SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
Baixar para ler offline
ชีพจร
      ชีพจรเป็ นแรงสะเทือนของกระแสเลือด ซึงเกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างด้านซ้าย ทําให้ผนัง
ของหลอดเลือดแดงขยายออกเป็ นจังหวะ เป็ นผลให้สามารถจับชีพจรได้ตลอดเวลา


ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อชีพจร
- อายุ เมืออายุเพิ มขึนอัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง ในผูใหญ่อตราการเต้นของชีพจร 60-100 (เฉลีย
                                                      ้    ั
80 b/m)
-       เพศ หลังวัยรุ่ น ค่าเฉลียของอัตราการเต้นของชีพจรของผูชายจะตํากว่าหญิงเล็กน้อย
                                                             ้
-       การออกกําลังกาย อัตราการเต้นของชีพจรจะเพิ มขึนเมือออกกําลังกาย
- ไข้ อัตราการเต้นของชีพจรเพิ มขึน เพือปรับตัวให้เข้ากับความดันเลือดทีตําลง ซึงเป็ นผลมาจากเส้น
เลือดส่วนปลายขยายตัวทําให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึน (เพิ ม metabolic rate)
- ยา ยาบางชนิด ลดอัตราการเต้นของชีพจร เช่น ยาโรคหัวใจ เช่น digitalis ลดอัตราการเต้นของชีพจร
(กระตุน parasympathetic)
      ้
- Hemorrhage การสูญเสียเลือดจะมีผลทําให้เพิ มการกระตุนระบบประสาทซิมพาธิติค ทําให้อตราการ
                                                         ้                            ั
เต้นของชีพจรสูงขึน, ในผูใหญ่มีเลือดประมาณ 5 ลิตร การสูญเสียเลือดไป <10% จึงจะปราศจากผลข้างเคียง
                        ้
- ความเครียด เมือเครี ยดจะกระตุน sympathetic nervous เพิ ม การเต้นของชีพจร ความกลัว, ความวิตก
                               ้
กังวล และอาการเจ็บปวด กระตุนระบบประสาทซิมพาธิติค
                           ้
-       ท่ าทาง เมืออยูในท่ายืนหรื อนังชีพจรจะเต้นเพิ มขึน (เร็ วขึน) ท่านอนชีพจรจะลดลง (ช้า)
                       ่


กลไกการควบคุมชีพจร
          อัตราการเต้นของชีพจรขึนอยูกบระบบประสาทอัตโนมัติ 2 ส่วน คือ
                                    ่ ั
1. parasympathetic nervous system ถูกกระตุน อัตราการเต้นของชีพจรลดลง
                                          ้
2. sympathetic nervous system ถูกกระตุน เพิ มอัตราการเต้นของชีพจร
                                      ้
    สิ งทีต้องสังเกตในการจับชีพจร
1. อัตราการเต้นของชีพจร จํานวนครังของความรู้สึกทีได้จากคลืนบนเส้นเลือดแดงกระทบนิ วหรื อการฟัง
ที apex ของหัวใจในเวลา 1 นาที หน่วยเป็ นครังต่อวินาที (bpm)
          1.1 อัตราการเต้นของชีพจรปกติอยูในช่วง
                                         ่
ทารกแรกเกิด ถึง 1 เดือน             ประมาณ         120-160 bpm
1-12 เดือน                          ประมาณ         80 – 140 bpm
12-2 ปี                             ประมาณ         80 – 130 bpm
2 – 6 ปี                               ประมาณ       75 – 120 bpm
6 – 12 ปี                              ประมาณ       75 – 110 bpm
วัยรุ่ น-วัยผูใหญ่
              ้                        ประมาณ       60 – 100 bpm
            1.2 ภาวะอัตราการเต้นของชีพจรผิดปกติ
            Tachycardia: ภาวะทีอัตราการเต้นของหัวใจในผูใหญ่มากกว่า 100 b/m
                                                       ้
            Bradycardia: ภาวะทีอัตราการเต้นของหัวใจในผูใหญ่นอยกว่า 60 b/m
                                                       ้    ้


2. จังหวะชีพจร (pulse rhythm)
จังหวะและช่วงพักของชีพจร ชีพจรจะเต้นเป็ นจังหวะ และมีช่วงพักระหว่างจังหวะ
         2.1 จังหวะของชีพจรปกติ จะมีช่วงพักระหว่างจังหวะ เท่ากัน เรี ยกว่า ชีพจรสมําเสมอ (pulse
regularis)
            2.2 จังหวะของชีพจรผิดปกติ (dysrhythmias , arrhythmia, irregular)
ชีพจรทีเต้นไม่เป็ นจังหวะแต่ละช่วงพักไม่สมําเสมอ เรี ยกว่า ชีพจรไม่สมําเสมอ หรื ออาจจะมีจงหวะการเต้น
                                                                                         ั
สมําเสมอสลับกับไม่สมําเสมอ
ถ้าพบว่า Pt มีจงหวะของชีพจรไม่ สมําเสมอ
               ั
ประเมิน apical pulse 1 นาที
ประเมิน apical - radial pulse เพือประเมินชีพจรทีผิดปกติ
electrocardiogram (EKG)


3. ปริ มาตรแรงชีพจร (Pulse volume)
ขึนอยูกบความแรงของเลือดในการกระทบ ชีพจรปกติรู้สึกได้ดวยการกดนิ วลงตรงบริ เวณทีจะวัดด้วยแรง
      ่ ั                                             ้
พอประมาณแต่ถา กดแรงมากเกินไปจะไม่ได้รับความรู้สึก ถ้าแรงดันเลือดดี ชีพจรจะแรง แรงดันเลือดอ่อน
              ้
ชีพจรจะเบา
 ปริ มาตรของชีพจร วัดเป็ นระดับ 0 ถึง 4
            ระดับ 0          ไม่มีชีพจร     คลําชีพจรไม่ได้
            ระดับ 1          (thready)      คลําชีพจรยาก
            ระดับ 2          weak           ชีพจรแรงกว่า threedy pulse คลําชีพจรยาก
            ระดับ 3          ปกติ
            ระดับ 4          bounding pulse ชีพจรเต้นแรง
            หรื ออาจมี 0 ถึง 3 scale
ความยืดหยุ่นของผนังของหลอดเลือด
ปกติผนังหลอดเลือดจะตรงและเรี ยบมีความยืดหยุนดี ในผูสูงอายุผนังหลอดเลือดแดงมีความ ยืดหยุนน้อย
                                           ่       ้                                   ่
ขรุ ขระ และไม่สมําเสมอ


วิธีประเมินชีพจร
peripheral
- ใช้นิ วชี กลาง นาง วางตรงตําแหน่งเส้นเลือดแดง กดแรงพอประมาณ ให้ความรู้สึกของการขยายและ
หดตัวของผนังหลอดเลือดได้ ไม่ใช้นิ วหัวแม่มือสัมผัส เพราะ หลอดเลือดทีนิ วหัวแม่มือเต้นแรง อาจทําให้
สับสนกับชีพจรของตนเองได้
apical
-        ฟังด้วยหูฟัง (stethoscope)
-        ใช้ doppler ultrasound
-        electrocardiogram (EKG)


ตําแหน่งชีพจร
1. peripheral
           1.1 Temporal เส้นเลือดเท็มพอรัสทอดผ่านเหนือกระดูก เท็มพอรัลของศีรษะ
           1.2 Carotid อยูดานข้างของคอ คลําได้ชดเจนจุดบริ เวณมุมขากรรไกรล่าง
                          ่ ้                  ั
           1.3 Brachial อยูดานในของกล้ามเนือ biceps ของแขน
                           ่ ้
        1.4 Radial อยูขอมือด้านในบริ เวณกระดูกปลายแขนด้านนอกหรื อด้านหัวแม่มือ เป็ นตําแหน่งที
                      ่ ้
นิยมจับชีพจรมากทีสุด เพราะเป็ นทีทีจับได้ง่ายและไม่รบกวนผูป่วย
                                                          ้
           1.5 Femoral อยูบริ เวณขาหนีบ
                          ่
         1.6 Popliteal อยูบริ เวณข้อพับเข่า อยูตรงกลางข้อพับเข่า, หาค่อนข้างยาก แต่ถางอเข่าก็สามารถคลํา
                          ่                    ่                                    ้
ได้ง่ายขึน
           1.7 Posterior tibial อยูบริ เวณหลังปุ่ มกระดูกข้อเท้าด้านใน
                                   ่
         1.8 Dorsalis pedis อยูบริ เวณหลังเท้าให้ดูตามแนวกลางตังแต่หวเข่าลงไป ชีพจรทีจับได้จะอยูกลาง
                                ่                                   ั                           ่
หลังเท้าระหว่างนิ วหัวแม่เท้ากับนิ วชี
2. Apical pulse
ฟังทียอดหัวใจ (Apex) ในผูใหญ่จะอยูที 5th intercostal space, left mid clavicular line
                         ้        ่
ข้อควรจําในการวัดชีพจร
1. ไม่ใช้นิ วหัวแม่มือคลําชีพจร เพราะหลอดเลือดทีนิ วหัวแม่มือเต้นแรงอาจทําให้สบสนกับชีพจรของ
                                                                              ั
ตนเอง
2. ไม่ควรวัดชีพจรหลังผูป่วยมีกิจกรรม ควรให้พก 5-10 นาที
                       ้                    ั
3. อธิบายผูป่วยว่าไม่ควรพูดขณะวัดชีพจร เพราะจะรบกวนการได้ยนเสียงชีพจรและอาจทําให้สบสน
           ้                                              ิ                       ั
ภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น
        ภาวะหยุดหายใจ (respiratory arrest) และภาวะหัวใจหยุดเต้น (cardiac arrest) - เป็ นภาวะทีมีการหยุด
การทํางานของอวัยวะในระบบทางเดินหายใจและการไหลเวียน เลือด ส่วนมากมักจะพบว่ามีการหยุดหายใจ
ก่อนเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น และ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือทีถูกต้อง จะทําให้เสียชีวิตได้

สาเหตุของการหยุดหายใจ
     - ทางเดินหายใจอุดตันจากสาเหตุต่างๆ เช่น จากสิ งแปลกปลอมอุดกันทางเดินหายใจ การแขวนคอ
การถูกบีบรัดคอ การรัดคอ เป็ นต้น ในเด็กเล็กสาเหตุจากการหยุดหายใจทีพบได้มากทีสุดคือ การสําลักสิ ง
แปลกปลอมเข้าหลอดลม เช่น ของเล่นชิ นเล็ก ๆ เมล็ดถัว เป็ นต้น
     - มีการสูดดมสารพิษ แก็สพิษ ควันพิษ
     - การถูกกระแสไฟฟ้ าแรงสูงดูด
     - การจมนํา
     - การบาดเจ็บทีทรวงอก ทําให้ทางเดินหายใจได้รับอันตรายและเนือเยือได้รับบาดเจ็บ
     - โรคระบบประสาท เช่น บาดทะยัก ไขสันหลังอักเสบ ทําให้กล้ามเนือหายใจเป็ นอัมพาต
      - การได้รับสารพิษจากแมลงสัตว์กดต่อย เช่น ผึง ต่อ แตน ต่อยบริ เวณคอ หน้า ทําให้มีการบวมของ
                                    ั
เนือเยือของทางเดินหายใจและหลอดลมมีการหดเกร็ ง
     - การได้รับยากดศูนย์ควบคุมการหายใจ เช่น มอร์ฟีน ฝิ น โคเคน บาร์บิทเู รต ฯลฯ
     - โรคหัวใจ เช่น กล้ามเนือหัวใจขาดเลือดไปเลียงอย่างเฉียบพลัน
     - มีการติดเชือของระบบทางเดินหายใจ และมีภาวะหายใจวายจากสาเหตุต่างๆ

สาเหตุของหัวใจหยุดเต้น
     - หัวใจวายจากโรคหัวใจ จากการออกกําลังกายมากเกินปกติ หรื อตกใจหรื อเสียใจกระทันหัน
     - มีภาวะช็อคเกิดขึนอย่างเฉียบพลัน จากการสูญเสียเลือดมาก ทําให้กล้ามเนือหัวใจขาดเลือด หรื อมี
เลือดมาเลียงไม่เพียงพอ
     - ทางเดินหายใจอุดกัน ทําให้กล้ามเนือหัวใจได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
     - การได้รับยาเกินขนาดหรื อการแพ้

ข้ อบ่งชีในการปฏิบัตการช่ วยฟื นคืนชีพ
                    ิ
   1.ผู้ ทีมีภาวะหยุดหายใจ โดยทีหัวใจยังคงเต้นอยูประมาณ 2-3 นาที ให้ผายปอดทันที จะช่วยป้ องกัน
                                                 ่
ภาวะหัวใจหยุดเต้นได้ และช่วยป้ องกันการเกิดภาวะเนือเยือสมองขาดออกซิเจนอย่างถาวร
2.ผู้ ทีมีภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้นพร้อมกัน ซึงเรี ยกว่า clinical death การช่วยฟื นคืนชีพทันทีจะ
ช่วยป้ องกันการเกิด biological death คือ เนือเยือโดยเฉพาะเนือเยือสมองขาดออกซิเจน ระยะ เวลาของการ
เกิด biological death หลังจาก clinical death ยังไม่มีใครทราบแน่ชด แต่โดยทัวไป มักจะเกิดช่วง 4-6 นาที
                                                                 ั
หลังเกิด clinical death ดังนันการปฏิบติการช่วยฟื นคืนชีพจึงควรทําภายใน 4 นาที
                                       ั

