรือไม่ เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก ใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ A, B, C, . . .แทนชื่อเซต และใช้อักษรตัวเล็กแทนสมาชิกในเซต สำหรับเซต A ใดๆ เราจะเขียน a ∈ A แทนข้อความ “ a เป็นสมาชิกของ A ” a /∈ A แทนข้อความ “ a ไม่เป็นสมาชิกของ A ” n(A) แทน “ จำนวนสมาชิกของ A ” เราสามารถเขียนบรรยายถึงเซตได้สองวิธี คือ 1. แบบแจกแจงสมาชิก เขียนสมาชิกทุกตัวลงในเครื่องหมายปีกกาและมีเครื่องหมายจุลภาค(,) ขั้นระหว่างสมาชิกแต่ละตัว 2. แบบบอกเงื่อนไข เขียนตัวแปรแทนสมาชิก แล้วบรรยายสมบัติของตัวแปรนั้น 2. ประเภทของเซตที่สำคัญ 1. เซตจำกัด (Finite Set) หมายถึง เซตที่สามารถหาจำนวนสมาชิกได้ 2. เซตอนันต์ (Infinite Set) หมายถึง เซตที่มีจำนวนสมาชิกมากมายมหาศาล 3. เซตว่าง (Empty Set) หมายถึง เซตที่ไม่มีสมาชิกอยู่เลย แทนด้วย φ หรือ { } 4. เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) หมายถึง เซตที่กำหนดขอบเขตของสมาชิกของเซตที่เราต้องการ ศึกษาเขียนแทนด้วย U 3. ความสัมพันธ์ระหว่างเซต 1. การเท่ากันของเซต เซต A เท่ากับเซต B ก็ต่อเมื่อ เซตทั้งสองมีสมาชิกเหมือนกันทุกตัว เขียนแทนด้วย A = B 2. สับเซต (Subset) เซต A เป็นสับเซตของเซต B ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิก ของ B เขียนแทนด้วย A ⊆ B ถ้า A เป็นสับเซตของ B และ A = B แล้วเราจะกล่าวว่า A เป็นสับเซตแท้ของ B 3. พาวเวอร์เซต (Power Set) พาวเวอร์เซตของเซต A หมายถึง เซตของสับเซตทั้งหมดของ A เขียนแทนด้วย P(A) 4. ข้อสังเกต 1. φ ⊆ A และ A ⊆ A 2. φ ∈ P(A) และ A ∈ P(A) 3. φ ⊆ P(A) 4. ถ้า A ⊆ B แล้ว P(A) ⊆ P(B) 5. P(A) ∩ P(B) = P(A ∩ B) 6. ถ้า A มีสมาชิก m ตัว แล้ว จำนวนสมาชิกของ P(A) มีทั้งหมด 2m ตัว นั่นคือ n(P(A)) = 2m 1
  • 8. 5. การกระทำทางเซต 1. ยูเนียน (Union) เซต A ยูเนียน B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต A หรือเซต B เขียนแทนด้วย A ∪ B 2. อินเตอร์เซกชัน (Intersection) อินเตอร์เซกชันของเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ของเซต A และเซต B ที่ซ้ำกัน เขียนแทนด้วย A ∩ B 3. ผลต่าง (Difference) ผลต่างระหว่างเซต A และเซต B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ของเซต A ที่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B เขียนแทนด้วย A − B 4. คอมพลีเมนต์ (Complement) คอมพลีเมนต์ของเซต A คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิก ของเอกภพ สัมพัทธ์ U แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต A เขียนแทนด้วย A 6. จำนวนเซต กำหนด A ⊆ B, n(A) = m และ n(B) = n 1. จำนวนเซต E ซึ่ง A ⊆ E ⊆ B มีเท่ากับ 2n−m เซต 2. จำนวนเซต E ซึ่ง A ∩ E = φ และ E ⊆ B มีเท่ากับ 2n−m เซต 3. จำนวนเซต E ซึ่ง A E และ E ⊆ B มีเท่ากับ 2n − 2n−m เซต 4. จำนวนเซต E ซึ่ง A ∩ E = φ ซึ่ง E ⊆ B มีเท่ากับ 2n − 2n−m เซต 7. สมบัติบางประการของเซต 1. φ ⊆ A ∩ B ⊆ A ⊆ A ∪ B ⊆ U 2. ถ้า A ⊆ B แล้ว A ∪ B = B และ A ∩ B = A 3. ถ้า A ⊆ B และ C ⊆ D แล้ว (A ∩ C) ⊆ (B ∩ D) และ (A ∪ C) ⊆ (B ∪ D) 4. φ ∪ A = A และ φ ∩ A = φ 5. U ∪ A = U และ U ∩ A = A 6. A ∪ A = A และ A ∩ A = A 7. φ = U และ U = φ 8. ถ้า A ⊆ B แล้ว B ⊆ A 9. (A ) = A 10. (A ∪ B) = A ∩ B และ (A ∩ B) = A ∪ B 11. A − B = A ∩ B 12. A ∪ A = U และ A ∩ A = φ 13. A ∪ B = B ∪ A และ A ∩ B = B ∩ A 14. (A ∪ B) ∪ C = A ∪ (B ∪ C) และ (A ∩ B) ∩ C = A ∩ (B ∩ C) 15. A ∩ (B ∪ C) = (A ∩ B) ∪ (A ∩ C) และ A ∪ (B ∩ C) = (A ∪ B) ∩ (A ∪ C) 16. n(A ∪ B) = n(A) + n(B) − n(A ∩ B) 17. n(A − B) = n(A) − n(A ∩ B) 18. n(A∪B ∪C) = n(A)+n(B)+n(C)−n(A∩B)−n(A∩C)−n(B ∩C)+n(A∩B ∩C) 2
  • 9. การให้เหตุผล (Reasoning) การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ที่สำคัญมีอยู่ 2 วิธีได้แก่ การให้เหตุผลแบบอุปนัย และการให้เหตุผลแบบนิรนัย 1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) หมายถึง วิธีการสรุปผลในการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายๆ ครั้งจากกรณีย่อย แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป 2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning) หมายถึง วิธีการสรุปข้อเท็จจริงโดยการนำความรู้พื้นฐานความเชื่อข้อตกลงหรือบทนิยามซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อน และยอมรับว่าเป็นจริง เพื่อหาเหตุผลนำไปสู่ข้อสรุป การให้เหตุผลแบบนิรนัยประกอบด้วยสองส่วนคือเหตุหรือสมมติฐานและผลถ้าการยอมรับสมมติฐานสามารถนำไปสู่ การสรุปส่วนที่เป็นผลได้อย่างสมเหตุสมผล (Valid)จะถือว่าการสรุปผลนั้นถูกต้องโดยการตรวจสอบการสมเหตุสมผลสามารถ ใช้การวาดแผนภาพตามสมติฐาน แล้วพิจารณาว่าแผนภาพแต่ละกรณีแสดงผลสรุปตามผลที่ตั้งไว้หรือไม่ ถ้าทุกกรณีของแผนภาพแสดงผลตามที่กำหนด จะได้ว่าการสรุปผลนั้นสมเหตุสมผล ถ้ามีแผนภาพบางกรณีไม่สอดคล้องกับผลที่สรุป จะได้ว่าการสรุปผลนั้นไม่สมเหตุสมผล ข้อความ แผนภาพ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B ไม่มีสมาชิกตัวใดของ A เป็นสมาชิกของ B มีสมาชิกบางตัวของ A เป็นสมาชิกของ B มีสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B มีสมาชิกของ A หนึ่งตัวที่เป็นสมาชิกของ B มีสมาชิกของ A หนึ่งตัวที่ไม่เป็นสมาชิกของ B 3
  • 10. 1. แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของระบบจำนวนจริง จำนวนจริง (R) จำนวนอตรรกยะ(Q ) จำนวนตรรกยะ(Q) จำนวนตรรกยะที่ไม่ใช่จำนวนเต็ม(I ) จำนวนเต็ม(I) จำนวนเต็มลบ(I−) จำนวนเต็มศูนย์(0) จำนวนเต็มบวก(I+) จำนวนนับ(N) นิยาม จำนวนเต็มบวก p เป็น จำนวนเฉพาะ (prime number) ก็ต่อเมื่อ p = 1 และถ้าจำนวนเต็ม x หาร p ลงตัวจะได้ว่า x ∈ {1, −1, p, −p} จำนวนเต็มบวกอื่นนอกเหนือจาก 1 และจำนวนเฉพาะเรียกว่าจำนวนประกอบ (composite numbers) นิยาม เรียกจำนวนเต็ม m และ n ว่าเป็น จำนวนเฉพาะสัมพัทธ์ (relatively primes) เมื่อ ห.ร.ม. ของ m และ n คือ 1 2. ช่วง เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็นเซตของจำนวนจริง และ a < b ช่วง ความหมาย (a, b) { x | a < x < b } [a, b] { x | a ≤ x ≤ b } (a, b] { x | a < x ≤ b } [a, b) { x | a ≤ x < b } (a, ∞) { x | x > a } [a, ∞) { x | x ≥ a } (−∞, a) { x | x < a } (−∞, a] { x | x ≤ a } (−∞, ∞) R 3. การแยกตัวประกอบ 1. ดึงตัวร่วม 2. สามพจน์สองวงเล็บ 3. สี่พจน์สองวงเล็บ 4. ผลต่างกำลังสอง A2 − B2 = (A + B)(A − B) จำนวนจริง (Real Number) 4
