SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 49
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
คริสต์ศาสนาได้กา เนิดขึ้นในช่วงต้นของสมัยจักรวรรดิโรมัน โดย 
มีศาสดาคือ พระเยซูคริสต์
หลังจากนั้นประมาณ 300 ปี คริสต์ศาสนาเป็นศาสนาต้องห้ามของ 
จักรวรรดิโรมัน และถูกปราบปรามอย่างรุนแรง จนกระทั่งในช่วง 
คริสต์ศตวรรษที่ 4 จักรพรรดิคอนสแตนตินที่ 1 ทรงนับถือคริสต์ศาสนา 
และในค.ศ 394 จักรพรรดิทีโอโดซิอัสที่ 1 ได้ประกาศให้คริสต์ศาสนา เป็น 
ศาสนาประจา จักรวรรดิโรมัน
เมื่อโรมันล่มสลายลง ดินแดนยุโรปมีแต่ความปั่นป่วน ศาสนาจึง 
ได้เข้ามามีบทบาทเป็นผู้นา ในทางจิตวิญญาณของชาวยุโรป และสามารถมี 
อิทธิพลครอบงา ยุโรปสมัยกลางทั้งด้านสังคม การเมือง และเศรษฐกิจ
บทบาททางสังคม 
ในสมัยกลาง สังคมยุโรปมีแต่ความวุ่นวายและความเสื่อม คริสต์ 
ศาสนาจึงเป็นที่มั่นคงทางจิตใจ คริสตจักรได้เสริมสร้างระบบการบริหารที่ 
มีประสิทธิภาพ และได้เข้ามามีบทบาทต่อวิถีชีวิตของชาวยุโรปในสมัย 
กลางอย่างมาก ตั้งแต่กา เนิดจนเสียชีวิต เป็นสถาบันที่มีอา นาจสูงสุด โดยผูก 
อา นาจในการตีความพระธรรมและนา พามนุษย์ให้หลุดพ้นทางวิญญาณ
ชาวยุโรปในสมัยกลางจึงมีความเชื่อฝังแน่นและปฏิบัติตามคา สอน 
อย่างเคร่งครัด ถ้าชนกลุ่มใดมีความเห็นขัดแย้งกับศาสนจักรจะต้องถูกศา 
สนจักรไต่สวนและลงโทษ 
- การไล่ออกจากศาสนาหรือบัพพาชนียกรรม เป็นการห้ามไม่ให้ผู้ต้องโทษ 
เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาใดๆ ทา ให้วิญญาณไม่ได้หลุดพ้น รวมทั้งห้าม 
ติดต่อกับศาสนิกชนอื่นๆด้วย
- การตัดขาดจากศาสนาทั้งชุมชน เป็นการลงโทษประชาชนทั้งดินแดน 
โบสถ์ในดินแดนนั้นจะปิด ไม่ประกอบพิธีกรรมใดๆทั้งสิ้น ทา ให้ 
ประชาชนในแผ่นดินขาดการติดต่อกับพระเจ้าและไม่ได้หลุดพ้น ใช้ในการ 
ลงโทษการกระทา ของผู้นา รัฐ 
การลงโทษ ทา ให้ศาสนาจักรมีอา นาจเหนือประชาชนในสังคมทุก 
ระดับชั้น ประชาชนจึงมีความเกรงกลัวการลงโทษของคริสตจักร จึงมีความ 
เคารพเชื่อฟังศาสนา และทา ให้ศาสนจักรมีความแข็งแกร่งมั่นคง
บทบาททางการเมือง 
ศาสนาได้เข้าไปมีส่วนร่วมในระบบการเมืองของยุโรปทั้งในระบบ 
กษัตริย์และระบบฟิวดัลรวมทั้งระบบศาล 
- ระบบกษัตริย์ ศาสนจักรได้อ้างอา นาจเหนือกษัตริย์และขุนนางในฐานะ 
ของผู้สถาปนากษัตริย์ “สันตะปาปา” ทรงประกอบพิธีสวมมงกุฎแก่ 
จักรพรรดิชาร์เลอมาญ การอ้างอา นาจของสันตะปาปานา ไปสู่การต่อสู้ทาง 
การเมืองระหว่างศาสนจักรกับจักรพรรดิเยอรมันในสมัยกลาง
- ระบบฟิวดัล ศาสนจักรได้เข้ามามีบทบาทในการยุติสงครามการแย่งที่ดิน 
ระหว่างเจ้าของที่ดินต่างๆ 