ขันตอนการช่ วยฟื นคืนชีพขันพืนฐาน (CPR)
           หมายถึง การปฏิบติเพือช่วยชีวิตคนหัวใจหยุดเต้นหรื อ คนทีหยุดหายใจอย่างกะทันหันโดยไม่ตอง
                          ั                                                                     ้
ใช้เครื องมือทางการแพทย์แต่อย่างไร แต่เพียงใช้แรงมือกดทีหน้าอก และเป่ าลมเข้าปากผูป่วย ก็สามารถ
                                                                                  ้
ทําให้หวใจทีหยุดเต้น สามารถกลับมาเต้นใหม่ได้ เลือดไปเลียงสมองได้ ทําให้เราสามารถช่วยชีวิตคนทีเรา
         ั
รักหรื อคนทีเราพบเห็นได้
1. ตรวจดูระดับความรู้สึกตัว ให้เรี ยกหรื อเขย่าตัวผูป่วย ขอความช่วยเหลือจากหน่วยแพทย์ฉุกเฉินโทร.1669
                                                    ้




2. จัดให้ ผ้ป่วยนอนหงาย คุกเข่าข้างตัวผูป่วยใช้มือหนึงประคองศีรษะ อีกมือหนึงอ้อมรักแร้มาทีไหล่ พลิก
            ู                           ้
ผูป่วยนอนหงาย
  ้




3. เปิ ดทางเดินหายใจ ใช้มือกดหน้าผาก อีกมือหนึงดันคางให้หน้าแหงนขึน ถ้ามีสิ งขัดขวางทางเดินหายใจ
เช่น เศษอาหาร หรื อ สิ งแปลกปลอมอยูในปากให้ใช้มือล้วงออกเพือทําให้ทางเดินหายใจโล่ง
                                   ่
4. ตรวจดูการหายใจ มองไปทางปลายเท้าผูป่วยให้หูชิดกับปากผูป่วย เพือฟังเสียงหายใจ แก้มสัมผัสลม
                                    ้                   ้
หายใจ ตาดูการเคลือนไหวของทรวงอก ประเมินว่า ผูป่วยหายใจได้เองหรื อเปล่า ถ้าผูป่วยหายใจเองได้จดให้
                                              ้                             ้               ั
นอนตะแคงกึงควําเพือพัก




5. ช่ วยหายใจด้ วยการเป่ าปาก ถ้าผูป่วยไม่หายใจให้เป่ าปาก โดยใช้นิ วหัวแม่มือและนิ วชีของมือทีอยูเ่ หนือ
                                   ้
ศีรษะ บีบจมูกให้แน่น ฝ่ ามือกดหน้าผากให้หน้าแหงนขึน นิ วชีและนิ วกลางของมืออีกข้างเชยคางผูป่วยขึน้
ผูช่วยเหลือสูดหายใจเข้าเต็มทีประกบปากกับผูป่วยให้สนิท แล้วเป่ าลมเข้าปากผูป่วยช้าๆ แต่แรง ประมาณ
  ้                                           ้                                ้
10-12 ครังใน 1 นาที สังเกตดูว่าขณะทีเป่ าลมเข้า หน้าอกของผูป่วยจะกระเพือมขึน
                                                             ้




6. ตรวจชีพจรในเวลา 5-10 นาที วางนิ วชีและนิ วกลางบนหลอดลมของผูป่วยแล้วเลือนลงไปด้านข้าง
                                                               ้
ระหว่างหลอดลมกับกล้ามเนือคอ คลําการเต้นของชีพจรเส้นเลือดใหญ่ทีคอ พร้อมสังเกตการหายใจของ
ผูป่วย
  ้
- ถ้าคลําชีพจรได้ แต่ไม่หายใจ ให้ช่วยหายใจด้วยการเป่ าปากทุก 5 วินาที โดยนับหนึง...และสอง...
และสาม...และสี...และห้า... เป่ าปาก 1 ครัง (10-20 ครัง ใน 1 นาที)
      - ถ้าคลําชีพจรไม่ได้หรื อหัวใจหยุดเต้น ให้ช่วยกดหน้าอก




7. การกดหน้ าอก คุกเข่าข้างตัวผูป่วย วางนิ วชีและนิ วกลาง(มือขวา) บริ เวณปลายกระดูกหน้าอก วางฝ่ ามือ
                                ้
ซ้ายต่อจากนิ วชีบนกระดูกหน้าอก เอามือขวาทับมือซ้าย




วิธีกดหน้ าอก
         ผูช่วยเหลือเหยียดแขนตรง โน้มตัวตังฉากกับหน้าอก ทิ งนําหนักลงบนแขนออกแรงกดทีฝ่ ามือให้
           ้
หน้าอกยุบลงประมาณ 1.5-2 นิ ว กดหน้าอกสมําเสมอ 15 ครัง ใน 10 วินาที โดยนับหนึง...และสอง...และสาม
...และสี...จนครบ 15 ครัง สลับกับเป่ าปาก 2 ครัง นับเป็ น 1 รอบ ทํา 4 รอบใน 1 นาที (อัตราประมาณ 80 ครัง
ใน 1 นาที)
      สําหรับผูช่วยเหลือ 2 คน คนหนึงกดหน้าอก 5 ครัง สลับกับคนทีสองเป่ าปาก 1 ครัง (อัตราประมาณ 60
                ้
ครังใน 1 นาที)
8. ตรวจชีพจรและหายใจซํา ทุก 3-4 นาที และให้การช่วยเหลือ

                                       ถ้ าไม่มชีพจรและไม่หายใจ
                                               ี
           - ผูช่วยเหลือ 1 คน กดหน้าอก 15 ครัง
                ้                                    รอจนกว่ามีคนมาช่วยหรื อหน่วยแพทย์
           เป่ าปาก 2 ครัง ทํา 4 รอบ ใน 1 นาที       ฉุกเฉินมาถึง
           - ผูช่วยเหลือ 2 คน กดหน้าอก 5 ครัง
                  ้
           เป่ าปาก 1 ครัง
           - ตรวจชีพจรและการหายใจซําทุก
           3-4 นาที

                                         ถ้ ามีชีพจรและไม่หายใจ
           - ช่วยเป่ าปาก 15 ครัง ใน 1 นาที           รอจนกว่ามีคนมาช่วยหรื อหน่วยแพทย์
           - ตรวจชีพจรและการหายใจซําทุก               ฉุกเฉินมาถึง
           3-4 นาที

                                      ถ้ ามีชีพจรและหายใจได้ เอง
           - เฝ้ าดูอาการอย่างใกล้ชิด               รอจนกว่ามีคนมาช่วยหรื อหน่วยแพทย์
           - ตรวจชีพจรและการหายใจซําทุก             ฉุกเฉินมาถึง
           3-4 นาที

ผู้ป่วยกระดูกหัก

       กระดูกหัก (fracture) หมายความถึงกระดูกแยกออกจากกัน ก่อให้เกิดความเจ็บปวด บวม เคลือนไหว
ไม่ได้หรื อเคลือนไหวผิดปกติ เนืองจากอุบติเหตุ เช่น ถูกรถชน หกล้ม ตกจากทีสูง หรื อกระดูกเป็ นโรคไม่
                                       ั
แข็งแรงอยูแล้ว กระดูกเปราะเมือถูกแรงกระทบกระเทือนเพียงเล็กน้อยก็อาจหักได้
            ่


ประเภทของกระดูกหัก
    ๑. กระดูกหักแบบสามัญ (simple fracture) หมายถึง กระดูกหักแล้วไม่ปรากฏแผลให้เห็นบนผิวหนัง
    ๒. กระดูกหักแผลเปิ ด (compound fracture) หมายถึง กระดูกทีหักทิ มแทงผิวหนังออกมาภายนอก
    ๓. กระดูกหักแตกย่อย (comminuted fracture) หมายถึง ชิ นส่วนของกระดูกทีหักปรากฏออกมา
มากกว่า ๒ ชิ นขึนไป
อาการของกระดูกหัก มีดงนีั
     ๑. มีความเจ็บปวดบริ เวณทีมีกระดูกหัก
     ๒. มีอาการบวมรอบๆ บริ เวณทีกระดูกหัก
     ๓. รู ปร่ างของแขนขาหรื อหัวไหล่อาจเปลียนแปลงไปจากรู ปร่ างปกติ
     ๔. บริ เวณนันเคลือนไหวไม่ได้ หรื อเคลือนไหวแล้วจะเจ็บปวดมาก
     ๕. อาจได้ยนเสียงกระดูกหักเมือประสบอุบติเหตุบาดเจ็บ
                  ิ                          ั
     ๖. หากกดเบาๆ ลงบนกระดูกบริ เวณทีหัก อาจได้ยนเสียงกรอบแกรบ
                                                  ิ


การปฐมพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก
        วิธีปฏิบติ
                ั
        การปฐมพยาบาลทีดีทีสุด คือ ให้ผป่วยนอนอยูกบทีห้ามเคลือนย้ายโดยไม่จาเป็ น เพราะหากทําผิดวิธี
                                           ู้         ่ ั                          ํ
อาจบาดเจ็บมากขึน ถ้าผูป่วยมีเลือดออกให้หามเลือดไว้ก่อน หากมีอาการช็อกให้รักษาช็อกไปก่อน ถ้า
                           ้                    ้
จําเป็ นต้องเคลือนย้ายผูป่วย
                         ้
ให้เข้าเฝื อกชัวคราว ณ ทีผูป่วยนอนอยู่ ถ้าบาดแผลเปิ ด ให้หามเลือดและปิ ดแผลไว้ชวคราวก่อนเข้าเฝื อก สิ งที
                             ้                              ้                        ั
ควรระวังมากทีสุดคือกระดูกสันหลังหักหรื อกระดูกต้นคอหัก ถ้าเคลือนย้ายผิดวิธี อาจทําให้ผป่วยพิการ
                                                                                            ู้
ตลอดชีวิต หรื อถึงแก่ชีวิตได้ทนทีขณะเคลือนย้าย
                                 ั
        การเข้าเฝื อกชัวคราว เป็ นวิธีการบังคับให้กระดูกส่วนทีหักได้อยูนิ งไม่เคลือนไหว เพือลดความ
                                                                       ่
เจ็บปวดและป้ องกันมิให้เกิดความพิการเพิ มขึน มีหลักอยูว่าหากหาสิ งทีใกล้มือเพือเข้าเฝื อกไม่ได้ ให้มดส่วน
                                                          ่                                         ั
ทีกระดูกหักไว้ ไม่ให้เคลือนไหว เช่นกระดูกขาข้างหนึงหัก ก็ให้มดขาข้างทีหักให้ชิดแน่นกับขาข้างดี หาก
                                                                  ั
กระดูกแขนหัก หรื อกระดูกไหปลาร้าหักก็มดแขนข้างนันให้อยูแน่นติดกับลําตัว เรี ยกว่า "เข้าเฝื อก
                                                  ั             ่
ธรรมชาติ"
        สิ งทีอยูใกล้มือพอให้เป็ นเฝื อกได้คือ แผ่นกระดานท่อนไม้ กิ งไม้ ไม้บรรทัด หมอน ผ้าห่ม ผ้าขาวม้า
                  ่
ด้ามร่ ม ม้วนกระดาษหนังสือพิมพ์ ใช้ได้ดีคือแผ่นไม้ ทีเหมาะควรยาวเกินกว่าข้อต่อ (joints) ซึงอยูส่วนบน
                                                                                                 ่
และส่วนล่างของกระดูกทีหักและควรมีสิ งนุ่มๆ รองรับผิวหนังของอวัยวะส่วนนันอยูเ่ สมอควรใช้ไม้ ๒ แผ่น
ขนาบสองข้างของส่วนทีหักแล้วมัดด้วยผ้าหรื อเชือกให้แน่นพอควร
        หากไม่แน่ใจว่ากระดูกหักจริ งหรื อไม่ ให้ปฏิบติตามวิธีกระดูกหักไว้ก่อนเพือความปลอดภัย
                                                       ั
กระดูกสันหลังหัก
      สมอง ไขสันหลัง และส่วนต้นๆ ของเส้นประสาทใหญ่ๆ อยูภายในกะโหลกศีรษะและกระดูกสันหลัง
                                                         ่
เมือได้รับบาดเจ็บอย่างหนึงอย่างใดต่อกะโหลกศีรษะ และกระดูกสันหลัง ย่อมกระทบกระเทือนต่อสมอง
และไขสันหลังไปด้วย