  • 11. ผลต่างกำลังสาม A3 − B3 = (A − B)(A2 + AB + B2) ผลบวกกำลังสาม A3 + B3 = (A + B)(A2 − AB + B2) กำลังสองสมบูรณ์ (A ± B)2 = A2 ± 2AB + B2 5. ทฤษฎีบทเศษเหลือ (remainder theorem) เมื่อ P(x) คือพหุนาม anxn + an−1xn−1 + . . . + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก an, an−1, . . . , a1, a0 ∈ R ซึ่ง an = 0 ถ้าหารพหุนาม P(x) ด้วย x − c เมื่อ c เป็นจำนวนจริง แล้วเศษจะเท่ากับ P(c) เศษที่ได้จากการหารพหุนาม P(x) ด้วย x − c คือ P(c) 6. ทฤษฎีบทตัวประกอบ (factor theorem) เมื่อ P(x) คือพหุนาม anxn + an−1xn−1 + . . . + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก an, an−1, . . . , a1, a0 ∈ R ซึ่ง an = 0 พหุนาม P(c) นี้จะมี x − c เป็นตัวประกอบก็ต่อเมื่อ P(c) = 0 P(c) = 0 ก็ต่อเมื่อ x − c หาร P(x) ลงตัว 7. ทฤษฎีบทตัวประกอบจำนวนตรรกยะ เมื่อ P(x) คือพหุนาม anxn + an−1xn−1 + . . . + a1x + a0 โดยที่ n เป็นจำนวนเต็มบวก an, an−1, . . . , a1, a0 ∈ Z ซึ่ง an = 0 ถ้า x − k m เป็นตัวประกอบของพหุนาม P(x) โดยที่ m และ k เท่ากับ 1 แล้ว m จะเป็นตัวประกอบของ an และ k จะเป็นตัวประกอบของ a0 4. การแก้สมการและอสมการ ข้อควรระวัง 1. สมการพหุนามกำลังสอง ax2 + bx + c = 0 จะได้ x = −b± √ b2−4ac 2a (x ∈ R เมื่อ b2 − 4ac ≥ 0) 2. ห้ามนำศูนย์คูณตลอดทั้งสมการและอสมการ 3. ถ้านำจำนวนลบคูณตลอดทั้งอสมการ ต้องเปลี่ยนเครื่องหมายอสมการเป็นตรงข้าม 4. ถ้านำจำนวนบวกคูณตลอดทั้งอสมการ ไม่ต้องเปลี่ยนเครื่องหมายอสมการ 5. ค่าสัมบูรณ์ การแก้สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ นิยาม |Δ| = ⎧ ⎨ ⎩ Δ เมื่อΔ ≥ 0; −Δ เมื่อΔ < 0 ทฤษฎีบท 1. |a| ≥ 0 2. |a| = | − a| 3. |ab| = |a||b| 4. |a b | = |a| |b| 5. |a − b| = |b − a| 6. |a|2 = a2 7. |a + b| ≤ |a| + |b| 8. เมื่อ a เป็นจำนวนบวกแล้ว 5
  • 12. (i) |x| < a ก็ต่อเมื่อ −a < x < a (ii) |x| ≤ a ก็ต่อเมื่อ −a ≤ x ≤ a 9. เมื่อ a เป็นจำนวนบวกแล้ว (i) |x| > a ก็ต่อเมื่อ x < −a หรือ x > a (ii) |x| ≥ a ก็ต่อเมื่อ x ≤ −a หรือ x ≥ a นิยาม กำหนดให้ a เป็นจำนวนจริงแล้ว √ a2 = |a| การแก้สมการและอสมการค่าสัมบูรณ์ ทำได้โดย 1. ใช้นิยาม 2. ยกกำลังสองทั้งสองข้าง (ระวังเครื่องหมาย) 3. แยกกรณี 6. หารลงตัว ห.ร.ม. และค.ร.น. ให้ m และ n = 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัว ก็ต่อเมื่อมีจำนวนเต็ม c ซึ่ง m = nc เรียก n ว่าตัวหาร(divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n | m แทน n หาร m ลงตัว ใช้ n m แทน n หาร m ไม่ลงตัว ทฤษฎีบท ขั้นตอนวิธีการหาร ให้ m และ n เป็นจำนวนเต็มที่ n = 0 จะมีจำนวนเต็ม q และ r ชุดเดียวที่ m = nq + r โดย 0 ≤ r < |n| เรียก q ว่าผลหาร เรียก r ว่าเศษ ทฤษฎีบท (m, n) = 1 ก็ต่อเมื่อ ∃ x, y ∈ Z, mx + ny = 1 ทฤษฎีบท ให้ m และ n เป็นจำนวนเต็ม และ p เป็นจำนวนเฉพาะ ถ้า p | mn แล้ว p | m หรือ p | n ทฤษฎีบท mn = (m, n)[m, n] 6
  • 13. ตรรกศาสตร์ (Logic) 1. ประพจน์ (Proposition or Statement) ประพจน์คือประโยคที่เป็นมีค่าความจริงเป็นจริงหรือมีค่าความจริงเท็จอย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียวซึ่งอาจอยู่ ในรูปประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธก็ได้ แทนค่าความจริง “ จริง ” ด้วย T และแทนค่าความจริง “ เท็จ ” ด้วย F 2. การเชื่อมประพจน์ เมื่อมีประพจน์หลายๆประพจน์ เราสามารถสร้างประพจน์ใหม่ได้โดยการเชื่อมประพจน์เหล่านั้นเข้าด้วยกันโดยใช้ตัวเชื่อม (Connectives) ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 5 แบบ คือ 2.1 ∼ (นิเสธ) 2.2 ∧ (และ) 2.3 ∨ (หรือ) 2.4 → (ถ้า . . . แล้ว) 2.5 ↔ (ก็ต่อเมื่อ) เมื่อกำหนดให้ p และ q เป็นประพจน์ใด ๆ ข้อกำหนดในการเชื่อมประพจน์ ด้วยตัวเชื่อมข้างต้นเป็นดังนี้ p ∼ p T F F T p q p ∧ q p ∨ q p → q p ↔ q T T T T T T T F F T F F F T F T T F F F F F T T 3. การสร้างตารางค่าความจริงและการสมมูลของประพจน์ ในการพิจารณารูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นได้สำหรับประพจน์ใด ๆ จะต้องพิจารณาจากค่าความจริงที่เป็นไปได้ ของประพจน์ย่อย ทุกกรณี เช่น ถ้ามีประพจน์เดียวคือ p ค่าความจริงของประพจน์เป็นไปได้ 2 กรณี คือ จริงกับเท็จ ถ้ามีประพจน์ย่อยสองประพจน์คือ p และ q ค่าความจริงของประพจน์เป็นไปได้ 4 กรณี คือ p จริง q จริง , p จริง q เท็จ p เท็จ q จริง , p เท็จ q เท็จ นั่นคือ ประพจน์ที่ประกอบด้วย n ประพจน์ย่อย จะม่ค่าความจริงที่เป็นไปได้ทั้งหมด 2n กรณี ประพจน์ใดๆสองประพจน์จะสมมูลกันก็ต่อเมื่อ ไม่ว่าค่าความจริงในประพจน์ย่อยจะเป็นอย่างไรค่าความจริงของทั้งสอง ประพจน์นั้น จะเหมือนกันทุกกรณี การตรวจสอบการสมมูลสามารถทำได้โดยสร้าง ตารางค่าความจริง หรือใช้ทฤษฎีของการ สมมูลในการตรวจสอบ 7
  • 14. ทฤษฎีบท กำหนดให้p, q และ r เป็นประพจน์ใดๆ จะได้ว่า 3.3.1 กฏการสลับที่ p ∨ q ≡ q ∨ p p ∧ q ≡ q ∧ p p ↔ q ≡ q ↔ p 3.3.2 กฏการกระจาย p ∧ (q ∨ r) ≡ (p ∧ q) ∨ (p ∧ r) p ∨ (q ∧ r) ≡ (p ∨ q) ∧ (p ∨ r) 3.3.3 กฏการจัดหมู่ (p ∨ q) ∨ r ≡ p ∨ (q ∨ r) (p ∧ q) ∧ r ≡ p ∧ (q ∧ r) 3.3.4 เอกลักษณ์ p ∨ p ≡ p p ∧ p ≡ p p ∧ T ≡ p p ∨ F ≡ p 3.3.5 p → q ≡ ∼ p ∨ q ≡ ∼ q →∼ p 3.3.6 ∼ (∼ p) ≡ p 3.3.7 ∼ (p ∨ q) ≡ ∼ p ∧ ∼ q ∼ (p ∧ q) ≡ ∼ p ∨ ∼ q ∼ (p → q) ≡ p ∧ ∼ q 3.3.8 p ↔ q ≡ (p → q) ∧ (q → p) หมายเหตุ สำหรับการพิสูจน์ทฤษฎีบทข้างต้น สามารถทำได้เองโดยการสร้างตารางค่าความจริง 4. สัจนิรันดร์ (Tautology) เราจะเรียกประพจน์ใดว่าสัจนิรันดร์ก็ต่อเมื่อ ไม่ว่าค่าความจริงของประพจน์ย่อยจะเป็นอะไรก็ตามค่าความจริงของ ประพจน์นั้นจะเป็นจริงเสมอ เช่น สามารถแสดงว่าประพจน์ (p → q) ↔ (∼ q →∼ p) เป็นสัจนิรันดร์ได้โดยสร้างตาราง p q ∼ q ∼ p p → q ∼ q →∼ p (p → q) ↔ (∼ q →∼ p) T T F F T T T T F T F F F T F T F T T T T F F T T T T T 8
  • 15. 5. ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ ประโยคเปิด คือ ประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธที่มีตัวแปร ประโยคเปิดไม่เป็นประพจน์ แต่ถ้าแทนตัวแปร ด้วยสมาชิก ในเอกภพสัมพัทธ์แล้วประโยคเปิดจะกลายเป็นประพจน์ ในการทำประโยคเปิดให้เป็นประพจน์ สามารถทำได้โดยการใส่ วลีบ่งปริมาณ ซึ่งมีอยู่สองตัว คือ “ ∀ ” (for all, ทุก ๆ ) และ “ ∃ ” (for some, บางตัว ) ซึ่งการกำหนดค่าความจริงและ การใส่นิเสธเป็นไปตามตารางต่อไปนี้ ข้อความ นิเสธ เงื่อนไขที่ทำให้เป็นจริง เงื่อนไขที่ทำให้เป็นเท็จ ∀x P(x) ∃x ∼ P(x) ทุก ๆ x ในเอกภพสัมพัทธ์ มีบาง x ในเอกภพสัมพัทธ์ ที่ทำให้ P(x) จริง ที่ทำให้ P(x) เท็จ ∃x P(x) ∀x ∼ P(x) มีบาง x ในเอกภพสัมพัทธ์ ทุก ๆ x ในเอกภพสัมพัทธ์ ที่ทำให้ P(x) จริง ที่ทำให้ P(x) เท็จ ประโยคเปิดสองตัวแปรในบางครั้งประโยคเปิดอาจมีตัวแปรมากกว่าหนึ่งตัวการกำหนดค่าความจริงและการใส่นิเสธ ของประโยคเปิดสองตัวแปร เป็นดังนี้ ให้ P(x, y) เป็นประโยคเปิดใด ๆ จะได้ว่า ข้อความ นิเสธ เงื่อนไขที่ทำให้เป็นจริง เงื่อนไขที่ทำให้เป็นเท็จ ∀x ∀y P(x, y) ∃x ∃y ∼ P(x, y) ทุก ๆ x ทุก ๆ y ในเอกภพ มีบาง x และมีบาง y ในเอกภพ สัมพัทธ์ ทำให้ P(x, y) จริง สัมพัทธ์ที่ทำให้ P(x, y) เท็จ ∀x ∃y P(x, y) ∃x ∀y ∼ P(x, y) ทุก ๆ x ในเอกภพสัมพัทธ์จะหา มีบาง x ที่ทำให้ทุก y ในเอกภพ y ที่ทำให้ P(x, y) จริงได้ สัมพัทธ์ ทำให้ P(x, y) เท็จ ∃x ∀y P(x, y) ∀x ∃y ∼ P(x, y) มีบาง x ที่ทำให้ทุก y ในเอกภพ ทุก x ในเอกภพสัมพัทธ์ จะหา สัมพัทธ์ ทำให้ P(x, y) จริง y ที่ทำให้ P(x, y) เท็จได้ ∃x ∃y P(x, y) ∀x ∀y ∼ P(x, y) มีบาง x และมีบาง y ในเอกภพ ทุก x และทุก y ในเอกภพสัมพัทธ์ สัมพัทธ์ ที่ทำให้ P(x, y) จริง สัมพัทธ์ ทำให้ P(x, y) เท็จ 6. การอ้างเหตุผล การอ้างเหตุผลคือการอ้างว่าเมื่อมีข้อความ p1, p2, . . . , pn ชุดหนึ่งเป็นจริงเราสามารถสรุปข้อความ c ได้หรือไม่ นั่นคือข้อความ (p1 ∧ p2 ∧ . . . ∧ pn) → c เป็นสัจนิรันดร์ หรือไม่นั่นเอง ถ้าข้อความ (p1 ∧ p2 ∧ . . . ∧ pn) → c เป็นสัจนิรันดร์ เราจะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล (valid) ถ้าไม่เป็นสัจนิรันดร์ จะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลนี้ ไม่สมเหตุสมผล (invalid) 9