- ระบบศาล ศาสนจักรได้จัดระบบการพิจารณาคดีของศาล จึงอ้างสิทธิที่จะ 
พิจารณาคดีทั้งทางศาสนาและโลก
บทบาททางเศรษฐกิจ 
ศาสนจักรเป็นแหล่งรวมความมั่งคั่งในสมัยกลาง เนื่องจากวัดเก็บ 
ภาษีโดยตรงจากประชาชน เรียกว่า tithe เก็บร้อยละ 10 จากรายได้ 
ทั้งหมดของประชาชน มีเงินบา รุงศาสนา เงินและที่ดินที่มีผู้บริจาค รายได้ 
จากการประกอบพิธีกรรม ทา ให้วัดมีทั้งที่ดินและทรัพย์สินเงินทองเป็น 
จา นวนมาก
คริสตจักรได้วางรูปแบบการบริหารงานเลียนแบบการบริหารของจักรวรรดิ 
โรมัน ทา ให้คริสตจักรเป็นสถาบันที่มีกฎระเบียบและมีเป้าหมายชัดเจน 
โดยมีสันตะปาปาเป็นประมุขสูงสุด และมีคาร์ดินัลเป็นที่ปรึกษา ในส่วน 
ภูมิภาค แบ่งเป็นมณฑล ซึ่งมีอาร์บิชอปเป็นผู้ปกครอง ถัดจากระดับมณฑล 
คือ ระดับแขวง ภายใต้การปกครองของบิชอป ส่วนหน่วยระดับล่างสุดคือ 
วัดหรือโบสถ์ ที่คริสต์ศาสนิกชนใช้ประกอบพิธีต่างๆ มีพระหรือบาทหลวง 
เป็นผู้ปกครองดูแล
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมของยุโรปสมัยกลาง
หลังจากการล่มสลายของโรมันตะวันตกใน ค.ศ. 476 สภาพทางการเมือง 
เศรษฐกิจ และสังคมยุโรปตะวันตกเต็มไปด้วยความวุ่นวายจากการอพยพ 
เข้ามาของอารยชนเผ่าต่างๆ แต่ช่วงเวลานี้ก็เป็นช่วงเวลาของหารสร้างอารย 
ธรรมใหม่ขึ้นด้วยเช่นกัน นักประวัติศาสตร์เรียกประวัติศาสตร์ในช่วงนี้ว่า 
สมัยกลาง แบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่
1.ระยะต้น 
เริ่มตั้งแต่การล่มสลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ค.ศ.476 จนถึง 
ประมาณ ค.ศ. 1000 เป็นสมัยของการก่อรูปของอารยธรรมและสังคมยุโรป 
ใหม่ เป็นสมัยที่มีความตกต่า ทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม เรียก 
ช่วงเวลานี้ว่า ยุคมืด
การเมือง 
ก่อนจักรวรรดิโรมันตะวันตกจะล่มสลาย ชนเผ่าเยอรมันบางกลุ่ม 
เข้ามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนจักรวรรดิโรมันมาเป็นเวลานานแล้ว บางคนรับ 
ราชการเป็นทหาร แต่หลังจากการล่มสลาย ชนเผ่าเยอรมันเหล่านี้ได้ตั้ง 
อาณาจักรปกครองดินแดนส่วนต่างๆขึ้น ได้แก่ 
1) ชนเผ่าแฟรงก์ เข้าไปตั้งถิ่นฐานในดินแดนที่เป็นประเทศฝรั่งเศสและเบล 
เยยี่ม เป็นพวกแรกที่สามารถรวมดินแดนยุโรปตะวันตกเข้าเป็นจักรวรรดิ 
เดียวกันได้สาเร็จ
2) ชนเผ่าออสโตรกอท อพยพเข้าไปตั้งอาณาจักรในประเทศอิตาลี แต่ถูกไบ 
แซนไทน์ปราบปรามใน ค.ศ 554 
3) ชนเผ่าลอมบาร์ด เข้าไปตั้งอาณาจักรในประเทศอิตาลี 
4) ชนเผ่าแองโกลแซกซัน เข้าไปตั้งอาณาจักรในเกาะอังกฤษ 
5) ชนเผ่าเบอร์กันเดียน ตั้งอาณาจักรในภาคใต้ของฝรั่งเศสแถบลุ่มน้า โรน 