อาการ
      เมือกระดูกสันหลังหัก หรื อแม้แต่ขอต่อกระดูกสันหลังเคลือน ไขสันหลังจะถูกกดหรื อถูกตัดขาด เป็ น
                                       ้
ผลทําให้เกิดอัมพาตและหมดความรู้สึกของเส้นประสาทต่างๆ ทีอยูตากว่าระดับไขสันหลังทีได้รับอันตราย
                                                              ่ ํ
ลงมา ถ้ากระดูกสันหลังหักทีคอ แขนและขาของผูป่วยจะเป็ นอัมพาตและหมดความรู้สึก ชาไปทังตัว ยกเว้น
                                              ้
ศีรษะเท่านัน ผูป่วยอาจหยุดหายใจ เพราะกล้ามเนือทรวงอกและกะบังลมหยุดทํางานเพราะเป็ นอัมพาต ถ้า
               ้
กระดูกสันหลังหักทีหลัง ขาทังสองข้างของผูป่วยจะชาและเป็ นอัมพาต
                                          ้
การช่ วยเหลือผู้ป่วยกระดูกสันหลังหักทีคอ
       ให้ผป่วยนอนรอบโดยมีศีรษะอยูนิ งและจัดให้เป็ นแนวตรงกับลําตัวโดยใช้หมอน หรื อของแข็งๆ
              ู้                      ่
ขนาบศีรษะข้างหูทงสองด้าน ถ้าผูป่วยประสบเหตุขณะขับรถยนต์อยู่ ก่อนเคลือนย้ายผูป่วยทีกระดูกสันหลัง
                    ั             ้                                               ้
ส่วนคอหักออกจากทีนังในรถ ผูช่วยเหลือควรให้ผป่วยนังพิงแผ่นไม้กระดานทีมีระดับสูงจากสะโพกขึนไป
                                ้               ู้
จนเหนือศีรษะ ใช้เชือก หรื อผ้ามัดศีรษะและลําตัวของผูป่วยให้ติดแน่นกับแผ่นไม้ไม่ให้ขยับเขยือน เป็ น
                                                    ้
เปลาะๆ แล้วจึงเคลือนย้ายผูป่วยออกมา
                            ้
       ถ้าผูป่วยหยุดหายใจ ผูช่วยเหลือควรรี บผายปอดด้วยวิธีเป่ าลมเข้าปาก หากต้องเคลือนย้ายผูป่วย เช่น
            ้                 ้                                                             ้
นําส่งโรงพยาบาลควรหาผูช่วยเหลืออย่างน้อย ๔ คน ให้ผช่วยเหลือยกผูป่วยขึนจากพืนพร้อมๆ กัน ให้ศีรษะ
                          ้                           ู้              ้
และลําตัวเป็ นแนวตรง ไม่ให้คองอเป็ นอันขาด แล้วจึงวางผูป่วยลงบนแผ่นกระดาน หรื อเปลพยาบาลต่อไป
                                                         ้


การช่ วยเหลือผู้ป่วยกระดูกสันหลังหักทีหลัง
       ให้ผป่วยนอนราบอยูบนพืน ไม่ให้เคลือนไหว หาผูช่วยเหลือ ๓-๔ คน และแผ่นกระดานขนาดยาวเท่า
            ู้             ่                        ้
ผูป่วย เช่น บานประตู หรื อเปลพยาบาล ค่อยๆ เคลือนตัวผูป่วยในท่าแนวตรงทังศีรษะและลําตัว ไม่ให้หลังงอ
  ้                                                   ้
เป็ นอันขาด วางผูป่วยลงบนไม้กระดานหรื อบนเปลพยาบาล ใช้ผารัดตัวผูป่วยให้ติดกับแผ่นกระดานเป็ น
                  ้                                        ้     ้
เปลาะๆ ไม่ให้เคลือนไปมาแล้วจึงนําส่งแพทย์
การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บ

การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บ
การ ปฐมพยาบาล คือ การช่วยเหลือขันต้นแก่ผบาดเจ็บจากอุบติเหตุหรื อการล้มป่ วยอย่างกะทันหัน ปัจจุบน
                                                   ู้           ั                                     ั
ทันด่วน โดยการใช้สิ งต่างๆเท่าทีจะหาได้ในขณะนันเพือให้ผบาดเจ็บรอดชีวิตอยู่ ได้ หรื อยังมีอาการเดิมไม่
                                                             ู้
ทรุ ดลงหรื อหายป่ วยหรื อทุเลาได้เร็ วขึน แล้วรี บนําส่งสถานพยาบาลทีมีอุปกรณ์ เครื องมือและบุคลากรที
สามารถให้การรักษาทีดีต่อไป ความรู้เรื องการปฐมพยาบาลจึงเป็ นสิ งทีสําคัญทีทุกคนจําเป็ นต้องรู้เพือนํา ไป
ช่วยเหลือผูอืนได้อย่างถูกต้อง เพือประโยชน์ดงทีกล่าวไปแล้ว
            ้                                    ั

หลักในการปฐมพยาบาล
เนือง จากอุบติเหตุมกทําให้เกิดการบาดเจ็บได้ในหลายอวัยวะ ซึงมีความรุ นแรงและอันตรายต่างกัน หัวใจ
                ั   ั
สําคัญของการปฐมพยาบาลคือการเรี ยงลําดับความสําคัญของอวัยวะทีได้รับบาด เจ็บเพือให้การปฐมพยาบาล
ในการบาดเจ็บทีรุ นแรงก่อน ดังนี
1. การช่วยเหลือด่วนทีสุด เป็ นการช่วยเหลือเพือให้มีชีวิตรอดหรื อเพือรักษาชีวต
                                                                            ิ
- การช่วยหายใจ
- การช่วยนวดหัวใจ
- การช่วยห้ามเลือดจากบาดแผลภายนอก
2. การช่วยเหลือด่วน เป็ นการช่วยเหลือเพือป้ องกันความพิการต่ออวัยวะต่างๆ ลดความรุ นแรงของการ
บาดเจ็บทีเกิดขึน
-การปกปิ ดแผลด้วยผ้าสะอาด
-การเข้าเฝื อกชัวคราว ( Emergency splints )
-การจัดท่าให้เหมาะสมก่อนเคลือนย้ายผูป่วย้
3. การช่วยเหลือรอง เป็ นการเคลือนย้ายผูบาดเจ็บส่งสถานพยาบาลและการแจ้งข่าว
                                          ้
ข้อควรปฏิบติสาหรับผูปฐมพยาบาล
               ั ํ       ้
1. ต้องควบคุมสติอารมณ์ให้สงบ
2. ต้องให้กาลังใจแก่ผบาดเจ็บทีรู้สึกตัวอยู่
             ํ        ู้
3. ต้องตรวจตราสิ งต่างๆต่อไปนี
- ความปลอดภัยของผูบาดเจ็บและการเข้าไปช่วยเหลือ
                      ้
- การหายใจ การตกเลือดและระดับความรู้สติของผูบาดเจ็บ
                                                 ้
4. ต้องขอความช่วยเหลือต่างๆ

การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บทีช็อก
ผูบาดเจ็บทีช็อกเกิดได้หลายสาเหตุแต่ส่วนใหญ่มกเกิดจากการเสียเลือด การปฐมพยาบาลควรทําดังนี
  ้                                         ั
1. ห้ามเลือดจากบาดแผลภายนอก
2. จัดท่าให้ผบาดเจ็บนอนราบ หัวตํา ยกขาขึนสูงกว่าลําตัว
              ู้
3. รี บนําผูบาดเจ็บส่งโรงพยาบาลให้เร็ วทีสุด
            ้
การปฐมพยาบาลบาดแผลภายนอก
บาดแผลภายนอก จะเห็นได้ชด การปฐมพยาบาลจะไม่ยงยากมากนัก โดยมีจุดประสงค์ ดังนี
                            ั                       ุ่
1. เพือทําให้บาดแผลสะอาด โดยการล้างด้วยนําสะอาดจํานวนมากๆแล้วใช้ผาสะอาดปิ ดและพันไว้
                                                                 ้

2. เพือห้ามเลือด ซึงมี 3 วิธีง่ายๆดังนี
-การพันผ้าให้แน่น จะใช้ได้ดีถาเลือดทีออกมาจากหลอดเลือดดํา
                                  ้
-การใช้ผาสะอาดวางบนแผลและใช้ฝ่ามือหรื อนิ วกดไว้ จะใช้ได้ดีถาเลือดทีออกจากเส้นเลือด แดง
          ้                                                   ้
-การ ขันชะเนาะ การใช้เชือกหรื อผ้ารัดบริ เวณเหนือต่อบาดแผลแล้วขันให้แน่นพอทีทําให้ เลือดหยุดไหลได้
แต่ไม่ควรแน่นมาก เพราะอาจทําให้เส้นประสาทถูกทําลายได้ และควร คลายทุกๆ 30 นาทีเพือป้ องกันการ
ขาดเลือดไปเลียง

การดูแลรักษาบาดแผลภายนอก
1.ล้างแผลให้สะอาดด้วยนําเกลือล้างแผล ( Irrigation )
2.ห้ามเลือดทีบาดแผล ( Stop bleeding )
3.การตกแต่งบาดแผล ( Debridement )
-ตัดเอาเนือทีตายและชอกชํามาก ๆ ออก
-ตัดเอาเนือทีแม้ยงไม่ตายแต่เลือดไปเลียงไม่เพียงพอ และคิดว่าถ้าปล่อยเอาไว้คงจะตายออก
                   ั
-ตัดเนือทีมีสิ งสกปรกติดอยูมาก ไม่สามารถจะเอาสิ งสกปรกออกได้โดยวิธีอืนออก
                            ่
-ขอบแผลทีกระรุ่ งกระริ งเมือเย็บเข้าหากันแล้วจะมีแผลเป็ นทีน่าเกลียด ควรเจียนให้เรี ยบ
-ขอบแผลชอกชํา ถ้าเย็บเข้าหากันจะติดได้ไม่ดี ควรตัดออก
4.การซ่อมแซมส่วนทีฉีกขาด
-ผิวหนัง (Skin ) การตัดตกแต่งต้องดูบริ เวณทีเป็ นบาดแผลด้วย ไม่ตดออกมากเกินไปจน เย็บไม่ได้หรื อเย็บ
                                                                  ั
แล้วตึงเกินไป
-ไขมัน( Fat ) สามารถตัดออกได้แต่ตองระวังเลือดออกเพราะมักจะออกได้มากและนาน
                                     ้
-พังผืด ( Fascia ) ไม่ควรตัดออกมากเกินความจําเป็ น
-กล้ามเนือ (Muscle ) ถ้าตายแล้วต้องตัดทิ งหากไม่ฉีกขาดมากไม่จาเป็ นต้องเย็บ แต่ถาขาด ตามขวางของใย
                                                                ํ                ้
กล้ามเนือควรเย็บเข้าหากัน
-เอ็น( Ligament and tendon ) ถ้าขาดบางเส้นใยอาจไม่ตองเย็บซ่อม แต่ถาขาดหมดทัง เส้นต้องเย็บซ่อมโดย
                                                     ้                ้
หาส่วนต้นทีขาดให้พบและเย็บต่อดังเดิมโดยห้ามตัดออกมาก เกินความ จําเป็ น
-เส้นประสาท (Nerve ) ถ้าเป็ นเส้นใหญ่และมีหน้าทีมากถ้าเสียไปจะมีผลเสียต่อการเคลือน ไหวต้องเย็บซ่อม
โดยผูชานาญ
       ้ํ
-เส้น เลือด ( Vessels ) ถ้าเป็ นเส้นเล็กอาจผูกเพือห้ามเลือด ถ้าเป็ นเส้นใหญ่และไม่มีแขนง อืนมาร่ วมเลียง
เนือเยือบริ เวณนันต้องเย็บซ่อมโดยผูชานาญ้ํ

การปฐมพยาบาลบาดแผลไฟไหม้นําร้ อนลวก
1. ล้างด้วยนําสะอาดมากๆและห้ามลอกตุ่มใสออก
2. ใช้ผาชุบนําเย็นประคบหรื อใช้ถุงพลาสติกสะอาดใส่นาแข็งวางตรงบริ เวณบาดแผล เพือลดอาการ ปวด
            ้                                          ํ
แสบปวดร้อนและลดการอักเสบ
ข้อบ่งชีในการรับผูป่วย Burn รักษาในโรงพยาบาล
                          ้
ผูป่วยทีมีบาดแผลไฟไหม้นาร้อนลวกทีจะต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล คือผูป่วยทีจัดอยูใน Modurate and
  ้                         ํ                                           ้      ่
Majer Burns ได้แก่
1.Moderate burns
- Second degree burns 15 - 25 % ในผูใหญ่ หรื อ 10 - 20 % ในเด็ก
                                    ้
- Third degree burns 2 - 10 %
2.Major burns
- Second degree burns มากกว่า 25 % ในผูใหญ่ หรื อ 20 % ในเด็ก
                                         ้
- Third degree burns มากกว่า 10 %
- แผลไฟไหม้นาร้อนลวกของตา หู หน้า มือ เท้า และบริ เวณหัวหน่าว
                ํ
- ผูป่วยไฟไหม้นาร้อนลวกทีมี Inhalation injury ร่ วมด้วย
    ้             ํ
- ผูป่วยไฟไหม้นาร้อนลวกจาก High - voltage electrical injury
      ้             ํ
- ผูป่วยไฟไหม้นาร้อนลวกทีมีกระดูกหัก หรื อการบาดเจ็บรุ นแรงอย่างอืนร่ วมด้วย
        ้             ํ
- ผูป่วยไฟไหม้นาร้อนลวกทีเป็ น Poor - risk group
          ้             ํ
โดย ทัวไปแล้วการให้สารนําทดแทนทางเส้นเลือดจะเริ มให้ในผูป่วยทีมีแผลไฟไหม้ นําร้อนลวกมากกว่า 15
                                                              ้
- 20 % ของผิวหนังทังหมดในผูใหญ่และมากกว่า 10 - 15 % ในเด็ก
                               ้

การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บกระดูกหักและข้อเคลือน
การปฐมพยาบาลผูบาดเจ็บกลุ่มนีทีสําคัญคือ การดามส่วนทีได้รับบาดเจ็บโดยใช้ Splint
                    ้
Splint คือ อุปกรณ์ทีวางไว้ดานใดด้านหนึงหรื อหลายด้านของส่วนของร่ างกาย เพือทําหน้าที Immobilization
                            ้
, Protection , Supportive and Correction ต่ออวัยวะส่วนนัน ๆ โดยอาศัยการยึดติดกับอวัยวะนัน ๆ ด้วย
Elastic bandage , สายเข็มขัด หรื ออุปกรณ์อืน ๆ
Splint สามารถทําได้จากสารหลาย ๆ อย่าง เช่น ไม้ , อลูมิเนียม , เฝื อกปูน หรื อพลาสติกแข็ง Splint ทีดีควรมี
คุณสมบัติดงต่อไปนี
            ั
1.พอเหมาะพอดีกบส่วนทีได้รับอันตราย
                  ั
2.สะอาดและจัดทําได้เร็ ว
3.ปรับง่าย
4.สามารถพยุงส่วนนันได้อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ
5.ปรับตามรู ปร่ างของส่วนของร่ างกายได้ง่าย
6.นําหนักเบา
7.ไม่แพง
8.ให้ความพึงพอใจด้านความสวยงามแก่ผป่วย  ู้
9.สะดวกในการใช้
10.ไม่มีผลกดทับต่อเนือเยืออืน