  • 16. ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (Relation and Function) 1. ผลคูณคาร์ทีเซียน (Cartesian product) นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ ผลคูณคาร์ทีเซียน (Cartesian product) ของ A และ B คือ A × B = { (a, b) | a ∈ A และ b ∈ B } ข้อสังเกต 1. ผลคูณคาร์ทีเซียนของเซต A และ B เป็นเซต ดังนั้นจึงสามารถพูดถึงนิยามต่าง ๆ ของเซตได้ 2. n(A × B) = n(A) · n(B) = n(B × A) 3. A × B เทียบเท่า B × A แต่ A × B ไม่จำเป็นต้องเท่ากับ B × A 4. ถ้า A = φ หรือ B = φ จะได้ว่า A × B = φ 2. ความสัมพันธ์ นิยาม กำหนดให้ A และ B เป็นเซตใด ๆ ความสัมพันธ์จาก A ไป B (relation from A to B) คือ สับเซตของ A × B เรียก r ว่าเป็น ความสัมพันธ์ ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก R ไป R เรียก r ว่าเป็น ความสัมพันธ์บน A ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป A ข้อสังเกต 1. จำนวนความสัมพันธ์ทั้งหมดจาก A ไป B มีจำนวน 2n(A)·n(B) ความสัมพันธ์ 2. φ และ A × B เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B เสมอ 3. โดเมนและเรนจ์ นิยาม กำหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์ใด ๆ เรานิยาม โดเมน (Domain) ของ r คือเซต Dr = { x | มี y ซึ่งทำให้ (x, y) ∈ r } เรนจ์ (Range) ของ r คือเซต Rr = { y | มี x ซึ่งทำให้ (x, y) ∈ r } ข้อสังเกต 1. อาจคิดง่าย ๆ ได้ว่า โดเมนของ r ก็คือ เซตที่เก็บสมาชิกตำแหน่งแรกของ r และ เรนจ์ของ r ก็คือ เซตที่เก็บ สมาชิกตำแหน่งหลังของ r 2. ในการหาโดเมนของความสัมพันธ์ r นั้น เราจะเขียนสมการในรูป y = f(x) จากนั้นจึงพิจารณาค่า x ที่เป็นไปได้ทั้งหมด ส่วนในการหาเรนจ์ของความสัมพันธ์ r นั้น เราจะเขียนสมการในรูป x = g(y) จากนั้นจึงพิจารณาค่า y ที่เป็นไปได้ทั้งหมด 4. กราฟของความสัมพันธ์ นิยาม กราฟของความสัมพันธ์ r คือเซตของจุดในระนาบโดยที่แต่ละจุดแทนสมาชิกของความสัมพันธ์ r 5. อินเวอร์สของความสัมพันธ์ นิยาม อินเวอร์สของความสัมพันธ์ r คือความสัมพันธ์ ที่เกิดจากการสลับที่ของสมาชิกตัวหน้า และ 10
  • 17. สมาชิกตัวหลัง ในแต่ละคู่อันดับที่เป็นสมาชิกของ r อินเวอร์สของความสัมพันธ์ r แทนด้วย r−1 6. ฟังก์ชัน (Function) นิยาม ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ซึ่งในสองคู่อันดับใด ๆ ของความสัมพันธ์นั้น ถ้ามีสมาชิกตัวหน้าเท่ากัน แล้ว สมาชิกตัวหลังต้องเท่ากันด้วย ฟังก์ชัน f คือ ความสัมพันธ์ ซึ่งถ้ามี (x, y) ∈ f และ (x, z) ∈ f แล้ว y = z ข้อสังเกต เราอาจตรวจสอบว่าการเป็นฟังก์ชันได้โดยใช้กราฟกล่าวคือเมื่อวาดกราฟของความสัมพันธ์แล้วสามารถหาเส้นตรง ที่ขนานกับแกน y ที่ตัดกราฟอย่างน้อยสองจุดจะกล่าวได้ว่าความสัมพันธ์นั้นไม่เป็นฟังก์ชันเพราะจุดตัดที่พบนั้นก็คือ สมาชิกในความสัมพันธ์ที่มีสมาชิกตัวหน้าเหมือนกัน แต่สมาชิกตัวหลังต่างกัน 7. ฟังก์ชันประเภทต่างๆ 1. ฟังก์ชันจาก A ไป B (function from A into B) f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันที่มี A เป็นโดเมน และมีสับเซตของ B เป็นเรนจ์ เขียนแทนด้วย f : A → B 2. ฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B (function from A onto B) f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันที่มี A เป็นโดเมน และมี B เป็นเรนจ์ เขียนแทนด้วย f : A −→ onto B 3. ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก A ไป B (one-to-one function from A to B) f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง จาก A ไป B ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B ซึ่งถ้า y ∈ Rf แล้วจะมี x ∈ Df เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่ทำให้ (x, y) ∈ f เขียนแทนด้วย f : A 1−1 −→ B f เป็นฟังก์ชัน 1 − 1 ก็ต่อเมื่อ ถ้า f(x1) = f(x2) แล้ว x1 = x2 4. ฟังก์ชันเพิ่ม ให้ f เป็นฟังก์ชันจากสับเซตของ R ไป R และ A ⊆ B f เป็นฟังก์ชันเพิ่มใน A ก็ต่อเมื่อ สำหรับสมาชิก x1 และ x2 ใด ๆ ใน A ถ้า x1 < x2 แล้ว f(x1) < f(x2) 5. ฟังก์ชันลด ให้ f เป็นฟังก์ชันจากสับเซตของ R ไป R และ A ⊆ B f เป็นฟังก์ชันลดใน A ก็ต่อเมื่อ สำหรับสมาชิก x1 และ x2 ใด ๆ ใน A ถ้า x1 < x2 แล้ว f(x1) > f(x2) 6. ฟังก์ชันเชิงเส้น (linear function) คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax + b เมื่อ a, b ∈ R 7. ฟังก์ชันคงที่ (constant function) คือฟังก์ชันเชิงเส้นที่มี a = 0 กราฟของฟังก์ชันจะเป็นเส้นตรง ขนานกับแกน x 8. ฟังก์ชันขั้นบันได (step function) คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของ R และมีค่าฟังก์ชันคงตัว เป็นช่วง ๆ มากกว่าสองช่วง กราฟของฟังก์ชันจะมีรูปคล้ายบันได 11
  • 18. 9. ฟังก์ชันกำลังสอง (quadratic function) คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c ∈ R และ a = 0 10. ฟังก์ชันพหุนาม (polynomial function) คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = anxn + an−1xn−1 + . . . + a2x2 + a1x + a0 โดยที่ an, an−1, . . . , a1, a0 เป็นค่าคงตัว และ n เป็นจำนวนเต็มที่มากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ 11. ฟังก์ชันตรรกยะ (rational function) คือฟังก์ชันที่อยู่ในรูป f(x) = p(x) q(x) เมื่อ p, q เป็นฟังก์ชัน พหุนาม 12. ฟังก์ชันคาบ (periodic function) ฟังก์ชัน f ซึ่งไม่ใช่ฟังก์ชันคงที่จะเป็นฟังก์ชันคาบก็ต่อเมื่อ มีจำนวนจริง p ซึ่ง f(x + p) = f(x) สำหรับทุกค่าของ x และ x + p ที่อยู่ในโดเมนของ f 13. ฟังก์ชันคอมโพสิท (Composite function) ให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน และ Rf ∩ Dg = φ ฟังก์ชันคอมโพสิทของ f และ g เขียนแทนด้วย g ◦ f กำหนดโดย (g ◦ f)(x) = g(f(x)) สำหรับทุก x ซึ่ง f(x) ∈ Dg 14. ฟังก์ชันอินเวอร์ส (inverse function) ให้ f เป็นฟังก์ชัน f−1 เป็นฟังก์ชัน ก็ต่อเมื่อ f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง 15. พีชคณิตของฟังก์ชัน (algebra of function) กำหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันในเซตของ จำนวนจริง f + g = { (x, y) | y = f(x) + g(x) และ x ∈ Df ∩ Dg} f − g = { (x, y) | y = f(x) − g(x) และ x ∈ Df ∩ Dg} f · g = { (x, y) | y = f(x) · g(x) และ x ∈ Df ∩ Dg} f g = { (x, y) | y = f(x) g(x) เมื่อ x ∈ Df ∩ Dg และ g(x) = 0} 12