6) ชนเผ่าวิซิกอท เข้าไปตั้งอาณาจักรในประเทศสเปน ต่อมาถูกอาหรับเข้า 
รุกราน
7) ชนเผ่าแวนดัล เข้าไปตั้งอาณาจักรในภาคเหนือของทวีปแอฟริกา 
หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 7 เป็นต้นมา อาณาจักรของชนเผ่าต่างๆก็ 
ได้ล่มสลายลง เหลือเพียงชนเผ่าแองโกลแซกซันในประเทศอังกฤษและชน 
เผ่าแฟรงก์ในประเทศฝรั่งเศสเท่านั้น 
ในช่วงเวลานี้การเมืองยุโรปตะวันตกมีความปั่นป่วนและเกิด 
สงครามระหว่างชนเผ่าขึ้นตลอดเวลา เพราะแต่ละชนเผ่าต่างพยายามขยาย 
อาณาเขตของตนเองออกไป
ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7พวกแฟรงก์ในดินแดนฝรั่งเศสเริ่มมีอา นาจ 
ขึ้นมาเรื่อยๆ ผนวกดินแดนต่างๆเข้าเป็นาส่วนหนึ่งของอาณาจักรตน 
อาณาจักรแฟรงก์มีอาณาเขตกว้างที่สุดในสมัยจักรพรรดิชาร์เลอมาญ 
สามารถรวบรวมดินแดนยุโรปตะวันตก ยุโรปกลาง และอิตาลีเข้าเป็น 
จักรวรรดิเดียวกันสา เร็จเป็นครั้งแรกหลังจากการล่มสลายของโรมันน 
ต่อมาจักรพรรดิชาร์เลอมาญได้รับการสวมมงกุฎจากสันตะปาปาแห่งกรุง 
โรมให้เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันตะวันตก
ในยุคสมัยของจักรพรรดิชาร์เลอมาญ พระองค์ทรงพยายามฟื้นฟูระบอบการ 
ปกครองแบบศูนย์รวมอา นาจโดยรับแนวคิดจากคริสต์ศาสนา แต่หลังจาก 
สิ้นพระชนม์ลง จักรวรรดิก็เริ่มแตกแยก จนในที่สุด หลังค.ศ. 843 จักรวรรดิ 
ถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ซึ่งพัฒนามาเป็น ฝรั่งเสศ เยอรมัน และอิตาลีใน 
เวลาต่อมา พวกขุนนางท้องถิ่นต่างก็มีอา นาจมากขึ้นเรื่อยๆ จนสามารถแบ่ง 
ดินแดนออกเป็นแคว้นต่างๆ นา ไปสู่การปกครองแบบฟิวดัลในเวลาต่อมา
เศรษฐกิจ 
เมื่อชนเผ่าเยอรมันเข้ามาตั้งถิ่นฐาน ได้เปลี่ยนวิถีชีวิตมาเป็น 
เกษตรกรรมใช้ระบบนาโล่ง ปลูกข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต และข้าวบาร์เล่ย์ ใน 
สมัยจัรพรรดิชาร์เลอมาญ ได้ทา นุบา รุงโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 
ได้แก่ การสร้างสะพาน ขุดคลอง กา หนดมาตราชั่ง ตวง วัด ผลิตเงินตรา 
ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 เกิดระบบฟิวดัลขึ้น ระบบนี้ครอบคลุม 
ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองการปกครองของยุโรปสมัยกลางใน 
เวลาต่อมา
คา ว่า feudalismมาจากคา ว่า fiefs หมายถึง ที่ดินที่เป็น 
พันธะสัญญาระหว่างเจ้านายกับผู้ใช้ประโยชน์จากที่ดินที่เรียกว่า ข้า เจ้าของ 
ที่ดินจะเป็นพวกขุนนาง เรียกว่า ลอร์ด ผู้ที่อยู่ใต้อา นาจของขุนนางเรียก 
วัสซัล 
ความสา คัญของระบบฟิวดัลคือ ความสัมพันธ์ระหว่างเจ้านายกับ 