Splint แบ่งตามจุดประสงค์ของการใช้เป็ น 2 กลุ่ม คือ
1. Splint for correction of deformity
2. Splint for immobilization มีจุดประสงค์เพือยึดหรื อดามส่วนของกระดูกทีหัก หรื อข้อทีได้รับ อันตรายหรื อ
เนือเยืออืน ๆ ให้อยูกบที แบ่งได้ 2 ชนิด คือ
                    ่ ั
1) Splints for treatment of fractur and soft tissue injury
2) Emergency splints เป็ นการใช้อุปกรณ์ในการดามกระดูก หรื อเนือเยือทีได้รับบาดเจ็บในบริ เวณทีเกิด
อุบติเหตุ หรื อระหว่างคอยการรักษาต่อไป มีวตถุประสงค์คือ
    ั                                            ั
-เพือลดอาการเจ็บปวด
-เพือลดอันตรายต่อเนือเยืออืน ๆ จากการทิ มแทงของกระดูกทีหัก
-เพือป้ องกันการเคลือนทีของกระดูกทีหักเพิ มมากขึน
-เพือสะดวกต่อการเคลือนย้ายผูป่วย ้
-เพือป้ องกันการช็อก

สําหรับ Emergency splints ทีพอทําได้ในบริ เวณทีเกิดเหตุอาจจะเป็ นไม้กระดาน , คันร่ ม , กระดาษ
หนังสือพิมพ์ , ไม้พลอง ,ผ้าพันคอลูกเสือ , ผ้าห่ม , ผ้าถุง และอืน ๆ สุดแต่จะหาได้บริ เวณนันแล้วนํามา
ประยุกต์ใช้
การช่วยพืนคืนชีพหรื อปฏิบติการกูชีวต ( Cardiopulmonary resuscitation )
                             ั    ้ ิ
ปฏิบติ การกูชีวิต หมายถึง การทําให้ผป่วยทีมีภาวะหัวใจหยุด ( Cardiac arrest ) หรื อการหายใจหยุด (
      ั        ้                      ู้
Respiratory arrest ) เพือให้หวใจกลับเต้นเป็ นปกติหรื อการหายใจกลับมาปกติ
                               ั
ภาวะหัวใจหยุด คือ หัวใจหยุดทํางานหรื อทํางานอย่างไม่มประสิทธิภาพ เป็ นเหตุให้ไม่สามารถนําออกซิเจน
                                                           ี
ไปเลียงส่วนต่าง ๆ ของร่ างกายได้ วินิจฉัยจาก
-ผูป่วยไม่รู้สึกตัว
   ้
-คลําชีพจรทีคอหรื อขาหนีบไม่ได้
-หายใจหยุดหรื อหายใจเป็ นเฮือก ๆ
-ฟังเสียงหัวใจไม่ได้ยน
                     ิ

เมือพบผูป่วยไม่รู้สึกตัวหรื อหมดสติ การเข้าไปช่วยเหลือผูป่วยในทีเกิดเหตุควรกระทําดังนี
          ้                                                ้
1.ระวัง อันตรายทีจะเกิดกับผูช่วยเหลือและผูป่วย เช่น ผูป่วยอาจหมดสติจากถูกไฟฟ้ าดูด หรื อก๊าซรั ว ให้
                                 ้             ้      ้
แก้ไขสาเหตุของภยันตรายเสียก่อน เช่น ตัดไฟฟ้ า ปิ ดแก๊ส หรื อนําผู้ ป่ วยออกมาอยูในทีปลอดภัย
                                                                                ่
2.พยายามปลุกผูป่วยให้รู้สึกตัวด้วยเสียงดัง ๆ และจับเขย่าบริ เวณต้นแขนโดยอย่าลืมว่าอาจมี การบาดเจ็บที
                         ้
คอหรื อทีร่ างกายส่วนบนอยู่
3.จัด ให้ผป่วยนอนอยูในท่าหมดสติ ( Recovery position ) จากท่านอนหงายเมือตรวจแล้ว พบว่าไม่มีการ
            ู้             ่
บาดเจ็บอืน ๆ ของร่ างกายให้จดท่าผูป่วยนอนดังนี
                                   ั   ้
-กางแขนซ้ายออกตังฉากกับลําตัว จับแขนขวาพาดกับหน้าอก
-ยกเข่าขวางอตังตรงขึน ขาซ้ายเหยียดตรงตามเดิม ถ้ามีผช่วยเหลืออีกคนให้ช่วยจับศีรษะ เพือจัดให้ทางเดิน
                                                        ู้
หายใจเปิ ดโล่งไว้
-ผูช่วยเหลือคุกเข่าข้าง ๆ ผูป่วยดันตัวบริ เวณไหล่และสะโพกให้พลิกตะแคงไปทางซ้าย
   ้                           ้
-แขนขวางอทับแขนซ้าย มือขวาอยูบริ เวณข้อศอกซ้าย
                                     ่
-ศีรษะจัดอยูในท่าแหงนหน้า โดยการช่วยดึงกระดูกขากรรไกรไปข้างหน้า ถ้าจําเป็ นอาจ จะต้องช่วยประคอง
               ่
ศีรษะไว้ในอุงมือ ้
-เอียงให้หน้าผูป่วยควําลงเล็กน้อย เพือให้นาลายและเศษอาหารทีอาเจียนไหลออกมา
                     ้                       ํ
4.วินิจฉัย ว่าผูป่วยหายใจหรื อหัวใจเต้นหรื อไม่ โดยตรวจง่าย ๆ ด้วยการเอียงหน้ามองไปทีหน้าอก หูและ
                   ้
แก้มชิดกับจมูกและปากผูบาดเจ็บ หูฟังเสียงลมหายใจ ตาดูการเคลือนไหวของทรวงอก แก้มสัมผัสลมหายใจ
                             ้
ออก ถ้าพบว่าผูป่วยมีภาวะหัวใจหยุดหรื อการหายใจหยุดให้ช่วยให้ทาการช่วยฟื นคืน ชีพทันที
                       ้                                            ํ

หลักการเคลือนย้ายผู้บาดเจ็บ
1. ควบคุมสติอารมณ์ให้สงบไม่ตืนเต้นตกใจ
2. ทําการเคลือนย้ายผูบาดเจ็บในกรณี ทีจําเป็ นเท่านัน
                      ้
3. ปฏิบติอย่างรวดเร็ ว ถูกต้อง ปลอดภัยและมีไหวพริ บ
        ั
4. ต้องทราบว่าผูบาดเจ็บมีการบาดเจ็บทีอวัยวะใด
                 ้
5. พิจารณาถึงวิธีการเคลือนย้ายผูบาดเจ็บ
                                 ้
6. จัดหาสถานทีพักรอไว้ในทีปลอดภัยเพือนําส่งแพทย์
7. จัดนําส่งโรงพยาบาลทีใกล้ทีสุดและเร็ วทีสุด

ข้ อควรระวังในการเคลือนย้ายผู้บาดเจ็บ
1. อย่าเคลือนย้ายผูบาดเจ็บในขณะทีกําลังเสียเลือดอยูตองห้ามเลือดก่อน
                   ้                               ่ ้
2. อย่าเคลือนย้ายผูบาดเจ็บในขณะทีหายใจไม่ปกติ หายใจขัดหรื อหยุดหายใจต้องช่วยหายใจก่อน
                   ้
3. เคลือนย้ายผูบาดเจ็บโดยไม่ให้เกิดอันตรายเพิ มขึน
               ้
4. นําผูบาดเจ็บส่งแพทย์ทุกราย อย่าคิดว่าไม่เป็ นอะไร
        ้
5. ใช้วิธีการเคลือนย้ายทีสะดวก ง่ายและปลอดภัย
6. ขณะเคลือนย้ายต้องดูแลผูบาดเจ็บอย่างใกล้ชิด ถ้าหัวใจหยุดเต้นต้องให้การช่วยเหลือทันที
                            ้

การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัตเิ หตุหมู่
อุบติเหตุ หมู่ หมายถึง อุบติเหตุทีเกิดขึนกับกลุ่มคนหลายๆคนผูบาดเจ็บจะมีระดับความรุ นแรงของ การ
    ั                               ั                          ้
บาดเจ็บต่างๆกันมากบ้างน้อยบ้าง เหตุการณ์มกจะยุงเหยิงชุลมุน การช่วยเหลือผูบาดเจ็บกลุ่มนี มีขนตอนใน
                                               ั ่                            ้              ั
การช่วยเหลือดังนี
1. ช่วยชีวิตผูบาดเจ็บ
                    ้
2. การนําผูบาดเจ็บออกจากทีเกิดเหตุ
                ้
3. ป้ องกันไม่ให้ผบาดเจ็บได้รับอันตรายต่อไปหรื อมากขึนและให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายผูบาดเจ็บ
                            ู้                                                            ้
4. การแยกผูบาดเจ็บออกจากผูเ้ สียชีวิต
                  ้
5. กันฝูงชนอย่าให้เข้ามาในทีเกิดเหตุ จนเป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบติงาน ั
6. การเลือกสรรผูบาดเจ็บส่งโรงพยาบาล
                          ้
7. การส่งข่าวและการหารถลําเลียง
การแบ่งกลุ่มผูได้รับอุบติเหตุ
                      ้           ั
อุบติเหตุ หมู่ ทําให้มีผได้รับบาดเจ็บหลายคน การให้การช่วยเหลือจะต้องดูความรุ นแรงของการบาดเจ็บเพือ
      ั                        ู้
การตัดสินใจให้การ ช่วยเหลือทีถูกต้อง รวดเร็ ว จําเป็ นต้องแบ่งกลุ่มผูป่วยออกเป็ นกลุ่ม ดังนี
                                                                      ้
ประเภทผูป่วย การปฐมพยาบาล เหตุผล
              ้
1. กลุ่มบาดเจ็บรุ นแรง ช่วยเหลือด่วนทีสุด เพือรักษาชีวิตไว้/ให้ยงมีชีวิตอยู่
                                                                 ั
2. กลุ่มบาดเจ็บปานกลาง ช่วยเหลือด่วน เพือป้ องกันไม้ให้ผบาดเจ็บมี อาการทรุ ดลง
                                                            ู้
3. กลุ่มบาดเจ็บเล็กน้อย ช่วยเหลือรอง เพือให้หายป่ วยหรื อทุเลาเร็ วขึน
4. กลุ่มผูเ้ สียชีวิตหรื อหมดหวัง ไม่ตองช่วยเหลือ ไม่มีประโยชน์
                                      ้
เมือจัดแบ่งกลุ่มผูป่วยได้แล้วก็ให้การปฐมพยาบาลและรี บนําส่งสถานพยาบาลเพือการรักษาต่อไปตามกลุ่ม
                        ้
ความรุ นแรง

Mais conteúdo relacionado

Destaque

San sudlaliin bie daalt
San sudlaliin bie daaltSan sudlaliin bie daalt
San sudlaliin bie daalt
dulmaaa
 
Album Artwork
Album ArtworkAlbum Artwork
Album Artwork
daimonos
 
Раздел 4. Последствия грехопадения
Раздел 4. Последствия грехопаденияРаздел 4. Последствия грехопадения
Раздел 4. Последствия грехопадения
peacefamilyworldFall
 
소셜 커머스 이형진
소셜 커머스 이형진소셜 커머스 이형진
소셜 커머스 이형진
Lee Hyungjin
 
Foundatio n of knowledge!
Foundatio n of knowledge!Foundatio n of knowledge!
Foundatio n of knowledge!
jeska7
 
Раздел 1. Корень греха
Раздел 1. Корень грехаРаздел 1. Корень греха
Раздел 1. Корень греха
peacefamilyworldFall
 
Apartato respiratorio grupo 3
Apartato respiratorio grupo 3Apartato respiratorio grupo 3
Apartato respiratorio grupo 3
alanerickadolfo
 
Trening pryamaya-rech-31mar2012-evgeny_akulich
Trening  pryamaya-rech-31mar2012-evgeny_akulichTrening  pryamaya-rech-31mar2012-evgeny_akulich
Trening pryamaya-rech-31mar2012-evgeny_akulich
Ilya Iliynskiy
 
Раздел 3. Сила любви, сила Принципа и Божья заповедь
Раздел 3. Сила любви, сила Принципа и Божья заповедьРаздел 3. Сила любви, сила Принципа и Божья заповедь
Раздел 3. Сила любви, сила Принципа и Божья заповедь
peacefamilyworldFall
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
ptianyiii
 
Раздел 2. Мотивация и процесс грехопадения
Раздел 2. Мотивация и процесс грехопаденияРаздел 2. Мотивация и процесс грехопадения
Раздел 2. Мотивация и процесс грехопадения
peacefamilyworldFall
 
One to-One Dynamics
One to-One DynamicsOne to-One Dynamics
One to-One Dynamics
CsillaJB
 
What does the future of technology hold
What does the future of technology holdWhat does the future of technology hold
What does the future of technology hold
maryyallison
 
Portfolio sandy martin
Portfolio sandy martinPortfolio sandy martin
Portfolio sandy martin
Sandy Martin
 

Destaque (20)

Luke nelson
Luke nelsonLuke nelson
Luke nelson
 
San sudlaliin bie daalt
San sudlaliin bie daaltSan sudlaliin bie daalt
San sudlaliin bie daalt
 
Album Artwork
Album ArtworkAlbum Artwork
Album Artwork
 
Раздел 4. Последствия грехопадения
Раздел 4. Последствия грехопаденияРаздел 4. Последствия грехопадения
Раздел 4. Последствия грехопадения
 
Κι ίσια-ίσια ένα πουλί είχε καθίσει στο πλατάνι της αυλής του σχολείου και κε...
Κι ίσια-ίσια ένα πουλί είχε καθίσει στο πλατάνι της αυλής του σχολείου και κε...Κι ίσια-ίσια ένα πουλί είχε καθίσει στο πλατάνι της αυλής του σχολείου και κε...
Κι ίσια-ίσια ένα πουλί είχε καθίσει στο πλατάνι της αυλής του σχολείου και κε...
 