  • 19. เรขาคณิตวิเคราะห์และภาคตัดกรวย (Analytic geometry and Conic section) 1. เรขาคณิตวิเคราะห์ ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด ระยะห่างระหว่างจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) คือ |P1P2| = (x1 − x2)2 + (y1 − y2)2 จุดกึ่งกลางระหว่างจุดสองจุด ให้ P(x, y) เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) P(x, y) = x1+x2 2 , y1+y2 2 จุดที่แบ่งระยะห่างระหว่างจุดสองจุดเป็นอัตราส่วน m : n ให้ P(x, y) เป็นจุดที่แบ่งระยะห่าง ระหว่างจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) เป็น m : n กล่าวคือ |PP1| : |PP2| = m : n P(x, y) = nx1+mx2 m+n , ny1+my2 m+n ความชัน 1. ให้ L เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) โดยที่ x1 = x2 จะได้ว่า m เป็นความชันของเส้นตรง L ก็ต่อเมื่อ m = y1−y2 x1−x2 2. ถ้าเส้นตรง L ทำมุม θ กับแกน X แล้ว ความชันของ L = tan θ 3. ถ้าเส้นตรง L1 และ L2 มีความชันเป็น m1 และ m2 ตามลำดับ จะได้ว่า L1 L2 ↔ m1 = m2 m1 · m2 = −1 ↔ L1 ⊥ L2 13
  • 20. ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้น ระยะทางระหว่างเส้นตรง Ax + By + C = 0 กับจุด (x1, y1) คือ d = |Ax1+By1+C| √ A2+B2 ระยะห่างระหว่างเส้นขนาน ระยะห่างระหว่างเส้นขนาน Ax + By + C1 = 0 กับ Ax + By + C2 = 0 คือ d = |C1−C2| √ A2+B2 ข้อระวัง ต้องทำให้ A และ B ของทั้งสองสมการเท่ากันก่อนจึงจะใช้สูตรได้ 2. ภาคตัดกรวย 1. วงกลม นิยาม วงกลมคือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจากจุดคงที่(จุดศูนย์กลาง) จุดหนึ่งบนระนาบ เป็นระยะทางเท่ากัน(รัศมี) เสมอ สมการวงกลม (x − h)2 + (y − k)2 = r2 องค์ประกอบ จุดศูนย์กลาง (h, k) รัศมี r ข้อสังเกต 1. ใช้กำลังสองสมบูรณ์ในการแปลงสมการให้อยู่ในรูปแบบมาตรฐาน เพื่อหาจุดศูนย์กลาง และรัศมี 2. x และ y นั้นมีกำลังสองเท่ากัน มีสัมประสิทธิ์เท่ากัน และบวกกันอยู่ 3. รัศมีมากกว่าศูนย์ ถ้ารัศมีเป็นศูนย์ จะได้กราฟเป็นจุดศูนย์กลางจุดเดียว 14
  • 21. 2. พาราโบลา นิยาม พาราโบลาคือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจากเส้นตรงคงที่(ไดเรกทริกซ์) เส้นหนึ่ง บนระนาบ และจุดคงที่(โฟกัส) จุดหนึ่ง เป็นระยะทางเท่ากันเสมอ สมการพาราโบลา (x − h)2 = 4c(y − k) (y − k)2 = 4c(x − h) 15
  • 22. องค์ประกอบ องค์ประกอบ พาราโบลาแบบคร่อมแกน x พาราโบลาแบบคร่อมแกน y จุดยอด (h, k) (h, k) โฟกัส (h + c, k) (h, k + c) สมการไดเรกทริกซ์ x = h − c y = k − c ความกว้างของพาราโบลา ณ จุดโฟกัส |4c| |4c| แกนของพาราโบลา y = k x = h ข้อสังเกต 1. กราฟของสมการพาราโบลาจะคร่อมทางแกนกำลังหนึ่ง 2. จุดโฟกัสได้จากการบวก c เข้ากับจุดยอด ตามแกนที่คร่อม 3. วงรี นิยามวงรีคือเซตของจุดทุกจุดบนระนาบซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุดใดๆไปยังจุดคงที่(จุดโฟกัส)สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัว โดยค่าคงตัวนี้มากกว่าระยะห่างของจุดคงที่ทั้งสอง สมการวงรี (x−h)2 a2 + (y−k)2 b2 = 1 16
  • 23. (x−h)2 b2 + (y−k)2 a2 = 1 องค์ประกอบ องค์ประกอบ วงรีแบบคร่อมแกน x วงรีแบบคร่อมแกน y ศูนย์กลาง (h, k) (h, k) จุดยอด(V, V ) (h ± a, k) (h, k ± a) โฟกัส(F, F ) (h ± c, k) (h, k ± c) จุดปลายแกนโท(B, B ) (h, k ± b) (h ± b, k) ความยาวแกนเอก 2a 2a ความยาวแกนโท 2b 2b ความกว้างของวงรี ณ โฟกัส 2b2 a 2b2 a ข้อสังเกต 1. ความสัมพันธ์ของ a, b และ c คือ b2 = a2 − c2 2. a มากกว่า b 3. a หรือตัวมาก อยู่ใต้แกนใด กราฟคร่อมไปทางแกนนั้น 4. คร่อมแกนไหนแกนนั้นเปลี่ยน (เปลี่ยนจาก (h, k) โดยการเลื่อนด้วย a สำหรับจุดยอด และ c สำหรับโฟกัส) 5. ความยาวคงที่ที่กล่าวถึงในนิยามยาว 2a นั่นคือ สำหรับจุด P ใด ๆ บนวงรีจะได้ว่า |PF| + |PF | = 2a 4. ไฮเพอร์โบลา นิยาม ไฮเพอร์โบลาคือ เซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งผลต่างของระยะทางจากจุดใด ๆ ไปยังจุดคงที่(จุดโฟกัส) สองจุดบนระนาบ มีค่าคงตัวซึ่งมากกว่าศูนย์ แต่น้อยกว่าระยะห่างระหว่างจุดคงที่ทั้งสอง 17
  • 25. องค์ประกอบ องค์ประกอบ ไฮเพอร์โบลาแบบคร่อมแกน x ไฮเพอร์โบลาแบบคร่อมแกน y ศูนย์กลาง (h, k) (h, k) จุดยอด(V, V ) (h ± a, k) (h, k ± a) โฟกัส(F, F ) (h ± c, k) (h, k ± c) จุดปลายแกนสังยุค(B, B ) (h, k ± b) (h ± b, k) ความยาวแกนตามขวาง 2a 2a ความยาวแกนสังยุค 2b 2b ความกว้างของไฮเพอร์โบลา ณ โฟกัส 2b2 a 2b2 a สมการเส้นกำกับ(asymptote) (y − k) = ±b a (x − h) (y − k) = ±a b (x − h) ข้อสังเกต 1. ความสัมพันธ์ของ a, b และ c คือ b2 = c2 − a2 2. a กับ b เปรียบเทียบกันไม่ได้ 3. ใต้แกนใดเป็นบวก กราฟคร่อมไปทางแกนนั้น 4. ใต้แกนบวกเป็น a2 (กราฟคร่อมไปทางแกนไหน ใต้แกนนั้นเป็น a2 ) 5. คร่อมแกนไหนแกนนั้นเปลี่ยน (เปลี่ยนจาก (h, k) โดยการเลื่อนด้วย a สำหรับจุดยอด และ c สำหรับโฟกัส) 6. ความยาวคงที่ที่กล่าวถึงในนิยามยาว 2a นั่นคือ สำหรับจุด P ใด ๆ บนวงรีจะได้ว่า | |PF| − |PF | | = 2a 7. ในการแปลงรูปสมการโดยใช้กำลังสองสมบูรณ์ จงระมัดระวังเครื่องหมายเมื่อดึงตัวร่วมที่เป็นลบ 19
  • 26. ตรีโกณมิติ (Trigonometry) 1. สูตรตรีโกณมิติ 1. ค่ามุมและนิยามพื้นฐาน มุม (θ) 0 30 (π 6 ) 45 (π 4 ) 60 (π 3 ) 90 (π 2 ) sin θ 0 1 2 √ 2 2 √ 3 2 1 cos θ 1 √ 3 2 √ 2 2 1 2 0 tan θ 0 1√ 3 1 √ 3 ไม่นิยาม sin (−θ) = − sin θ cos (−θ) = cos θ tan θ = sin θ cos θ ; cos θ = 0 sec θ = 1 cos θ ; cos θ = 0 csc θ = 1 sin θ ; sin θ = 0 cot θ = cos θ sin θ ; sin θ = 0 2. สูตรตรีโกณมิติพื้นฐาน sin2 θ + cos2 θ = 1 1 + cot2 θ = csc2 θ ; sin θ = 0 tan2 θ + 1 = sec2 θ ; cos θ = 0 sin(A ± B) = sin A cos B ± sin B cos A cos(A ± B) = cos A cos B ∓ sin A sin B tan(A ± B) = tan A±tan B 1∓tan A tan B cot(A ± B) = cot A cot B∓1 cot A±cot A 20
  • 27. 2 sin A cos B = sin(A + B) + sin(A − B) 2 cos A sin B = sin(A + B) − sin(A − B) 2 cos A cos B = cos(A + B) + cos(A − B) 2 sin A sin B = cos(A − B) − cos(A + B) sin A + sin B = 2 sin(A+B 2 ) cos(A−B 2 ) sin A − sin B = 2 cos(A+B 2 ) sin(A−B 2 ) cos A + cos B = 2 cos(A+B 2 ) cos(A−B 2 ) cos A − cos B = −2 sin(A+B 2 ) sin(A−B 2 ) sin 2A = 2 sin A cos A = 2 tan A 1+tan2 A cos 2A = cos2 A − sin2 A = 1 − 2 sin2 A = 2 cos2 A − 1 tan 2A = 2 tan A 1−tan2 A sin 3A = 3 sin A − 4 sin3 A cos 3A = 4 cos3 A − 3 cos A tan 3A = 3 tan A−tan3 A 1−3 tan2 A sin A 2 = ± 1−cos A 2 cos A 2 = ± 1+cos A 2 tan A 2 = ± 1−cos A 1+cos A 21