ข้าตามระดับชั้นจากบนลงล่าง กษัตริย์จึงเป็นเจ้านายชั้นสูงสุดของระบบ 
ที่ดินซึ่งเป็นของกษัตริย์ได้พระราชทานให้แก่ขุนนางระดับสูง และขุนนาง 
ระดับสูงก็จะแบ่งที่ดินให้แก่ขุนนางระดับต่า อีกทอดหนึ่ง
ขุนนางระดับสูงจึงเป็นข้าหรือวัสซัลของกษัตริย์ แต่เป็นเจ้านายหรือลอร์ด 
ของขุนนางระดับต่า ระบบนี้จะแบ่งที่ดินลงเป็นทอดๆจนถึงระดับล่างสุด 
คือ ข้าติดที่ดิน ซึ่งเป็นผลให้เกิดความจงรักภักดีระหว่างข้ากับเจ้านาย 
โดยตรงต่อกัน กษัตริย์ไม่มีอา นาจควบคุมขุนนาง แต่ขุนนางมีพันธะต่อ 
กษัตริย์ คือ การส่งกา ลังไปช่วยในยามสงครม ส่งภาษีตามระยะเวลาที่ 
กา หนด กษัตริย์มีหน้าที่ให้ความคุ้มครองแก่ขุนนาง
สังคม 
สังคมในช่วงกลางตอนต้นมีความวุ่นวายมาก ขาดระเบียบวินัย 
ความมั่นคง สังคมเมืองแทบล่มสลาย ภาวะตกต่า ผู้คนทั่วไปอ่านและเขียน 
หนังสือไม่ได้ ยกเว้นพระและนักบวช 
ในช่วงเวลานี้คริสต์ศาสนาได้เข้ามามีบทบาทสา คัญต่อการ 
ดา รงชีวิตของคนตั้งแต่เกิดจนตาย คริสตจักรเป็นสถาบันเดียวที่เป็นสื่อกลาง 
ระหว่างพระเจ้ากับมนุษย์ ทา ให้ประชาชนเข้าหาที่พึ่ง คือ ศาสนา ซึ่งมีฐาน 
เป็นสถาบันหลักของโรมันเพียงสถาบันเดียวที่มีประสิทธิภาพและเข้มแข็ง 
แม้โรมันจะล่มสลายไปแล้ว
สถาบันคริสต์ศาสนา มีประมุขคือสันตะปา มีหน้าที่กา หนด 
นโยบายทุกอย่าง เมื่อจักรวรรดิโรมันสิ้นสุดลง ศาสนจักรได้ร่วมมือกับ 
กษัตริย์ของพวกอนารยชน ทา ให้รักษาความปลอดภัยไว้ได้ ศาสนจักรจึงทา 
หน้าที่แทนจักรวรรดิโรมันในการยึดเหนี่ยวประชาชนยุโรปไว้และรักษา 
วัฒนธรรมความเจริญจ่างๆ สืบมา
2.ระยะกลาง 
เริ่มตั้งแต่ ค.ศ. 1000 - 1350 
- เป็นช่วงระยะเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากสังคมตะวันตกมี 
ประชากรเพิ่มขึ้น 
- คริสต์ศาสนาและระบบฟิวดัลมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด 
- เริ่มมีพัฒนาการหลายด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงภูมิ 
ปัญญา
การเมือง 
ความขัดแย้งระหว่างคริสตจักรกับจักรวรรดิ 
จักรวรรดิแฟรงก์ล่มสลายในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 9 ดินแดนได้ถูก 
แบ่งเป็นฝรั่งเศส เยอรมัน และอิตาลี สันตะปาปาจอห์นที่ 12 
(John XII ค.ศ. 955 – 964) ได้ทรงสถาปนาพระเจ้าออทโทที่ 
1 (Otto I ค.ศ. 936 – 973) ซึ่งปกครองเยอรมันและอิตาลี 
เป็นจักรพรรดิแห่งจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิ (Holy Roman 
Empire)
ใน ค.ศ. 962 ทั้งจักรพรรดิและสันตะปาปาอ้างอา นาจในการ 
ปกครองร่วมกันในจักรวรรดิ ซึ่งศาสนจักรยังไม่มีอา นาจเต็มที่ 
- เกิดการปฏิรูปอานาจของศาสนจักรให้มีอานาจสูงสุด 