Instagram
InstagramInstagram
Instagram
 
소셜 커머스 이형진
소셜 커머스 이형진소셜 커머스 이형진
소셜 커머스 이형진
 
Foundatio n of knowledge!
Foundatio n of knowledge!Foundatio n of knowledge!
Foundatio n of knowledge!
 
Раздел 1. Корень греха
Раздел 1. Корень грехаРаздел 1. Корень греха
Раздел 1. Корень греха
 
παιχνίδια από το παρελθόν στο σήμερα
παιχνίδια από το παρελθόν στο σήμεραπαιχνίδια από το παρελθόν στο σήμερα
παιχνίδια από το παρελθόν στο σήμερα
 
Apartato respiratorio grupo 3
Apartato respiratorio grupo 3Apartato respiratorio grupo 3
Apartato respiratorio grupo 3
 
Trening pryamaya-rech-31mar2012-evgeny_akulich
Trening  pryamaya-rech-31mar2012-evgeny_akulichTrening  pryamaya-rech-31mar2012-evgeny_akulich
Trening pryamaya-rech-31mar2012-evgeny_akulich
 
Раздел 3. Сила любви, сила Принципа и Божья заповедь
Раздел 3. Сила любви, сила Принципа и Божья заповедьРаздел 3. Сила любви, сила Принципа и Божья заповедь
Раздел 3. Сила любви, сила Принципа и Божья заповедь
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Mobile market trend
Mobile market trendMobile market trend
Mobile market trend
 
Раздел 2. Мотивация и процесс грехопадения
Раздел 2. Мотивация и процесс грехопаденияРаздел 2. Мотивация и процесс грехопадения
Раздел 2. Мотивация и процесс грехопадения
 
One to-One Dynamics
One to-One DynamicsOne to-One Dynamics
One to-One Dynamics
 
What does the future of technology hold
What does the future of technology holdWhat does the future of technology hold
What does the future of technology hold
 
Mongols Children Book
Mongols Children BookMongols Children Book
Mongols Children Book
 
Portfolio sandy martin
Portfolio sandy martinPortfolio sandy martin
Portfolio sandy martin
 

Semelhante a ชีพจร

การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
techno UCH
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษา
Kasipat_Nalinthom
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษา
Kasipat_Nalinthom
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษา
Kasipat_Nalinthom
 
โรคหัวใจ
โรคหัวใจโรคหัวใจ
โรคหัวใจ
taetong
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
Loveis1able Khumpuangdee
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
 
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร  ชินโพธิ์คลังสุภาพร  ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
supaporn90
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
taem
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
taem
 

Semelhante a ชีพจร (20)

การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
Ihd
IhdIhd
Ihd
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษา
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษา
 
งานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษางานวิชาสุขศึกษา
งานวิชาสุขศึกษา
 
Con22
Con22Con22
Con22
 
Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
โรคหัวใจ
โรคหัวใจโรคหัวใจ
โรคหัวใจ
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร  ชินโพธิ์คลังสุภาพร  ชินโพธิ์คลัง
สุภาพร ชินโพธิ์คลัง
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 