  • 28. 3. อินเวอร์สของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชัน โดเมน เรนจ์ sin [−π 2 , π 2 ] [−1, 1] cos [0, π] [−1, 1] tan (−π 2 , π 2 ) R csc [−π 2 , 0) ∪ (0, π 2 ] (−∞, −1] ∪ [1, ∞) sec [0, π 2 ) ∪ (π 2 , π] (−∞, −1] ∪ [1, ∞) cot (0, π) R ฟังก์ชัน โดเมน เรนจ์ arcsin [−1, 1] [−π 2 , π 2 ] arccos [−1, 1] [0, π] arctan R (−π 2 , π 2 ) arccsc (−∞, −1] ∪ [1, ∞) [−π 2 , 0) ∪ (0, π 2 ] arcsec (−∞, −1] ∪ [1, ∞) [0, π 2 ) ∪ (π 2 , π] arccot R (0, π) 4. กฏของโคไซน์และไซน์ กฏของไซน์ (sine - law) sin A a = sin B b = sin C c กฏของโคไซน์ (cosine - law) a2 = b2 + c2 − 2bc cos A b2 = a2 + c2 − 2ac cos B c2 = a2 + b2 − 2ab cos C 22
  • 29. ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม (Exponential function and Logarithmic function) 1. เลขชี้กำลัง นิยาม ให้ a ∈ R, n ∈ N 1. an = a · a · . . . · a n copies 2. a−n = 1 an เมื่อ a = 0 3. a0 = 1 เมื่อ a = 0 สมบัติ ให้ a, b ∈ R และ m, n ∈ Q, am, an, bn ∈ R 1. am · an = am+n 2. am an = am−n เมื่อ a = 0 3. (an)m = anm 4. (ab)n = anbn 5. (a b )n = an bn เมื่อ b = 0 2. ค่ารากของจำนวนจริง นิยาม กำหนด x, y ∈ R, n ∈ N − {1} 1. y เป็นค่ารากที่ n ของ x ก็ต่อเมื่อ yn = x 2. y เป็นค่าหลักรากที่ n ของ x ก็ต่อเมื่อ (i) yn = x (ii) xy ≥ 0 เราใช้สัญลักษณ์ n √ x หรือ x 1 n แทนค่าหลักรากที่ n ของ x สมบัติ ให้ x, y ∈ R, m, n ∈ N − {1} 1. ถ้า x มีค่ารากที่ n แล้ว ( n √ x)n = x 2. ถ้า x และ y มีค่ารากที่ n แล้ว n √ x n √ y = n √ xy 3. ถ้า x และ y มีค่ารากที่ n และ y = 0 แล้ว n√ x n √ y = n x y 4. ถ้า x เป็นจำนวนจริงบวกแล้ว x m n = (xm) 1 n = (x 1 n )m 5. ถ้า x มีค่ารากที่ n, m แล้ว x จะมีค่ารากที่ nm 6. n √ xn = |x| เมื่อ n เป็นจำนวนคู่ n √ xn = x เมื่อ n เป็นจำนวนคี่ 7. ถ้า x > 0 แล้ว n √ x > 0 ถ้า x < 0 แล้ว n √ x < 0 ถ้า x = 0 แล้ว n √ x = 0 3. การหาค่าของ x ± 2 √ y ให้ x, y ∈ [0, ∞) โดยที่ x ≥ 2 √ y x ± 2 √ y = √ a ± √ b โดย x = a + b, y = ab และ a ≥ b 23
  • 30. 4. ฟังก์ชันชี้กำลัง expa = {(x, y) | y = ax} โดยที่ a > 0, a = 1 y = ax 0 < a < 1 a > 1 ฟังก์ชันลด ฟังก์ชันเพิ่ม 1. ผ่านจุด (0, 1) เสมอ 2. ไม่ตัดแกน X 3. เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (มีอินเวอร์ส) 4. โดเมน คือ R เรนจ์คือ R+ การแก้สมการและอสมการฟังก์ชันชี้กำลัง สำหรับ 0 < a < 1 หรือ a > 1 ax = ay ↔ x = y สำหรับ 0 < a < 1 ax > ay ↔ x < y ax ≥ ay ↔ x ≤ y สำหรับ a > 1 ax > ay ↔ x > y ax ≥ ay ↔ x ≥ y ข้อสังเกต 1. ในการจัดรูปสมการมักมีการสมมติตัวแปร 2. อาจมีบางคำตอบที่เป็นไปไม่ได้ 24
  • 31. 5. ฟังก์ชันลอการิทึม loga = exp−1 a = {(x, y) | y = loga x} โดยที่ a > 0, a = 1 y = loga x 0 < a < 1 a > 1 ฟังก์ชันลด ฟังก์ชันเพิ่ม 1. ผ่านจุด (1, 0) เสมอ 2. ไม่ตัดแกน Y 3. เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง (มีอินเวอร์ส) 4. โดเมน คือ R+ เรนจ์คือ R การแก้สมการและอสมการฟังก์ชันลอการิทึม สำหรับ 0 < a < 1 หรือ a > 1 loga x = loga y ↔ x = y สำหรับ 0 < a < 1 loga x > loga y ↔ x < y loga x ≥ loga y ↔ x ≤ y สำหรับ a > 1 loga x > loga y ↔ x > y loga x ≥ loga y ↔ x ≥ y ข้อสังเกต 1. x = ay ↔ y = loga x 2. เรียก x ว่าเลขหลังล็อค ซึ่งต้องมากกว่า 0 3. ในการจัดรูปสมการมักมีการสมมติตัวแปร 4. อาจมีบางคำตอบที่เป็นไปไม่ได้ ต้องตรวจคำตอบเสมอ 25
  • 32. สมบัติของฟังก์ชันลอการิทึม (เมื่อทุกพจน์มีความหมาย) 1. loga 1 = 0 2. loga a = 1 3. loga xy = loga x + loga y 4. loga x y = loga x − loga y 5. logam xn = n m loga x 6. aloga x = x 7. เขียน log x แทน log10 x โดยเรียก log x ว่าลอการิทึมสามัญ เขียน ln x แทน loge x เมื่อ e ≈ 2.7182818 โดยเรียก ln x ว่าลอการิทึมธรรมชาติ 8. loga x = logc x logc a = log x log a = ln x ln a = 1 logx a เมื่อ c > 0 และ c = 1 9. กำหนดให้ log N = n + log n0 โดยที่ 1 ≤ n0 < 10 และ n ∈ I เรียก n ว่าค่าคาแรกเทอริสติก(characteristic) และเรียก log n0 ว่าค่าแมนทิสสา(mantissa) 10. log x = y ↔ x =antilog y 26
  • 33. เมทริกซ์ (Matrix) 1. เมทริกซ์ นิยาม เมทริกซ์ คือ ชุดของจำนวน mn ตัว ซึ่งเขียนเรียงกัน m แถว n หลัก ภายในเครื่องหมายวงเล็บ ในรูปแบบ ⎡ ⎢ ⎢ ⎢ ⎢ ⎣ a11 a12 · · · a1n a21 a22 · · · a2n ... am1 am2 · · · amn ⎤ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎦ เรียก aij ว่าสมาชิก(entry) ในแถวที่ i และหลักที่ j ของเมทริกซ์ หรือเรียกว่าสมาชิกในตำแหน่งที่ ij ของเมทริกซ์ เมื่อ i = 1, 2, . . . , m และ j = 1, 2, . . . , n เรียก เมทริกซ์ที่มี m แถว n หลัก ว่าเป็น m × n เมทริกซ์และเรียก m × n ว่าเป็นมิติของเมทริกซ์ นิยาม ถ้า A เป็น m × n เมทริกซ์ใด ๆ แล้วทรานโพสของ A แทนด้วย At คือ n × m เมทริกซ์ ที่มีหลักที่ i เหมือนแถวที่ i ของเมทริกซ์ A เมื่อ i = 1, 2, . . . , m นิยาม A = B ก็ต่อเมื่อ A และ B มีมิติเท่ากัน และ aij = bij สำหรับทุก ๆ ค่าของ i และ j การบวกและการคูณของเมทริกซ์ นิยาม ถ้าเมทริกซ์ A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n จะได้ A + B = [aij + bij]m×n นิยาม การคูณเมทริกซ์ด้วยจำนวนจริง : ถ้า A = [aij]m×n และ c เป็นจำนวนจริงแล้ว cA = [caij]m×n นิยาม ถ้า A และ B เป็น m × n เมทริกซ์ แล้ว A − B = A + (−B) นิยาม การคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ : กำหนดให้ A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n ผลคูณของ AB คือ [cij]m×n เมื่อ cij = ai1b1j + · · · + ainbnj ข้อสังเกต เมทริกซ์จะคูณกันได้ก็ต่อเมื่อจำนวนหลักของตัวตั้งต้องเท่ากับจำนวนแถวของตัวคูณ ข้อตกลง สำหรับจำนวนนับ n ใด ๆ An = A · A · . . . · A n copies ประเภทของเมทริกซ์ที่สำคัญ เมทริกซ์ศูนย์ แทนด้วย 0 หรือ [0]m×n คือ เมทริกซ์ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็น 0 เมทริกซ์แถว คือเมทริกซ์ที่มีเพียงแถวเดียว เมทริกซ์หลัก คือเมทริกซ์ที่มีเพียงหลักเดียว เมทริกซ์จัตุรัส คือเมทริกซ์ที่มีจำนวนแถวและจำนวนหลักเท่ากัน เมทริกซ์ทแยงมุม คือเมทริกซ์จัตุรัสที่มีสมาชิก ที่ไม่อยู่ในแนวเส้นทแยงมุมหลัก (แนวทแยงจากมุมซ้ายบน ไปยังขวาล่าง) เป็นศูนย์หมด เมทริกซ์เอกลักษณ์ หรือเมทริกซ์หนึ่งหน่วย คือเมทริกซ์ทแยงมุมที่มีสมาชิกในแนวทแยงมุมหลักเป็นหนึ่ง ทั้งหมด และสมาชิกในตำแหน่งอื่นเป็นศูนย์ แทนเมทริกซ์เอกลักษณ์ขนาด n × n ด้วย In เมทริกซ์ไม่เอกฐาน (nonsingular matrix) เราจะเรียกเมทริกซ์จัตุรัส A ว่าเป็นเมทริกซ์ไม่เอกฐาน ก็ต่อเมื่อ เราสามารถหาเมทริกซ์จัตุรัส B ซึ่งทำให้ AB = BA = I เมื่อ I คือเมทริกซ์เอกลักษณ์ขนาด เดียวกับเมทริกซ์A เมทริกซ์เอกฐาน (singular matrix) คือเมทริกซ์จัตุรัสที่ไม่ใช่เมทริกซ์ไม่เอกฐาน 27
  • 34. นิยาม ถ้า A = a11 a12 a21 a22 เป็นเมทริกซ์จัตุรัสขนาด 2×2 แล้วดีเทอร์มินันต์ของ A คือa11a22−a21a22 แทนด้วย det(A), |A| หรือ a11 a12 a21 a22 นิยาม กำหนดเมทริกซ์ A = [aij]n×n โดย n > 2 แล้วไมเนอร์ของ aij คือดีเทอร์มินันต์ที่ได้จากการ ตัดแถวที่ i หลักที่ j ของเมทริกซ์ A แทนด้วย Mij(A) นิยาม กำหนดเมทริกซ์ A = [aij]n×n โดย n > 2 แล้วโคแฟคเตอร์ของ aij คือ (−1)i+jMij(A) แทน ด้วยCij(A) ทฤษฎีบท กำหนดให้ A = ⎡ ⎢ ⎣ a11 a12 a13 a21 a22 a23 a31 a32 a33 ⎤ ⎥ ⎦ det(A) = (a11a22a33 + a12a23a31 + a13a21a32) − (a31a22a13 + a32a23a11 + a33a21a12) ทฤษฎีบท กำหนดให้ A = [aij]n×n โดย aij ∈ R โดย n ≥ 2 1. det(A) = ai1Ci1(A) + ai2Ci2(A) + · · · + ainCin(A) (สำหรับ n > 2) 2. det(A) = a1jC1j(A) + a2jC2j(A) + · · · + anjCnj(A) (สำหรับ n > 2) 3. ถ้า A มีสมาชิกแถวใดแถวหนึ่ง(หลักใดหลักหนึ่ง) เป็นศูนย์ทุกตัวแล้ว det(A) = 0 4. ถ้าสลับที่ระหว่างสองแถวหรือสองหลักใด ๆ ของ A แล้ว ดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์ใหม่คือ −det(A) 5. ถ้า A มีสมาชิกสองแถวหรือสองหลักใด ๆ เหมือนกันแล้ว det(A) = 0 6. ถ้าคูณสมาชิกทุกตัวในแถวหรือหลักใด ๆ ของ A ด้วยค่าคงตัว c แล้วดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์ ใหม่คือc · det(A) 7. ถ้าเปลี่ยนแถวใดแถวหนึ่ง(หรือหลักใดหลักหนึ่ง)ของ A โดยใช้ค่าคงตัวที่ไม่ใช่ศูนย์ คูณสมาชิกทุกตัว ในแถวใดแถวหนึ่ง(หรือหลักใดหลักหนึ่ง)ของ A แล้วนำไปบวกกับสมาชิกในแถว(หรือหลัก)ที่ต้องการ เปลี่ยนนั้น โดยบวกสมาชิกในลำดับเดียวกันเข้าด้วยกัน แล้วใช้ผลบวกแทนที่สมาชิกเดิม แล้วดีเทอร์มิ- นันต์ของเมทริกซ์ใหม่ จะเท่ากับดีเทอร์มินันต์ของเมทริกซ์เดิม นิยาม ถ้า A = [aij]n×n เมื่อ n > 1 แล้ว เมทริกซ์ผูกพัน(adjoint matrix) ของ A แทนด้วย adj(A) คือ adj(A) = (Cij(A))t ทฤษฎีบท ถ้า A = [aij]n×n เมื่อ n > 1 แล้ว A−1 = 1 det(A) adj(A) เมื่อ det(A) = 0 เรียก A−1 เมทริกซ์สมมาตร (symmetry matrix) คือเมทริกซ์ที่สมาชิกแถวที่i หลักที่j เหมือนกับสมาชิกแถวที่j หลักที่ i ทฤษฎีบท กำหนดให้ A, B, C เป็นเมทริกซ์ขนาด m × n และ 0 เป็นเมทริกซ์ศูนย์ขนาด m × n จะได้ว่า 1. A + B เป็นเมทริกซ์ขนาด m × n 2. A + (B + C) = (A + B) + C 3. A + 0 = A = 0 + A 4. A + (−A) = 0 = (−A) + A 5. A + B = B + A 6. A(BC) = (AB)C 7. A(B + C) = AB + AC 8. AIn = A = InA 9. (AB)t = BtAt และ (ABC)t = CtBtAt 10. (kA)−1 = 1 k A−1 เมื่อ k ∈ R ดีเทอร์มินันต์ (Determinant) 28
  • 35. ว่าอินเวอร์สการคูณของ A ทฤษฎีบท ถ้า A = a b c d และ det(A) = 0 จะได้ A−1 = 1 ad−bc d −b −c a ทฤษฎีบท ถ้า A = [aij]n×n, A = [aij]n×n เมื่อ n ≥ 2 แล้ว 1. det(A) = det(At) 2. det(AB) = det(A)det(B) 3. det(An) = (det(A))n 4. det(cA) = cndet(A) 5. det(In) = 1 6. det(A−1) = 1 det(A) 7. det(adj(A)) = (det(A))n−1 2. การหาคำตอบของระบบสมการเชิงเส้น ทฤษฎีบท : กฏของคราเมอร์ จากระบบสมการเชิงเส้น เขียนสมการเมทริกซ์ได้ดังนี้ ⎡ ⎢ ⎢ ⎢ ⎢ ⎣ a11 a12 · · · a1n a21 a22 · · · a2n ... an1 an2 · · · ann ⎤ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎦ ⎡ ⎢ ⎢ ⎢ ⎢ ⎣ x1 x2 ... xn ⎤ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎦ = ⎡ ⎢ ⎢ ⎢ ⎢ ⎣ b1 b2 ... bn ⎤ ⎥ ⎥ ⎥ ⎥ ⎦ ซึ่งอยู่ในรูป AX = B ถ้า A เป็นเมทริกซ์ขนาด n × n โดยที่ det(A) = 0 แล้วระบบสมการที่เขียน ในรูปสมการเมทริกซ์ AX = B เมื่อตัวไม่ทราบค่าคือ x1, x2, x3, . . . , xn และ b1, b2, b3, . . . , bn เป็นค่าคงตัว มีคำตอบคือ x1 = det(A1) det(A) , x2 = det(A2) det(A) , x3 = det(A3) det(A) , . . . , xn = det(An) det(A) เมื่อ Ai คือเมทริกซ์ที่ได้จากการแทนหลักที่ i ของ A ด้วยหลักของ B การดำเนินการทางแถว (row operation) คือการดำเนินการกับเมทริกซ์ที่จะลดขั้นตอนและทำให้คำตอบของระบบสมการไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งมี 3 วิธีคือ 1. การสลับที่ระหว่างแถวที่ i กับแถวที่ j แทนด้วย Rij 2. การคูณสมาชิกทุกตัวในแถวที่ i ด้วยค่าคงตัว c โดยที่ c = 0 แทนด้วย cRi 3. การบวกแถวที่ i ด้วย c เท่าของแถวที่ j แทนด้วย Ri + cRj ข้อสังเกต การดำเนินการทางแถวสามารถใช้ในการหาคำตอบของระบบสมการเชิงเส้น และการหา อินเวอร์สการคูณ 29
  • 36. กำหนดการเชิงเส้น (Linear Programing) 1. กราฟอสมการเชิงเส้น 1. วาดกราฟสมการเชิงเส้น (โดยหาจุดที่สอดคล้องกับสมการเชิงเส้นสองจุด มักใช้จุดตัดแกนX และจุดตัดแกนY ) 2. พิจารณาอาณาบริเวณ โดยใช้จุดที่ไม่อยู่บนเส้นกราฟทดสอบ (มักใช้จุด (0, 0)) ถ้าจุดที่ทดสอบสอดคล้องกับอสมการ จะได้กราฟเป็นอาณาบริเวณที่มีจุดนั้นอยู่ ถ้าจุดที่ทดสอบขัดแย้งกับอสมการ จะได้กราฟเป็นอาณาบริเวณที่อยู่ตรงข้ามกับบริเวณที่มีจุดนั้นอยู่ 3. พิจารณาว่าอสมการนั้นยอมรับการเท่ากันได้หรือไม่ โดยเลือกแทนด้วยเส้นทึบหรือเส้นประให้สอดคล้อง 2. กราฟของระบบอสมการเชิงเส้น 1. วาดกราฟของอสมการเชิงเส้น หาบริเวณที่สอดคล้องในทุกๆ อสมการ (คืออาณาบริเวณที่ซ้อนทับกัน) เรียกอาณาบริเวณนั้นว่า อาณาบริเวณที่หาคำตอบได้ แล้วหาพิกัดของมุมของอาณาบริเวณที่หาคำตอบได้ 2. ในกรณีที่ระบบอสมการเชิงเส้นมีหลายอสมการ ในการวาดกราฟของอสมการเชิงเส้น อาจต้องหาพิกัดของ จุดตัดของสองเส้นก่อน 3. การแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้นโดยวิธีใช้กราฟ - ปัญหากำหนดการเชิงเส้นประกอบด้วย ฟังก์ชันจุดประสงค์ (objective function) และอสมการข้อจำกัด (constraint inequalities) - ผลเฉลยของปัญหาจะเป็นพิกัดที่อยู่ในบริเวณที่หาคำตอบได้ของระบบอสมการเชิงเส้นที่ได้มาจาก อสมการข้อจำกัดโดยเป็นพิกัดที่ทำให้ฟังก์ชันมีค่าสูงสุดหรือต่ำสุดตามฟังก์ชันจุดประสงค์ - โดยการใช้การเลื่อนของกราฟฟังก์ชันจุดประสงค์ที่มีความชันคงที่ แต่มีระยะตัดแกน Y ที่เปลี่ยนแปลง พบว่าคำตอบที่ต้องการจะอยู่ที่จุดมุมของอาณาบริเวณที่หาคำตอบได้ 4. สรุปขั้นตอนการแก้ปัญหากำหนดการเชิงเส้น 1. สมมติตัวแปร กำหนดฟังก์ชันจุดประสงค์ และอสมการข้อจำกัด 2. วาดกราฟของระบบอสมการเชิงเส้นที่ได้จากอสมการข้อจำกัด แล้วหาอาณาบริเวณที่หาคำตอบได้ 3. หาพิกัดของจุดมุมของอาณาบริเวณที่หาคำตอบได้ 4. นำจุดมุมทั้งหมดไปทดสอบกับฟังก์ชันจุดประสงค์ โดยเลือกพิกัดที่ทำให้ค่าของฟังก์ชันสูงสุดหรือต่ำสุด ตามที่ต้องการ ข้อสังเกต ในบางสถานการณ์ปัญหา ต้องการคำตอบที่เป็นจำนวนเต็ม แต่ถ้าพิกัดที่เป็นคำตอบไม่ใช่จำนวนเต็ม จะต้องนำพิกัดที่เป็นจำนวนเต็มที่อยู่ใกล้เคียงกับจุดนั้น มาพิจารณหาพิกัดที่ให้ค่าที่ดีที่สุดแทน 30