ชีพจร

  • 1. ชีพจร ชีพจรเป็ นแรงสะเทือนของกระแสเลือด ซึงเกิดจากการบีบตัวของหัวใจห้องล่างด้านซ้าย ทําให้ผนัง ของหลอดเลือดแดงขยายออกเป็ นจังหวะ เป็ นผลให้สามารถจับชีพจรได้ตลอดเวลา ปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อชีพจร - อายุ เมืออายุเพิ มขึนอัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง ในผูใหญ่อตราการเต้นของชีพจร 60-100 (เฉลีย ้ ั 80 b/m) - เพศ หลังวัยรุ่ น ค่าเฉลียของอัตราการเต้นของชีพจรของผูชายจะตํากว่าหญิงเล็กน้อย ้ - การออกกําลังกาย อัตราการเต้นของชีพจรจะเพิ มขึนเมือออกกําลังกาย - ไข้ อัตราการเต้นของชีพจรเพิ มขึน เพือปรับตัวให้เข้ากับความดันเลือดทีตําลง ซึงเป็ นผลมาจากเส้น เลือดส่วนปลายขยายตัวทําให้อุณหภูมิร่างกายสูงขึน (เพิ ม metabolic rate) - ยา ยาบางชนิด ลดอัตราการเต้นของชีพจร เช่น ยาโรคหัวใจ เช่น digitalis ลดอัตราการเต้นของชีพจร (กระตุน parasympathetic) ้ - Hemorrhage การสูญเสียเลือดจะมีผลทําให้เพิ มการกระตุนระบบประสาทซิมพาธิติค ทําให้อตราการ ้ ั เต้นของชีพจรสูงขึน, ในผูใหญ่มีเลือดประมาณ 5 ลิตร การสูญเสียเลือดไป <10% จึงจะปราศจากผลข้างเคียง ้ - ความเครียด เมือเครี ยดจะกระตุน sympathetic nervous เพิ ม การเต้นของชีพจร ความกลัว, ความวิตก ้ กังวล และอาการเจ็บปวด กระตุนระบบประสาทซิมพาธิติค ้ - ท่ าทาง เมืออยูในท่ายืนหรื อนังชีพจรจะเต้นเพิ มขึน (เร็ วขึน) ท่านอนชีพจรจะลดลง (ช้า) ่ กลไกการควบคุมชีพจร อัตราการเต้นของชีพจรขึนอยูกบระบบประสาทอัตโนมัติ 2 ส่วน คือ ่ ั 1. parasympathetic nervous system ถูกกระตุน อัตราการเต้นของชีพจรลดลง ้ 2. sympathetic nervous system ถูกกระตุน เพิ มอัตราการเต้นของชีพจร ้ สิ งทีต้องสังเกตในการจับชีพจร 1. อัตราการเต้นของชีพจร จํานวนครังของความรู้สึกทีได้จากคลืนบนเส้นเลือดแดงกระทบนิ วหรื อการฟัง ที apex ของหัวใจในเวลา 1 นาที หน่วยเป็ นครังต่อวินาที (bpm) 1.1 อัตราการเต้นของชีพจรปกติอยูในช่วง ่ ทารกแรกเกิด ถึง 1 เดือน ประมาณ 120-160 bpm 1-12 เดือน ประมาณ 80 – 140 bpm 12-2 ปี ประมาณ 80 – 130 bpm
  • 2. 2 – 6 ปี ประมาณ 75 – 120 bpm 6 – 12 ปี ประมาณ 75 – 110 bpm วัยรุ่ น-วัยผูใหญ่ ้ ประมาณ 60 – 100 bpm 1.2 ภาวะอัตราการเต้นของชีพจรผิดปกติ Tachycardia: ภาวะทีอัตราการเต้นของหัวใจในผูใหญ่มากกว่า 100 b/m ้ Bradycardia: ภาวะทีอัตราการเต้นของหัวใจในผูใหญ่นอยกว่า 60 b/m ้ ้ 2. จังหวะชีพจร (pulse rhythm) จังหวะและช่วงพักของชีพจร ชีพจรจะเต้นเป็ นจังหวะ และมีช่วงพักระหว่างจังหวะ 2.1 จังหวะของชีพจรปกติ จะมีช่วงพักระหว่างจังหวะ เท่ากัน เรี ยกว่า ชีพจรสมําเสมอ (pulse regularis) 2.2 จังหวะของชีพจรผิดปกติ (dysrhythmias , arrhythmia, irregular) ชีพจรทีเต้นไม่เป็ นจังหวะแต่ละช่วงพักไม่สมําเสมอ เรี ยกว่า ชีพจรไม่สมําเสมอ หรื ออาจจะมีจงหวะการเต้น ั สมําเสมอสลับกับไม่สมําเสมอ ถ้าพบว่า Pt มีจงหวะของชีพจรไม่ สมําเสมอ ั ประเมิน apical pulse 1 นาที ประเมิน apical - radial pulse เพือประเมินชีพจรทีผิดปกติ electrocardiogram (EKG) 3. ปริ มาตรแรงชีพจร (Pulse volume) ขึนอยูกบความแรงของเลือดในการกระทบ ชีพจรปกติรู้สึกได้ดวยการกดนิ วลงตรงบริ เวณทีจะวัดด้วยแรง ่ ั ้ พอประมาณแต่ถา กดแรงมากเกินไปจะไม่ได้รับความรู้สึก ถ้าแรงดันเลือดดี ชีพจรจะแรง แรงดันเลือดอ่อน ้ ชีพจรจะเบา ปริ มาตรของชีพจร วัดเป็ นระดับ 0 ถึง 4 ระดับ 0 ไม่มีชีพจร คลําชีพจรไม่ได้ ระดับ 1 (thready) คลําชีพจรยาก ระดับ 2 weak ชีพจรแรงกว่า threedy pulse คลําชีพจรยาก ระดับ 3 ปกติ ระดับ 4 bounding pulse ชีพจรเต้นแรง หรื ออาจมี 0 ถึง 3 scale
  • 3. ความยืดหยุ่นของผนังของหลอดเลือด ปกติผนังหลอดเลือดจะตรงและเรี ยบมีความยืดหยุนดี ในผูสูงอายุผนังหลอดเลือดแดงมีความ ยืดหยุนน้อย ่ ้ ่ ขรุ ขระ และไม่สมําเสมอ วิธีประเมินชีพจร peripheral - ใช้นิ วชี กลาง นาง วางตรงตําแหน่งเส้นเลือดแดง กดแรงพอประมาณ ให้ความรู้สึกของการขยายและ หดตัวของผนังหลอดเลือดได้ ไม่ใช้นิ วหัวแม่มือสัมผัส เพราะ หลอดเลือดทีนิ วหัวแม่มือเต้นแรง อาจทําให้ สับสนกับชีพจรของตนเองได้ apical - ฟังด้วยหูฟัง (stethoscope) - ใช้ doppler ultrasound - electrocardiogram (EKG) ตําแหน่งชีพจร 1. peripheral 1.1 Temporal เส้นเลือดเท็มพอรัสทอดผ่านเหนือกระดูก เท็มพอรัลของศีรษะ 1.2 Carotid อยูดานข้างของคอ คลําได้ชดเจนจุดบริ เวณมุมขากรรไกรล่าง ่ ้ ั 1.3 Brachial อยูดานในของกล้ามเนือ biceps ของแขน ่ ้ 1.4 Radial อยูขอมือด้านในบริ เวณกระดูกปลายแขนด้านนอกหรื อด้านหัวแม่มือ เป็ นตําแหน่งที ่ ้ นิยมจับชีพจรมากทีสุด เพราะเป็ นทีทีจับได้ง่ายและไม่รบกวนผูป่วย ้ 1.5 Femoral อยูบริ เวณขาหนีบ ่ 1.6 Popliteal อยูบริ เวณข้อพับเข่า อยูตรงกลางข้อพับเข่า, หาค่อนข้างยาก แต่ถางอเข่าก็สามารถคลํา ่ ่ ้ ได้ง่ายขึน 1.7 Posterior tibial อยูบริ เวณหลังปุ่ มกระดูกข้อเท้าด้านใน ่ 1.8 Dorsalis pedis อยูบริ เวณหลังเท้าให้ดูตามแนวกลางตังแต่หวเข่าลงไป ชีพจรทีจับได้จะอยูกลาง ่ ั ่ หลังเท้าระหว่างนิ วหัวแม่เท้ากับนิ วชี 2. Apical pulse ฟังทียอดหัวใจ (Apex) ในผูใหญ่จะอยูที 5th intercostal space, left mid clavicular line ้ ่
  • 4. ข้อควรจําในการวัดชีพจร 1. ไม่ใช้นิ วหัวแม่มือคลําชีพจร เพราะหลอดเลือดทีนิ วหัวแม่มือเต้นแรงอาจทําให้สบสนกับชีพจรของ ั ตนเอง 2. ไม่ควรวัดชีพจรหลังผูป่วยมีกิจกรรม ควรให้พก 5-10 นาที ้ ั 3. อธิบายผูป่วยว่าไม่ควรพูดขณะวัดชีพจร เพราะจะรบกวนการได้ยนเสียงชีพจรและอาจทําให้สบสน ้ ิ ั
  • 5. ภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น ภาวะหยุดหายใจ (respiratory arrest) และภาวะหัวใจหยุดเต้น (cardiac arrest) - เป็ นภาวะทีมีการหยุด การทํางานของอวัยวะในระบบทางเดินหายใจและการไหลเวียน เลือด ส่วนมากมักจะพบว่ามีการหยุดหายใจ ก่อนเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น และ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือทีถูกต้อง จะทําให้เสียชีวิตได้ สาเหตุของการหยุดหายใจ - ทางเดินหายใจอุดตันจากสาเหตุต่างๆ เช่น จากสิ งแปลกปลอมอุดกันทางเดินหายใจ การแขวนคอ การถูกบีบรัดคอ การรัดคอ เป็ นต้น ในเด็กเล็กสาเหตุจากการหยุดหายใจทีพบได้มากทีสุดคือ การสําลักสิ ง แปลกปลอมเข้าหลอดลม เช่น ของเล่นชิ นเล็ก ๆ เมล็ดถัว เป็ นต้น - มีการสูดดมสารพิษ แก็สพิษ ควันพิษ - การถูกกระแสไฟฟ้ าแรงสูงดูด - การจมนํา - การบาดเจ็บทีทรวงอก ทําให้ทางเดินหายใจได้รับอันตรายและเนือเยือได้รับบาดเจ็บ - โรคระบบประสาท เช่น บาดทะยัก ไขสันหลังอักเสบ ทําให้กล้ามเนือหายใจเป็ นอัมพาต - การได้รับสารพิษจากแมลงสัตว์กดต่อย เช่น ผึง ต่อ แตน ต่อยบริ เวณคอ หน้า ทําให้มีการบวมของ ั เนือเยือของทางเดินหายใจและหลอดลมมีการหดเกร็ ง - การได้รับยากดศูนย์ควบคุมการหายใจ เช่น มอร์ฟีน ฝิ น โคเคน บาร์บิทเู รต ฯลฯ - โรคหัวใจ เช่น กล้ามเนือหัวใจขาดเลือดไปเลียงอย่างเฉียบพลัน - มีการติดเชือของระบบทางเดินหายใจ และมีภาวะหายใจวายจากสาเหตุต่างๆ สาเหตุของหัวใจหยุดเต้น - หัวใจวายจากโรคหัวใจ จากการออกกําลังกายมากเกินปกติ หรื อตกใจหรื อเสียใจกระทันหัน - มีภาวะช็อคเกิดขึนอย่างเฉียบพลัน จากการสูญเสียเลือดมาก ทําให้กล้ามเนือหัวใจขาดเลือด หรื อมี เลือดมาเลียงไม่เพียงพอ - ทางเดินหายใจอุดกัน ทําให้กล้ามเนือหัวใจได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ - การได้รับยาเกินขนาดหรื อการแพ้ ข้ อบ่งชีในการปฏิบัตการช่ วยฟื นคืนชีพ ิ 1.ผู้ ทีมีภาวะหยุดหายใจ โดยทีหัวใจยังคงเต้นอยูประมาณ 2-3 นาที ให้ผายปอดทันที จะช่วยป้ องกัน ่ ภาวะหัวใจหยุดเต้นได้ และช่วยป้ องกันการเกิดภาวะเนือเยือสมองขาดออกซิเจนอย่างถาวร
  • 6. 2.ผู้ ทีมีภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้นพร้อมกัน ซึงเรี ยกว่า clinical death การช่วยฟื นคืนชีพทันทีจะ ช่วยป้ องกันการเกิด biological death คือ เนือเยือโดยเฉพาะเนือเยือสมองขาดออกซิเจน ระยะ เวลาของการ เกิด biological death หลังจาก clinical death ยังไม่มีใครทราบแน่ชด แต่โดยทัวไป มักจะเกิดช่วง 4-6 นาที ั หลังเกิด clinical death ดังนันการปฏิบติการช่วยฟื นคืนชีพจึงควรทําภายใน 4 นาที ั ขันตอนการช่ วยฟื นคืนชีพขันพืนฐาน (CPR) หมายถึง การปฏิบติเพือช่วยชีวิตคนหัวใจหยุดเต้นหรื อ คนทีหยุดหายใจอย่างกะทันหันโดยไม่ตอง ั ้ ใช้เครื องมือทางการแพทย์แต่อย่างไร แต่เพียงใช้แรงมือกดทีหน้าอก และเป่ าลมเข้าปากผูป่วย ก็สามารถ ้ ทําให้หวใจทีหยุดเต้น สามารถกลับมาเต้นใหม่ได้ เลือดไปเลียงสมองได้ ทําให้เราสามารถช่วยชีวิตคนทีเรา ั รักหรื อคนทีเราพบเห็นได้ 1. ตรวจดูระดับความรู้สึกตัว ให้เรี ยกหรื อเขย่าตัวผูป่วย ขอความช่วยเหลือจากหน่วยแพทย์ฉุกเฉินโทร.1669 ้ 2. จัดให้ ผ้ป่วยนอนหงาย คุกเข่าข้างตัวผูป่วยใช้มือหนึงประคองศีรษะ อีกมือหนึงอ้อมรักแร้มาทีไหล่ พลิก ู ้ ผูป่วยนอนหงาย ้ 3. เปิ ดทางเดินหายใจ ใช้มือกดหน้าผาก อีกมือหนึงดันคางให้หน้าแหงนขึน ถ้ามีสิ งขัดขวางทางเดินหายใจ เช่น เศษอาหาร หรื อ สิ งแปลกปลอมอยูในปากให้ใช้มือล้วงออกเพือทําให้ทางเดินหายใจโล่ง ่
  • 7. 4. ตรวจดูการหายใจ มองไปทางปลายเท้าผูป่วยให้หูชิดกับปากผูป่วย เพือฟังเสียงหายใจ แก้มสัมผัสลม ้ ้ หายใจ ตาดูการเคลือนไหวของทรวงอก ประเมินว่า ผูป่วยหายใจได้เองหรื อเปล่า ถ้าผูป่วยหายใจเองได้จดให้ ้ ้ ั นอนตะแคงกึงควําเพือพัก 5. ช่ วยหายใจด้ วยการเป่ าปาก ถ้าผูป่วยไม่หายใจให้เป่ าปาก โดยใช้นิ วหัวแม่มือและนิ วชีของมือทีอยูเ่ หนือ ้ ศีรษะ บีบจมูกให้แน่น ฝ่ ามือกดหน้าผากให้หน้าแหงนขึน นิ วชีและนิ วกลางของมืออีกข้างเชยคางผูป่วยขึน้ ผูช่วยเหลือสูดหายใจเข้าเต็มทีประกบปากกับผูป่วยให้สนิท แล้วเป่ าลมเข้าปากผูป่วยช้าๆ แต่แรง ประมาณ ้ ้ ้ 10-12 ครังใน 1 นาที สังเกตดูว่าขณะทีเป่ าลมเข้า หน้าอกของผูป่วยจะกระเพือมขึน ้ 6. ตรวจชีพจรในเวลา 5-10 นาที วางนิ วชีและนิ วกลางบนหลอดลมของผูป่วยแล้วเลือนลงไปด้านข้าง ้ ระหว่างหลอดลมกับกล้ามเนือคอ คลําการเต้นของชีพจรเส้นเลือดใหญ่ทีคอ พร้อมสังเกตการหายใจของ ผูป่วย ้