  • 37. เวกเตอร์ (Vectors) 1. ระบบพิกัดฉากสามมิติ ทฤษฎีบท ระยะทางระหว่างจุด P(x1, y1, z1) และ Q(x2, y2, z2) หรือ | PQ | มีค่าเท่ากับ (x2 − x1)2 + (y2 − y1)2 + (z2 − z1)2 2. เวกเตอร์ ปริมาณสเกลาร์(scalar quantity) คือปริมาณที่มีแต่ขนาด ปริมาณเวกเตอร์(vector quantity) คือปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง การเขียนปริมาณเวกเตอร์ 1. เขียนแทนด้วยส่วนของเส้นตรงในระนาบ ใช้สัญลักษณ์ AB แทนเวกเตอร์จาก A ไป B ซึ่งคือ ส่วนของเส้นตรงที่มีทิศจาก A ไป B เรียก A ว่าจุดเริ่มต้น (initial point) เรียก B ว่าจุดสิ้นสุด (terminal point) 2. เขียนโดยใช้ตัวเลข ถ้าจุด A มีพิกัดเป็น (x1, y1) และ B มีพิกัดเป็น (x2, y2) จะแทน AB ด้วย x2 − x1 y2 − y1 ถ้าจุด A มีพิกัดเป็น (x1, y1, z1) และ B มีพิกัดเป็น (x2, y2, z2) จะแทน AB ด้วย ⎡ ⎢ ⎣ x2 − x1 y2 − y1 z2 − z1 ⎤ ⎥ ⎦ (ใช้จุดสิ้นสุดลบจุดเริ่มต้น) นิเสธของเวกเตอร์ นิเสธของเวกเตอร์ u คือเวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับขนาดของ u และมีทิศทางตรงข้ามกัน แทนด้วย − u ขนาดของเวกเตอร์ ถ้าจุด A และ B มีพิกัดเป็น (x1, y1) และ (x2, y2) แล้ว | AB | = (x2 − x1)2 + (y2 − y1)2 และถ้าจุด A และ B มีพิกัดเป็น (x1, y1, z1) และ (x2, y2, z2) แล้ว | AB | = (x2 − x1)2 + (y2 − y1)2 + (z2 − z1)2 ซึ่ง | AB | = | BA | เวกเตอร์หนึ่งหน่วย(unit vector) เวกเตอร์หนึ่งหน่วย คือเวกเตอร์ที่มีขนาดหนึ่งหน่วย ซึ่งเวกเตอร์หนึ่งหน่วยที่มีทิศทางเดียวกับ u คือ 1 | u | u โคไซน์แสดงทิศทาง(direction cosines) โคไซน์แสดงทิศทางของ a เมื่อ a= ⎡ ⎢ ⎣ a1 a2 a3 ⎤ ⎥ ⎦ ซึ่ง | a | = 0 เทียบกับแกน X, Y และ Z ตามลำดับ คือจำนวนสามจำนวนซึ่งเรียงตามลำดับดังนี้ a1 | a | , a2 | a | , a3 | a | นิยาม เวกเตอร์สองเวกเตอร์ จะมีทิศทางเดียวกันก็ต่อเมื่อมีโคไซน์แสดงทิศทางชุดเดียวกัน และจะมี ทิศทางตรงข้ามกันก็ต่อเมื่อ โคไซน์แสดงทิศทางเทียบแต่ละแกนของเวกเตอร์หนึ่งเป็นจำนวนตรงข้าม กับโคไซน์แสดงทิศทางของอีกเวกเตอร์หนึ่ง 31
  • 38. นิยาม เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉากสองมิติ เวกเตอร์ในระบบพิกัดฉากสามมิติ การเท่ากัน a b = c d ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d ⎡ ⎢ ⎣ a b c ⎤ ⎥ ⎦ = ⎡ ⎢ ⎣ d e f ⎤ ⎥ ⎦ ก็ต่อเมื่อ a = d, b = e และ c = f การบวกเวกเตอร์ a b + c d = a + c b + d ⎡ ⎢ ⎣ a b c ⎤ ⎥ ⎦ + ⎡ ⎢ ⎣ d e f ⎤ ⎥ ⎦ = ⎡ ⎢ ⎣ a + d b + e c + f ⎤ ⎥ ⎦ เวกเตอร์ศูนย์ 0 เวกเตอร์ศูนย์คือ 0 0 เวกเตอร์ศูนย์คือ ⎡ ⎢ ⎣ 0 0 0 ⎤ ⎥ ⎦ การลบเวกเตอร์ a b − c d = a − c b − d ⎡ ⎢ ⎣ a b c ⎤ ⎥ ⎦ − ⎡ ⎢ ⎣ d e f ⎤ ⎥ ⎦ = ⎡ ⎢ ⎣ a − d b − e c − f ⎤ ⎥ ⎦ การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ α a b = αa αb α ⎡ ⎢ ⎣ a b c ⎤ ⎥ ⎦ = ⎡ ⎢ ⎣ αa αb αc ⎤ ⎥ ⎦ เมื่อ α เป็นจำนวนจริงใดๆ เมื่อ α เป็นจำนวนจริงใดๆ การคูณเวกเตอร์ด้วยสเกลาร์ 1. ถ้า c > 0 แล้ว c u จะเป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับ c| u | และมีทิศทางเดียวกับ u 2. ถ้า c < 0 แล้ว c u จะเป็นเวกเตอร์ที่มีขนาดเท่ากับ −c| u | และมีทิศทางตรงข้ามกับ u 3. ถ้า c = 0 แล้ว c u= 0 4. ให้ m และ n เป็นจำนวนจริงใด ๆ และ u, v เป็นเวกเตอร์ใด ๆ แล้ว (i) (m + n) u = m u + n u (ii) (mn) u = m(n u) (iii) m(u + v ) = m u + m v การขนานกันของเวกเตอร์ กำหนดให้ u และ v เป็นเวกเตอร์ที่ไม่ใช่ 0 จะกล่าวว่า u และ v ขนานกันก็ต่อเมื่อ มีจำนวนจริง c ที่ไม่ใช่ 0 ที่ทำให้ u = c v 32
  • 39. 3. ผลคูณเชิงสเกลาร์ ถ้า u = x1 i + y1 j และ v = x2 i + y2 j จะได้ว่า u · v = x1x2 + y1y2 ถ้า u = x1 i + y1 j + z1 k และ v = x2 i + y2 j + z2 k จะได้ว่า u · v = x1x2+y1y2+z1z2 และ u · v = | u || v | cos θ เมื่อ θ คือมุมระหว่าง u และ v , 0◦ ≤ θ ≤ 180◦ (แบบใช้จุดเริ่มต้นต่อกับจุดเริ่มต้น) สมบัติของผลคูณเชิงสเกลาร์ กำหนดให้ u, v และ w เป็นเวกเตอร์ใด ๆ 1. u · v = v · u 2. u · u = | u |2 3. u ·(v + w) = u · v + u · w 4. ถ้า u = 0 หรือ v = 0 แล้ว u · v = 0 5. ถ้า u=0 และ v =0 แล้ว u⊥v ก็ต่อเมื่อ u · v = 0 6. | u ± v |2 = | u |2 ± 2 u · v +| v |2 7. ให้ D เป็นจุดบน OB ที่ AD⊥OB จะได้ว่า OD= (OA · OB) OB |OB|2 4. ผลคูณเชิงเวกเตอร์ ถ้า u = a1 i + a2 j + a3 k และ v = b1 i + b2 j + b3 k ผลคูณเชิงเวกเตอร์ของ u และ v แทนด้วย u × v คือเวกเตอร์ ⎡ ⎢ ⎣ a2b3 − a3b2 a3b1 − a1b3 a1b2 − a2b1 ⎤ ⎥ ⎦ หรือ a2 a3 b2 b3 i − a1 a3 b1 b3 j − a1 a2 b1 b2 k สมบัติของผลคูณเชิงเวกเตอร์ กำหนดให้ u, v และ w เป็นเวกเตอร์ใดๆ ในสามมิติ และ k เป็นจำนวนจริงใดๆ 1. u × v = −(v × u) 2. (u + v )× w = (u × w) + (v × w) 3. u × (v + w) = (u × v ) + (u × w) 4. u × (k v ) = k(u × v ) 5. (k u)× v = k(u × v ) 6. u × u = 0 7. i × j = k, j × k = i , k × i = j 8. u ·(v × w) = (u × v )· w 9. ถ้า u = 0 และ v = 0 จะได้ว่า | u × v | = | u || v | sin θ เมื่อ θ คือมุมระหว่าง u และ v , 0◦ ≤ θ ≤ 180◦ (แบบใช้จุดเริ่มต้นต่อกับจุดเริ่มต้น) 10. สำหรับ u = 0, v = 0 และ u ไม่ขนานกับ v จะได้ว่า u × v ตั้งฉากกับ u และ u การใช้เวกเตอร์ในการหาพื้นที่สี่เหลี่ยมด้านขนาน | u × v | = | u || v | sin θ เป็นพื้นที่ของสี่เหลี่ยมด้านขนานที่มีด้านไม่ขนานยาว| u |และ | v | หน่วย 33
  • 40. การใช้เวกเตอร์ในการหาปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมด้านขนาน | u · (v × r )| เป็นปริมาตรของสี่เหลี่ยมด้านขนานทรงตัน(parallelepiped) ที่มีด้านกว้าง ยาว สูง เป็น r , v และ u ตามลำดับ ข้อสังเกต 1. u · (v × r ) = r · (u × v ) = v · (r × u) u · (v × r ) = − u · (r × v ) = − v · (u × r ) = − r · (v × u) 2. ถ้า u, v และ r อยู่ในระนาบเดียวกันแล้ว u ·(v × r ) = 0 3. u · (v × v ) = v · (r × r ) = r · (u × u) = 0 34
  • 41. จำนวนเชิงซ้อน (Complex) 1. จำนวนเชิงซ้อน เซต C = { (a, b) | a, b ∈ R } จะเรียกว่าเซตของจำนวนเชิงซ้อน ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุก ๆ สมาชิก (a, b) และ (c, d) ใน C 1. (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d 2. (a, b) + (c, d) = (a + c, b + d) 3. (a, b) · (c, d) = (ac − bd, ad + bc) จำนวนเชิงซ้อน (a, b) นิยมเขียนแทนด้วย a + bi เรียก a ว่า ส่วนจริง และเรียก b ว่า ส่วนจินตภาพ ข้อสังเกต 1. c(a, b) = (ca, cb) 2. i2 = −1 , i3 = −i , i4 = 1 สังยุคของจำนวนเชิงซ้อน กำหนดให้จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi นิยามสังยุคของ z แทนด้วย z คือ z = a − bi สมบัติ 1. (a + bi)(a − bi) = a2 + b2 2. z1 + z2 = z1 + z2 3. z1 − z2 = z1 − z2 4. z1 · z2 = z1 · z2 5. z1 z2 = z1 z2 โดยที่ z2 = 0 6. z + z = 2Re(z) เมื่อ Re(z) คือส่วนจริงของ z 7. z − z = 2Im(z) เมื่อ Im(z) คือส่วนจินตภาพของ z 8. z = z ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเชิงซ้อน กำหนดให้จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi นิยามค่าสัมบูรณ์ของ z แทนด้วย |z| คือ |z| = √ a2 + b2 สมบัติ 1. zz = |z|2 2. |z| = | − z| 3. |z1z2| = |z1||z2| 4. |z1 z2 | = |z1| |z2| , z2 = 0 5. |z−1| = |z|−1 6. |z| = |z| 7. |z1 + z2| ≤ |z1| + |z2| 8. |z1 − z2| ≥ ||z1| − |z2|| 2. จำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว ให้ z = a + bi โดยที่ z = 0 และ θ เป็นมุมบวกที่เล็กที่สุดซึ่ง tan θ = b a จะได้ว่า รูปเชิงขั้วของ z คือ z = |z|(cos θ + i sin θ) เรียก θ ว่าอาร์กิวเมนต์(argument)ของ z การคูณและการหารจำนวนเชิงซ้อนในรูปเชิงขั้ว กำหนดให้ z1, z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อนที่ไม่ใช่ศูนย์ โดย z1 = |z1|(cos θ1 + i sin θ1) และ z2 = |z2|(cos θ2 + i sin θ2) จะได้ว่า 35
  • 42. 2. z1 z2 = |z1| |z2| (cos(θ1 − θ2) + i sin(θ1 − θ2)) 3. zn 1 = |z1|n(cos nθ1 + i sin nθ1) การแก้สมการจำนวนเชิงซ้อน สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z = |z|(cos θ + i sin θ) เมื่อ n ≥ 2 จะได้ว่า n √ z = n |z|(cos(θ+2kπ n ) + i sin(θ+2kπ n )) เมื่อ k = 0, 1, 2, . . . , n − 1 กำหนดให้ f(x) = anxn + an−1xn−1 + · · · + a1x + a0 โดยที่ a0, a1, a2, . . . , an ∈ R และ an = 0 จะได้ว่า ถ้า f(z) = 0 แล้ว f(z) = 0 ด้วย นั่นคือ ถ้า z เป็นคำตอบของสมการแล้ว z จะเป็นคำตอบของสมการด้วย 1. z1z2 = |z1||z2|(cos(θ1 + θ2) + i sin(θ1 + θ2)) 36
  • 43. 37 ลำดับและอนุกรม (Sequence and Series) 1. ลำดับ คือฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นเซตของจำนวนนับ n ตัวแรก(ลำดับจำกัด) หรือเซตของจำนวนนับ(ลำดับอนันต์) การเขียนลำดับ เขียนได้ 3 แบบ คือ เขียนแบบเซต เขียนแบบแจกแจงเฉพาะค่าของลำดับ เขียนแบบพจน์ทั่วไป ลิมิตของลำดับ 1. ลำดับที่จะนำมาพิจารณาต้องเป็นลำดับอนันต์ 2. ลิมิตของลำดับ (an) มีค่าเป็นจำนวนจริง L แทนด้วย lim n→∞ an = L ก็ต่อเมื่อ เมื่อ n มีค่ามากขึ้น an จะมีค่าเข้าใกล้หรือเท่ากับ L lim n→∞ an = L ↔ ∀ > 0∃n0 ∈ N, n ≥ n0 → |an − L| < 3. ถ้า lim n→∞ an = L (L ∈ R) แล้ว จะกล่าวว่า ลำดับ an ลู่เข้า(converge) สู่ L และถ้าลำดับ (an) ไมีมีลิมิตแล้วเราจะกล่าวว่า ลำดับ an ลู่ออก(diverge) (ถ้าลิมิตของลำดับมีค่าแล้ว จะมีได้ค่าเดียว) ทฤษฎีบท กำหนดให้ c เป็นค่าคงตัวใด ๆ lim n→∞ an = A, lim n→∞ bn = B 1. lim n→∞ c = c 2. lim n→∞ c · an = cA 3. lim n→∞ (an + bn) = A + B 4. lim n→∞ (an · bn) = AB 5. lim n→∞ k √ an = k √ A (เมื่อ k เป็นค่าคงที่และทุกเทอมมีความหมาย) 6. lim n→∞ an bn = A B (เมื่อทุกเทอมมีความหมาย) หมายเหตุ 1. ถ้า an = p(x) q(x) โดยที่ p(x) และ q(x) เป็นพหุนาม ถ้า deg p(x) = deg q(x) จะได้ lim n→∞ an = A B เมื่อ A และ B คือสัมประสิทธิ์ของ x กำลังสูงสุดของพหุนาม p(x) และ q(x) ตามลำดับ ถ้า deg p(x) > deg q(x) จะได้ว่า lim n→∞ an ลู่ออก ถ้า deg p(x) < deg q(x) จะได้ว่า lim n→∞ an = 0 2. ถ้า an อยู่ในรูปแบบของฟังก์ชันชี้กำลัง ให้ดึงตัวร่วมและใช้ข้อเท็จจริงที่ว่า lim n→∞ an = 0 เมื่อ 0 < a < 1 3. ใช้คอนจูเกต ลำดับเลขคณิต คือลำดับที่มีผลต่างของพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n เป็นค่าคงที่เสมอ เรียกผลต่างที่คงที่นี้ว่าผลต่างร่วม แทนด้วย d (d = an+1 − an) พจน์ทั่วไปของลำดับเลขคณิต an = a1 + (n − 1)d ลำดับเรขาคณิต คือลำดับที่มีอัตราส่วนของพจน์ที่ n + 1 กับพจน์ที่ n เป็นค่าคงที่เสมอ เรียกอัตราส่วนที่คงที่นี้ว่าอัตราส่วนร่วม แทนด้วย r (r = an+1 an ) พจน์ทั่วไปของลำดับเรขาคณิต an = a1 · rn−1 2. อนุกรม คือลำดับของผลบวกย่อย เรียก sn ว่าผลบวกย่อย n พจน์แรกของลำดับ (an) 37
  • 44. อนุกรมที่เกิดจากลำดับจำกัด เรียก อนุกรมจำกัด sn = a1 + a2 + · · · + an = N i=1 ai อนุกรมที่เกิดจากลำดับอนันต์เรียกอนุกรมอนันต์ lim n→∞ sn = s∞ = a1 + a2 + · · · = ∞ i=1 ai โดยถ้า lim n→∞ sn มีค่า จะกล่าวว่าอนุกรมลู่เข้า และมีผลบวกเท่ากับค่าของลิมิตนั้น และถ้า lim n→∞ sn หาค่าไม่ได้ จะกล่าวว่าอนุกรมลู่ออก อนุกรมเลขคณิต ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต sn = n 2 (2a1 + (n − 1)d) = n 2 (a1 + an) อนุกรมเรขาคณิต ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต sn = a1(1−rn) 1−r เมื่อ r = 1 ผลบวกอนันต์พจน์ของอนุกรมเรขาคณิต lim n→∞ sn = ∞ i=1 ai = a1 1 − r ก็ต่อเมื่อ |r| < 1 lim n→∞ sn = ∞ i=1 ai ลู่ออก ก็ต่อเมื่อ |r| ≥ 1 อนุกรมผสม ใช้เทคนิคคูณตลอดด้วย r อนุกรมที่อยู่ในรูปเศษส่วนย่อย ปรับแต่ละพจน์ใช้อยู่ในรูปเศษส่วนย่อย อนุกรมพี ∞ n=1 1 np ลู่เข้า ก็ต่อเมื่อ p > 1 ∞ n=1 1 np ลู่ออก ก็ต่อเมื่อ p ≤ 1 สัญลักษณ์แทนการบวก 1. n i=1 c = nc 2. n i=1 cxi = c n i=1 xi 3. n i=1 (xi ± yi) = n i=1 xi ± n i=1 yi 4. n i=1 i = n(n + 1) 2 5. n i=1 i2 = n(n + 1)(2n + 1) 6 6. n i=1 i3 = n i=1 i 2 = 1 4 (n(n + 1))2 38
  • 45. 1. ถ้า ∞ n=1 an เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว lim n→∞ an = 0 หรือ ถ้า lim n→∞ an = 0 แล้ว ∞ n=1 an ลู่ออก 2. ถ้า ∞ n=1 an และ ∞ n=1 bn เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้วสำหรับจำนวนจริง c, d ใด ๆ จะได้ว่า ∞ i=1 can ± dbn เป็นอนุกรมลู่เข้าด้วย โดยที่ ∞ n=1 (can ± dbn) = c ∞ n=1 an ± d ∞ n=1 bn 3. กำหนดให้ 0 ≤ an ≤ bn≤ จะได้ว่า ถ้า ∞ n=1 bn ลู่เข้า แล้ว ∞ n=1 an จะลู่เข้าด้วย ถ้า ∞ n=1 an ลู่ออก แล้ว ∞ n=1 bn จะลู่ออกด้วย ทฤษฎีบท 39
  • 46. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล (Functional relation between data) 1. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล 1. ความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม 2. การเขียนแผนภาพการกระจาย 2. ระเบียบวิธีกำลังสองน้อยสุด สมการเส้นตรง : รูปทั่วไปคือ y = mx + c สมการปกติ n i=1 yi = m n i=1 xi + nc n i=1 xiyi = m n i=1 x2 i + c n i=1 xi สมการเส้นพาราโบลา : รูปทั่วไปคือ y = ax2 + bx + c สมการปกติ n i=1 yi = a n i=1 x2 i + b n i=1 xi + nc n i=1 xiyi = a n i=1 x3 i + b n i=1 x2 i + c n i=1 xi n i=1 x2 i yi = a n i=1 x4 i + b n i=1 x3 i + c n i=1 x2 i สมการเอกซ์โพเนนเชียล : รูปทั่วไปคือ y = abx หรือ log y = log a + x log b สมการปกติ n i=1 log yi = n log a + log b n i=1 xi n i=1 xi log yi = log a n i=1 xi + log b n i=1 x2 i 3. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา เราสามารถแทนข้อมูลที่เป็นตัวแปรอิสระซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ห่างเท่ากันได้ดังนี้ ถ้าจำนวนช่วงเวลาที่นำมาสร้างความสัมพันธ์เป็นจำนวนคี่มักจะแทนด้วย . . . , −3, −2, −1, 0, 1, 2, 3, . . . โดยให้ช่วงเวลาที่อยู่ตรงการเป็น 0 ถ้าจำนวนช่วงเวลาที่นำมาสร้างความสัมพันธ์เป็นจำนวนคู่ มักจะแทนด้วย . . . , −5, −3, −1, 1, 3, 5, . . . โดยให้ช่วงเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น −1 และ 1 ข้อสังเกต 1. รู้ตัวแปรอิสระทำนายตัวแปรตาม ไม่สามารถทำนายกลับได้ (ถ้าจะทำนายต้องสลับตัวแปรแล้วสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันใหม่) 2. เมื่อจะทำนายความสัมพันธ์ในรูปอนุกรมเวลา ต้องแปลงข้อมูลก่อน 3. สำหรับสมการรูปเส้นตรง (x, y) อยู่บนเส้น 4. สำหรับสมการรูปเส้นตรง Δy = mΔx 40