  • 8. - ถ้าคลําชีพจรได้ แต่ไม่หายใจ ให้ช่วยหายใจด้วยการเป่ าปากทุก 5 วินาที โดยนับหนึง...และสอง... และสาม...และสี...และห้า... เป่ าปาก 1 ครัง (10-20 ครัง ใน 1 นาที) - ถ้าคลําชีพจรไม่ได้หรื อหัวใจหยุดเต้น ให้ช่วยกดหน้าอก 7. การกดหน้ าอก คุกเข่าข้างตัวผูป่วย วางนิ วชีและนิ วกลาง(มือขวา) บริ เวณปลายกระดูกหน้าอก วางฝ่ ามือ ้ ซ้ายต่อจากนิ วชีบนกระดูกหน้าอก เอามือขวาทับมือซ้าย วิธีกดหน้ าอก ผูช่วยเหลือเหยียดแขนตรง โน้มตัวตังฉากกับหน้าอก ทิ งนําหนักลงบนแขนออกแรงกดทีฝ่ ามือให้ ้ หน้าอกยุบลงประมาณ 1.5-2 นิ ว กดหน้าอกสมําเสมอ 15 ครัง ใน 10 วินาที โดยนับหนึง...และสอง...และสาม ...และสี...จนครบ 15 ครัง สลับกับเป่ าปาก 2 ครัง นับเป็ น 1 รอบ ทํา 4 รอบใน 1 นาที (อัตราประมาณ 80 ครัง ใน 1 นาที) สําหรับผูช่วยเหลือ 2 คน คนหนึงกดหน้าอก 5 ครัง สลับกับคนทีสองเป่ าปาก 1 ครัง (อัตราประมาณ 60 ้ ครังใน 1 นาที)
  • 9. 8. ตรวจชีพจรและหายใจซํา ทุก 3-4 นาที และให้การช่วยเหลือ ถ้ าไม่มชีพจรและไม่หายใจ ี - ผูช่วยเหลือ 1 คน กดหน้าอก 15 ครัง ้ รอจนกว่ามีคนมาช่วยหรื อหน่วยแพทย์ เป่ าปาก 2 ครัง ทํา 4 รอบ ใน 1 นาที ฉุกเฉินมาถึง - ผูช่วยเหลือ 2 คน กดหน้าอก 5 ครัง ้ เป่ าปาก 1 ครัง - ตรวจชีพจรและการหายใจซําทุก 3-4 นาที ถ้ ามีชีพจรและไม่หายใจ - ช่วยเป่ าปาก 15 ครัง ใน 1 นาที รอจนกว่ามีคนมาช่วยหรื อหน่วยแพทย์ - ตรวจชีพจรและการหายใจซําทุก ฉุกเฉินมาถึง 3-4 นาที ถ้ ามีชีพจรและหายใจได้ เอง - เฝ้ าดูอาการอย่างใกล้ชิด รอจนกว่ามีคนมาช่วยหรื อหน่วยแพทย์ - ตรวจชีพจรและการหายใจซําทุก ฉุกเฉินมาถึง 3-4 นาที ผู้ป่วยกระดูกหัก กระดูกหัก (fracture) หมายความถึงกระดูกแยกออกจากกัน ก่อให้เกิดความเจ็บปวด บวม เคลือนไหว ไม่ได้หรื อเคลือนไหวผิดปกติ เนืองจากอุบติเหตุ เช่น ถูกรถชน หกล้ม ตกจากทีสูง หรื อกระดูกเป็ นโรคไม่ ั แข็งแรงอยูแล้ว กระดูกเปราะเมือถูกแรงกระทบกระเทือนเพียงเล็กน้อยก็อาจหักได้ ่ ประเภทของกระดูกหัก ๑. กระดูกหักแบบสามัญ (simple fracture) หมายถึง กระดูกหักแล้วไม่ปรากฏแผลให้เห็นบนผิวหนัง ๒. กระดูกหักแผลเปิ ด (compound fracture) หมายถึง กระดูกทีหักทิ มแทงผิวหนังออกมาภายนอก ๓. กระดูกหักแตกย่อย (comminuted fracture) หมายถึง ชิ นส่วนของกระดูกทีหักปรากฏออกมา มากกว่า ๒ ชิ นขึนไป
  • 10. อาการของกระดูกหัก มีดงนีั ๑. มีความเจ็บปวดบริ เวณทีมีกระดูกหัก ๒. มีอาการบวมรอบๆ บริ เวณทีกระดูกหัก ๓. รู ปร่ างของแขนขาหรื อหัวไหล่อาจเปลียนแปลงไปจากรู ปร่ างปกติ ๔. บริ เวณนันเคลือนไหวไม่ได้ หรื อเคลือนไหวแล้วจะเจ็บปวดมาก ๕. อาจได้ยนเสียงกระดูกหักเมือประสบอุบติเหตุบาดเจ็บ ิ ั ๖. หากกดเบาๆ ลงบนกระดูกบริ เวณทีหัก อาจได้ยนเสียงกรอบแกรบ ิ การปฐมพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก วิธีปฏิบติ ั การปฐมพยาบาลทีดีทีสุด คือ ให้ผป่วยนอนอยูกบทีห้ามเคลือนย้ายโดยไม่จาเป็ น เพราะหากทําผิดวิธี ู้ ่ ั ํ อาจบาดเจ็บมากขึน ถ้าผูป่วยมีเลือดออกให้หามเลือดไว้ก่อน หากมีอาการช็อกให้รักษาช็อกไปก่อน ถ้า ้ ้ จําเป็ นต้องเคลือนย้ายผูป่วย ้ ให้เข้าเฝื อกชัวคราว ณ ทีผูป่วยนอนอยู่ ถ้าบาดแผลเปิ ด ให้หามเลือดและปิ ดแผลไว้ชวคราวก่อนเข้าเฝื อก สิ งที ้ ้ ั ควรระวังมากทีสุดคือกระดูกสันหลังหักหรื อกระดูกต้นคอหัก ถ้าเคลือนย้ายผิดวิธี อาจทําให้ผป่วยพิการ ู้ ตลอดชีวิต หรื อถึงแก่ชีวิตได้ทนทีขณะเคลือนย้าย ั การเข้าเฝื อกชัวคราว เป็ นวิธีการบังคับให้กระดูกส่วนทีหักได้อยูนิ งไม่เคลือนไหว เพือลดความ ่ เจ็บปวดและป้ องกันมิให้เกิดความพิการเพิ มขึน มีหลักอยูว่าหากหาสิ งทีใกล้มือเพือเข้าเฝื อกไม่ได้ ให้มดส่วน ่ ั ทีกระดูกหักไว้ ไม่ให้เคลือนไหว เช่นกระดูกขาข้างหนึงหัก ก็ให้มดขาข้างทีหักให้ชิดแน่นกับขาข้างดี หาก ั กระดูกแขนหัก หรื อกระดูกไหปลาร้าหักก็มดแขนข้างนันให้อยูแน่นติดกับลําตัว เรี ยกว่า "เข้าเฝื อก ั ่ ธรรมชาติ" สิ งทีอยูใกล้มือพอให้เป็ นเฝื อกได้คือ แผ่นกระดานท่อนไม้ กิ งไม้ ไม้บรรทัด หมอน ผ้าห่ม ผ้าขาวม้า ่ ด้ามร่ ม ม้วนกระดาษหนังสือพิมพ์ ใช้ได้ดีคือแผ่นไม้ ทีเหมาะควรยาวเกินกว่าข้อต่อ (joints) ซึงอยูส่วนบน ่ และส่วนล่างของกระดูกทีหักและควรมีสิ งนุ่มๆ รองรับผิวหนังของอวัยวะส่วนนันอยูเ่ สมอควรใช้ไม้ ๒ แผ่น ขนาบสองข้างของส่วนทีหักแล้วมัดด้วยผ้าหรื อเชือกให้แน่นพอควร หากไม่แน่ใจว่ากระดูกหักจริ งหรื อไม่ ให้ปฏิบติตามวิธีกระดูกหักไว้ก่อนเพือความปลอดภัย ั
  • 11. กระดูกสันหลังหัก สมอง ไขสันหลัง และส่วนต้นๆ ของเส้นประสาทใหญ่ๆ อยูภายในกะโหลกศีรษะและกระดูกสันหลัง ่ เมือได้รับบาดเจ็บอย่างหนึงอย่างใดต่อกะโหลกศีรษะ และกระดูกสันหลัง ย่อมกระทบกระเทือนต่อสมอง และไขสันหลังไปด้วย อาการ เมือกระดูกสันหลังหัก หรื อแม้แต่ขอต่อกระดูกสันหลังเคลือน ไขสันหลังจะถูกกดหรื อถูกตัดขาด เป็ น ้ ผลทําให้เกิดอัมพาตและหมดความรู้สึกของเส้นประสาทต่างๆ ทีอยูตากว่าระดับไขสันหลังทีได้รับอันตราย ่ ํ ลงมา ถ้ากระดูกสันหลังหักทีคอ แขนและขาของผูป่วยจะเป็ นอัมพาตและหมดความรู้สึก ชาไปทังตัว ยกเว้น ้ ศีรษะเท่านัน ผูป่วยอาจหยุดหายใจ เพราะกล้ามเนือทรวงอกและกะบังลมหยุดทํางานเพราะเป็ นอัมพาต ถ้า ้ กระดูกสันหลังหักทีหลัง ขาทังสองข้างของผูป่วยจะชาและเป็ นอัมพาต ้
  • 12. การช่ วยเหลือผู้ป่วยกระดูกสันหลังหักทีคอ ให้ผป่วยนอนรอบโดยมีศีรษะอยูนิ งและจัดให้เป็ นแนวตรงกับลําตัวโดยใช้หมอน หรื อของแข็งๆ ู้ ่ ขนาบศีรษะข้างหูทงสองด้าน ถ้าผูป่วยประสบเหตุขณะขับรถยนต์อยู่ ก่อนเคลือนย้ายผูป่วยทีกระดูกสันหลัง ั ้ ้ ส่วนคอหักออกจากทีนังในรถ ผูช่วยเหลือควรให้ผป่วยนังพิงแผ่นไม้กระดานทีมีระดับสูงจากสะโพกขึนไป ้ ู้ จนเหนือศีรษะ ใช้เชือก หรื อผ้ามัดศีรษะและลําตัวของผูป่วยให้ติดแน่นกับแผ่นไม้ไม่ให้ขยับเขยือน เป็ น ้ เปลาะๆ แล้วจึงเคลือนย้ายผูป่วยออกมา ้ ถ้าผูป่วยหยุดหายใจ ผูช่วยเหลือควรรี บผายปอดด้วยวิธีเป่ าลมเข้าปาก หากต้องเคลือนย้ายผูป่วย เช่น ้ ้ ้ นําส่งโรงพยาบาลควรหาผูช่วยเหลืออย่างน้อย ๔ คน ให้ผช่วยเหลือยกผูป่วยขึนจากพืนพร้อมๆ กัน ให้ศีรษะ ้ ู้ ้ และลําตัวเป็ นแนวตรง ไม่ให้คองอเป็ นอันขาด แล้วจึงวางผูป่วยลงบนแผ่นกระดาน หรื อเปลพยาบาลต่อไป ้ การช่ วยเหลือผู้ป่วยกระดูกสันหลังหักทีหลัง ให้ผป่วยนอนราบอยูบนพืน ไม่ให้เคลือนไหว หาผูช่วยเหลือ ๓-๔ คน และแผ่นกระดานขนาดยาวเท่า ู้ ่ ้ ผูป่วย เช่น บานประตู หรื อเปลพยาบาล ค่อยๆ เคลือนตัวผูป่วยในท่าแนวตรงทังศีรษะและลําตัว ไม่ให้หลังงอ ้ ้ เป็ นอันขาด วางผูป่วยลงบนไม้กระดานหรื อบนเปลพยาบาล ใช้ผารัดตัวผูป่วยให้ติดกับแผ่นกระดานเป็ น ้ ้ ้ เปลาะๆ ไม่ให้เคลือนไปมาแล้วจึงนําส่งแพทย์
  • 13. การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บ การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บ การ ปฐมพยาบาล คือ การช่วยเหลือขันต้นแก่ผบาดเจ็บจากอุบติเหตุหรื อการล้มป่ วยอย่างกะทันหัน ปัจจุบน ู้ ั ั ทันด่วน โดยการใช้สิ งต่างๆเท่าทีจะหาได้ในขณะนันเพือให้ผบาดเจ็บรอดชีวิตอยู่ ได้ หรื อยังมีอาการเดิมไม่ ู้ ทรุ ดลงหรื อหายป่ วยหรื อทุเลาได้เร็ วขึน แล้วรี บนําส่งสถานพยาบาลทีมีอุปกรณ์ เครื องมือและบุคลากรที สามารถให้การรักษาทีดีต่อไป ความรู้เรื องการปฐมพยาบาลจึงเป็ นสิ งทีสําคัญทีทุกคนจําเป็ นต้องรู้เพือนํา ไป ช่วยเหลือผูอืนได้อย่างถูกต้อง เพือประโยชน์ดงทีกล่าวไปแล้ว ้ ั หลักในการปฐมพยาบาล เนือง จากอุบติเหตุมกทําให้เกิดการบาดเจ็บได้ในหลายอวัยวะ ซึงมีความรุ นแรงและอันตรายต่างกัน หัวใจ ั ั สําคัญของการปฐมพยาบาลคือการเรี ยงลําดับความสําคัญของอวัยวะทีได้รับบาด เจ็บเพือให้การปฐมพยาบาล ในการบาดเจ็บทีรุ นแรงก่อน ดังนี 1. การช่วยเหลือด่วนทีสุด เป็ นการช่วยเหลือเพือให้มีชีวิตรอดหรื อเพือรักษาชีวต ิ - การช่วยหายใจ - การช่วยนวดหัวใจ - การช่วยห้ามเลือดจากบาดแผลภายนอก 2. การช่วยเหลือด่วน เป็ นการช่วยเหลือเพือป้ องกันความพิการต่ออวัยวะต่างๆ ลดความรุ นแรงของการ บาดเจ็บทีเกิดขึน -การปกปิ ดแผลด้วยผ้าสะอาด -การเข้าเฝื อกชัวคราว ( Emergency splints ) -การจัดท่าให้เหมาะสมก่อนเคลือนย้ายผูป่วย้ 3. การช่วยเหลือรอง เป็ นการเคลือนย้ายผูบาดเจ็บส่งสถานพยาบาลและการแจ้งข่าว ้ ข้อควรปฏิบติสาหรับผูปฐมพยาบาล ั ํ ้ 1. ต้องควบคุมสติอารมณ์ให้สงบ 2. ต้องให้กาลังใจแก่ผบาดเจ็บทีรู้สึกตัวอยู่ ํ ู้ 3. ต้องตรวจตราสิ งต่างๆต่อไปนี - ความปลอดภัยของผูบาดเจ็บและการเข้าไปช่วยเหลือ ้ - การหายใจ การตกเลือดและระดับความรู้สติของผูบาดเจ็บ ้ 4. ต้องขอความช่วยเหลือต่างๆ การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บทีช็อก ผูบาดเจ็บทีช็อกเกิดได้หลายสาเหตุแต่ส่วนใหญ่มกเกิดจากการเสียเลือด การปฐมพยาบาลควรทําดังนี ้ ั
  • 14. 1. ห้ามเลือดจากบาดแผลภายนอก 2. จัดท่าให้ผบาดเจ็บนอนราบ หัวตํา ยกขาขึนสูงกว่าลําตัว ู้ 3. รี บนําผูบาดเจ็บส่งโรงพยาบาลให้เร็ วทีสุด ้ การปฐมพยาบาลบาดแผลภายนอก บาดแผลภายนอก จะเห็นได้ชด การปฐมพยาบาลจะไม่ยงยากมากนัก โดยมีจุดประสงค์ ดังนี ั ุ่ 1. เพือทําให้บาดแผลสะอาด โดยการล้างด้วยนําสะอาดจํานวนมากๆแล้วใช้ผาสะอาดปิ ดและพันไว้ ้ 2. เพือห้ามเลือด ซึงมี 3 วิธีง่ายๆดังนี -การพันผ้าให้แน่น จะใช้ได้ดีถาเลือดทีออกมาจากหลอดเลือดดํา ้ -การใช้ผาสะอาดวางบนแผลและใช้ฝ่ามือหรื อนิ วกดไว้ จะใช้ได้ดีถาเลือดทีออกจากเส้นเลือด แดง ้ ้ -การ ขันชะเนาะ การใช้เชือกหรื อผ้ารัดบริ เวณเหนือต่อบาดแผลแล้วขันให้แน่นพอทีทําให้ เลือดหยุดไหลได้ แต่ไม่ควรแน่นมาก เพราะอาจทําให้เส้นประสาทถูกทําลายได้ และควร คลายทุกๆ 30 นาทีเพือป้ องกันการ ขาดเลือดไปเลียง การดูแลรักษาบาดแผลภายนอก 1.ล้างแผลให้สะอาดด้วยนําเกลือล้างแผล ( Irrigation ) 2.ห้ามเลือดทีบาดแผล ( Stop bleeding ) 3.การตกแต่งบาดแผล ( Debridement ) -ตัดเอาเนือทีตายและชอกชํามาก ๆ ออก -ตัดเอาเนือทีแม้ยงไม่ตายแต่เลือดไปเลียงไม่เพียงพอ และคิดว่าถ้าปล่อยเอาไว้คงจะตายออก ั -ตัดเนือทีมีสิ งสกปรกติดอยูมาก ไม่สามารถจะเอาสิ งสกปรกออกได้โดยวิธีอืนออก ่ -ขอบแผลทีกระรุ่ งกระริ งเมือเย็บเข้าหากันแล้วจะมีแผลเป็ นทีน่าเกลียด ควรเจียนให้เรี ยบ -ขอบแผลชอกชํา ถ้าเย็บเข้าหากันจะติดได้ไม่ดี ควรตัดออก 4.การซ่อมแซมส่วนทีฉีกขาด -ผิวหนัง (Skin ) การตัดตกแต่งต้องดูบริ เวณทีเป็ นบาดแผลด้วย ไม่ตดออกมากเกินไปจน เย็บไม่ได้หรื อเย็บ ั แล้วตึงเกินไป -ไขมัน( Fat ) สามารถตัดออกได้แต่ตองระวังเลือดออกเพราะมักจะออกได้มากและนาน ้ -พังผืด ( Fascia ) ไม่ควรตัดออกมากเกินความจําเป็ น -กล้ามเนือ (Muscle ) ถ้าตายแล้วต้องตัดทิ งหากไม่ฉีกขาดมากไม่จาเป็ นต้องเย็บ แต่ถาขาด ตามขวางของใย ํ ้ กล้ามเนือควรเย็บเข้าหากัน -เอ็น( Ligament and tendon ) ถ้าขาดบางเส้นใยอาจไม่ตองเย็บซ่อม แต่ถาขาดหมดทัง เส้นต้องเย็บซ่อมโดย ้ ้ หาส่วนต้นทีขาดให้พบและเย็บต่อดังเดิมโดยห้ามตัดออกมาก เกินความ จําเป็ น -เส้นประสาท (Nerve ) ถ้าเป็ นเส้นใหญ่และมีหน้าทีมากถ้าเสียไปจะมีผลเสียต่อการเคลือน ไหวต้องเย็บซ่อม
  • 15. โดยผูชานาญ ้ํ -เส้น เลือด ( Vessels ) ถ้าเป็ นเส้นเล็กอาจผูกเพือห้ามเลือด ถ้าเป็ นเส้นใหญ่และไม่มีแขนง อืนมาร่ วมเลียง เนือเยือบริ เวณนันต้องเย็บซ่อมโดยผูชานาญ้ํ การปฐมพยาบาลบาดแผลไฟไหม้นําร้ อนลวก 1. ล้างด้วยนําสะอาดมากๆและห้ามลอกตุ่มใสออก 2. ใช้ผาชุบนําเย็นประคบหรื อใช้ถุงพลาสติกสะอาดใส่นาแข็งวางตรงบริ เวณบาดแผล เพือลดอาการ ปวด ้ ํ แสบปวดร้อนและลดการอักเสบ ข้อบ่งชีในการรับผูป่วย Burn รักษาในโรงพยาบาล ้ ผูป่วยทีมีบาดแผลไฟไหม้นาร้อนลวกทีจะต้องนอนรักษาในโรงพยาบาล คือผูป่วยทีจัดอยูใน Modurate and ้ ํ ้ ่ Majer Burns ได้แก่ 1.Moderate burns - Second degree burns 15 - 25 % ในผูใหญ่ หรื อ 10 - 20 % ในเด็ก ้ - Third degree burns 2 - 10 % 2.Major burns - Second degree burns มากกว่า 25 % ในผูใหญ่ หรื อ 20 % ในเด็ก ้ - Third degree burns มากกว่า 10 % - แผลไฟไหม้นาร้อนลวกของตา หู หน้า มือ เท้า และบริ เวณหัวหน่าว ํ - ผูป่วยไฟไหม้นาร้อนลวกทีมี Inhalation injury ร่ วมด้วย ้ ํ - ผูป่วยไฟไหม้นาร้อนลวกจาก High - voltage electrical injury ้ ํ - ผูป่วยไฟไหม้นาร้อนลวกทีมีกระดูกหัก หรื อการบาดเจ็บรุ นแรงอย่างอืนร่ วมด้วย ้ ํ - ผูป่วยไฟไหม้นาร้อนลวกทีเป็ น Poor - risk group ้ ํ โดย ทัวไปแล้วการให้สารนําทดแทนทางเส้นเลือดจะเริ มให้ในผูป่วยทีมีแผลไฟไหม้ นําร้อนลวกมากกว่า 15 ้ - 20 % ของผิวหนังทังหมดในผูใหญ่และมากกว่า 10 - 15 % ในเด็ก ้ การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บกระดูกหักและข้อเคลือน การปฐมพยาบาลผูบาดเจ็บกลุ่มนีทีสําคัญคือ การดามส่วนทีได้รับบาดเจ็บโดยใช้ Splint ้ Splint คือ อุปกรณ์ทีวางไว้ดานใดด้านหนึงหรื อหลายด้านของส่วนของร่ างกาย เพือทําหน้าที Immobilization ้ , Protection , Supportive and Correction ต่ออวัยวะส่วนนัน ๆ โดยอาศัยการยึดติดกับอวัยวะนัน ๆ ด้วย Elastic bandage , สายเข็มขัด หรื ออุปกรณ์อืน ๆ Splint สามารถทําได้จากสารหลาย ๆ อย่าง เช่น ไม้ , อลูมิเนียม , เฝื อกปูน หรื อพลาสติกแข็ง Splint ทีดีควรมี คุณสมบัติดงต่อไปนี ั 1.พอเหมาะพอดีกบส่วนทีได้รับอันตราย ั
  • 16. 2.สะอาดและจัดทําได้เร็ ว 3.ปรับง่าย 4.สามารถพยุงส่วนนันได้อย่างเพียงพอและมีประสิทธิภาพ 5.ปรับตามรู ปร่ างของส่วนของร่ างกายได้ง่าย 6.นําหนักเบา 7.ไม่แพง 8.ให้ความพึงพอใจด้านความสวยงามแก่ผป่วย ู้ 9.สะดวกในการใช้ 10.ไม่มีผลกดทับต่อเนือเยืออืน Splint แบ่งตามจุดประสงค์ของการใช้เป็ น 2 กลุ่ม คือ 1. Splint for correction of deformity 2. Splint for immobilization มีจุดประสงค์เพือยึดหรื อดามส่วนของกระดูกทีหัก หรื อข้อทีได้รับ อันตรายหรื อ เนือเยืออืน ๆ ให้อยูกบที แบ่งได้ 2 ชนิด คือ ่ ั 1) Splints for treatment of fractur and soft tissue injury 2) Emergency splints เป็ นการใช้อุปกรณ์ในการดามกระดูก หรื อเนือเยือทีได้รับบาดเจ็บในบริ เวณทีเกิด อุบติเหตุ หรื อระหว่างคอยการรักษาต่อไป มีวตถุประสงค์คือ ั ั -เพือลดอาการเจ็บปวด -เพือลดอันตรายต่อเนือเยืออืน ๆ จากการทิ มแทงของกระดูกทีหัก -เพือป้ องกันการเคลือนทีของกระดูกทีหักเพิ มมากขึน -เพือสะดวกต่อการเคลือนย้ายผูป่วย ้ -เพือป้ องกันการช็อก สําหรับ Emergency splints ทีพอทําได้ในบริ เวณทีเกิดเหตุอาจจะเป็ นไม้กระดาน , คันร่ ม , กระดาษ หนังสือพิมพ์ , ไม้พลอง ,ผ้าพันคอลูกเสือ , ผ้าห่ม , ผ้าถุง และอืน ๆ สุดแต่จะหาได้บริ เวณนันแล้วนํามา ประยุกต์ใช้ การช่วยพืนคืนชีพหรื อปฏิบติการกูชีวต ( Cardiopulmonary resuscitation ) ั ้ ิ ปฏิบติ การกูชีวิต หมายถึง การทําให้ผป่วยทีมีภาวะหัวใจหยุด ( Cardiac arrest ) หรื อการหายใจหยุด ( ั ้ ู้ Respiratory arrest ) เพือให้หวใจกลับเต้นเป็ นปกติหรื อการหายใจกลับมาปกติ ั ภาวะหัวใจหยุด คือ หัวใจหยุดทํางานหรื อทํางานอย่างไม่มประสิทธิภาพ เป็ นเหตุให้ไม่สามารถนําออกซิเจน ี ไปเลียงส่วนต่าง ๆ ของร่ างกายได้ วินิจฉัยจาก -ผูป่วยไม่รู้สึกตัว ้ -คลําชีพจรทีคอหรื อขาหนีบไม่ได้
  • 17. -หายใจหยุดหรื อหายใจเป็ นเฮือก ๆ -ฟังเสียงหัวใจไม่ได้ยน ิ เมือพบผูป่วยไม่รู้สึกตัวหรื อหมดสติ การเข้าไปช่วยเหลือผูป่วยในทีเกิดเหตุควรกระทําดังนี ้ ้ 1.ระวัง อันตรายทีจะเกิดกับผูช่วยเหลือและผูป่วย เช่น ผูป่วยอาจหมดสติจากถูกไฟฟ้ าดูด หรื อก๊าซรั ว ให้ ้ ้ ้ แก้ไขสาเหตุของภยันตรายเสียก่อน เช่น ตัดไฟฟ้ า ปิ ดแก๊ส หรื อนําผู้ ป่ วยออกมาอยูในทีปลอดภัย ่ 2.พยายามปลุกผูป่วยให้รู้สึกตัวด้วยเสียงดัง ๆ และจับเขย่าบริ เวณต้นแขนโดยอย่าลืมว่าอาจมี การบาดเจ็บที ้ คอหรื อทีร่ างกายส่วนบนอยู่ 3.จัด ให้ผป่วยนอนอยูในท่าหมดสติ ( Recovery position ) จากท่านอนหงายเมือตรวจแล้ว พบว่าไม่มีการ ู้ ่ บาดเจ็บอืน ๆ ของร่ างกายให้จดท่าผูป่วยนอนดังนี ั ้ -กางแขนซ้ายออกตังฉากกับลําตัว จับแขนขวาพาดกับหน้าอก -ยกเข่าขวางอตังตรงขึน ขาซ้ายเหยียดตรงตามเดิม ถ้ามีผช่วยเหลืออีกคนให้ช่วยจับศีรษะ เพือจัดให้ทางเดิน ู้ หายใจเปิ ดโล่งไว้ -ผูช่วยเหลือคุกเข่าข้าง ๆ ผูป่วยดันตัวบริ เวณไหล่และสะโพกให้พลิกตะแคงไปทางซ้าย ้ ้ -แขนขวางอทับแขนซ้าย มือขวาอยูบริ เวณข้อศอกซ้าย ่ -ศีรษะจัดอยูในท่าแหงนหน้า โดยการช่วยดึงกระดูกขากรรไกรไปข้างหน้า ถ้าจําเป็ นอาจ จะต้องช่วยประคอง ่ ศีรษะไว้ในอุงมือ ้ -เอียงให้หน้าผูป่วยควําลงเล็กน้อย เพือให้นาลายและเศษอาหารทีอาเจียนไหลออกมา ้ ํ 4.วินิจฉัย ว่าผูป่วยหายใจหรื อหัวใจเต้นหรื อไม่ โดยตรวจง่าย ๆ ด้วยการเอียงหน้ามองไปทีหน้าอก หูและ ้ แก้มชิดกับจมูกและปากผูบาดเจ็บ หูฟังเสียงลมหายใจ ตาดูการเคลือนไหวของทรวงอก แก้มสัมผัสลมหายใจ ้ ออก ถ้าพบว่าผูป่วยมีภาวะหัวใจหยุดหรื อการหายใจหยุดให้ช่วยให้ทาการช่วยฟื นคืน ชีพทันที ้ ํ หลักการเคลือนย้ายผู้บาดเจ็บ 1. ควบคุมสติอารมณ์ให้สงบไม่ตืนเต้นตกใจ 2. ทําการเคลือนย้ายผูบาดเจ็บในกรณี ทีจําเป็ นเท่านัน ้ 3. ปฏิบติอย่างรวดเร็ ว ถูกต้อง ปลอดภัยและมีไหวพริ บ ั 4. ต้องทราบว่าผูบาดเจ็บมีการบาดเจ็บทีอวัยวะใด ้ 5. พิจารณาถึงวิธีการเคลือนย้ายผูบาดเจ็บ ้ 6. จัดหาสถานทีพักรอไว้ในทีปลอดภัยเพือนําส่งแพทย์ 7. จัดนําส่งโรงพยาบาลทีใกล้ทีสุดและเร็ วทีสุด ข้ อควรระวังในการเคลือนย้ายผู้บาดเจ็บ 1. อย่าเคลือนย้ายผูบาดเจ็บในขณะทีกําลังเสียเลือดอยูตองห้ามเลือดก่อน ้ ่ ้
  • 18. 2. อย่าเคลือนย้ายผูบาดเจ็บในขณะทีหายใจไม่ปกติ หายใจขัดหรื อหยุดหายใจต้องช่วยหายใจก่อน ้ 3. เคลือนย้ายผูบาดเจ็บโดยไม่ให้เกิดอันตรายเพิ มขึน ้ 4. นําผูบาดเจ็บส่งแพทย์ทุกราย อย่าคิดว่าไม่เป็ นอะไร ้ 5. ใช้วิธีการเคลือนย้ายทีสะดวก ง่ายและปลอดภัย 6. ขณะเคลือนย้ายต้องดูแลผูบาดเจ็บอย่างใกล้ชิด ถ้าหัวใจหยุดเต้นต้องให้การช่วยเหลือทันที ้ การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บจากอุบัตเิ หตุหมู่ อุบติเหตุ หมู่ หมายถึง อุบติเหตุทีเกิดขึนกับกลุ่มคนหลายๆคนผูบาดเจ็บจะมีระดับความรุ นแรงของ การ ั ั ้ บาดเจ็บต่างๆกันมากบ้างน้อยบ้าง เหตุการณ์มกจะยุงเหยิงชุลมุน การช่วยเหลือผูบาดเจ็บกลุ่มนี มีขนตอนใน ั ่ ้ ั การช่วยเหลือดังนี 1. ช่วยชีวิตผูบาดเจ็บ ้ 2. การนําผูบาดเจ็บออกจากทีเกิดเหตุ ้ 3. ป้ องกันไม่ให้ผบาดเจ็บได้รับอันตรายต่อไปหรื อมากขึนและให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายผูบาดเจ็บ ู้ ้ 4. การแยกผูบาดเจ็บออกจากผูเ้ สียชีวิต ้ 5. กันฝูงชนอย่าให้เข้ามาในทีเกิดเหตุ จนเป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบติงาน ั 6. การเลือกสรรผูบาดเจ็บส่งโรงพยาบาล ้ 7. การส่งข่าวและการหารถลําเลียง การแบ่งกลุ่มผูได้รับอุบติเหตุ ้ ั อุบติเหตุ หมู่ ทําให้มีผได้รับบาดเจ็บหลายคน การให้การช่วยเหลือจะต้องดูความรุ นแรงของการบาดเจ็บเพือ ั ู้ การตัดสินใจให้การ ช่วยเหลือทีถูกต้อง รวดเร็ ว จําเป็ นต้องแบ่งกลุ่มผูป่วยออกเป็ นกลุ่ม ดังนี ้ ประเภทผูป่วย การปฐมพยาบาล เหตุผล ้ 1. กลุ่มบาดเจ็บรุ นแรง ช่วยเหลือด่วนทีสุด เพือรักษาชีวิตไว้/ให้ยงมีชีวิตอยู่ ั 2. กลุ่มบาดเจ็บปานกลาง ช่วยเหลือด่วน เพือป้ องกันไม้ให้ผบาดเจ็บมี อาการทรุ ดลง ู้ 3. กลุ่มบาดเจ็บเล็กน้อย ช่วยเหลือรอง เพือให้หายป่ วยหรื อทุเลาเร็ วขึน 4. กลุ่มผูเ้ สียชีวิตหรื อหมดหวัง ไม่ตองช่วยเหลือ ไม่มีประโยชน์ ้ เมือจัดแบ่งกลุ่มผูป่วยได้แล้วก็ให้การปฐมพยาบาลและรี บนําส่งสถานพยาบาลเพือการรักษาต่อไปตามกลุ่ม ้ ความรุ นแรง