สันตะปาปาประกาศให้ศาสนจักรมีอา นาจเหนือจักรพรรดิทา ให้ 
เกิดความขัดแย้งขึ้น 
- ฝ่ายจักรพรรดิก็แพ้อานาจคริสตจักรที่กรุงโรม ทาให้ขุนนางมี 
อา นาจมากขึ้น ทา ให้ระบบฟิวดัลแข็งแกร่งเพิ่มขึ้นอีก
- สาหรับอังกฤษและฝรั่งเศส ศาสนจักรไม่ค่อยแทรกแซง 
การเมืองภายใน สถาบันกษัตริย์พยายามเพิ่มอานาจของตนเอง 
ในการปกครอง และในฝรั่งเศส 
- กษัตริย์มีอานาจในการปกครองเบ็ดเสร็จ จนกลายเป็นระบอบ 
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ 
จักรพรรดิออทโทที่1
ระบบฟิวดัลเจริญรุ่งเรืองสูงสุด 
- ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 9 – 10 พวกอนารยชนจากสแกนดิเนเวีย 
(ปัจจุบัน คือ นอร์เวย์สวีเดน และเดนมาร์ก) ที่เรียกว่าพวกไวกิ้ง เข้ารุกราน 
จักรวรรดิพวกแฟรงก์ เนื่องจากจักรวรรดิของพวกแฟรงก์ไม่มีกาลังที่ 
เข้มแข็ง 
- การป้องกันภัยจึงเป็นของขุนนาง ทาให้ขุนนางเริ่มมีอานาจต่อรองกับ 
กษัตริย์ได้
ในช่วงเวลานี้ระบบฟิวดัลได้มีการ 
พัฒนากลายเป็นระบบการเมือง 
เศรษฐกิจ และสังคมที่สาคัญของ 
ยุโรป ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่11 
– 13 และได้เสื่อมลงจนสลายไป 
ในที่สุด
พวกไวกิ้ง
เศรษฐกิจ 
- ระยะแรกการค้าซบเซา แต่เมื่อเกิดสงครามครูเสดซึ่งเป็นสงครามระหว่าง 
คริสต์ศาสนาและศาสนาอิสลาม ระบบเศรษฐกิจมีการขยายตัว 
โดยเฉพาะการค้าและอุตสาหกรรม ในหัวเมืองสา คัญในอิตาลี เช่น เวนิส 
เจนัว และเขตเมืองในเนเธอร์แลนด์ 
- เริ่มมีการติดต่อการค้าระหว่างประเทศ มีการตั้งการค้าในหัวเมืองท้องถิ่น 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสด 
สงครามครูเสด เป็นสงครามระหว่างศาสนาคริสต์และอิสลาม ที่เกิดขึ้นถึง 8 
ครั้ง กินระยะเวลายาวนานกว่า 200 ปี คร่าชีวิตผู้คนไปกว่า 7,000,000 คน 
และทรัพย์สินอีกมากมายมหาศาล
- เนื่องจากการขยายตัวของการเศรษฐกิจ ส่งผลให้ชาวชนบทละทิ้ง 
ที่นาและเข้ามาประกอบอาชีพค้าขายหรือประกอบการผลิตสินค้า 
หัตถกรรมในเขตเมือง 
- เริ่มเกิดระบบเงินตราขึ้นมาใหม่ เกิดสมาคมอาชีพซึ่งแบ่งเป็น 
สมาคมพ่อค้าและสมาคมการช่าง 
- พอมีฐานะมั่งคั่งขึ้นก็จะสนับสนุนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 
เพื่อคุ้มครองกิจการเศรษฐกิจของตนเอง
สังคม 
เกิดการแพร่ระบาดของกาฬโรคเนื่องจากสงครามร้อยปี(สงครามระหว่าง 
อังกฤษและฝรั่งเศส) ประชากรยุโรปเสียชีวิตจา นวนมากถึง 1 ใน 3 ของ 
ประชากรทั้งทวีป
กาฬโรค
สงครามร้อยปี
หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 11 การขยายตัวทางการค้าและอุตสาหกรรม 
เจริญรุ่งเรืองขึ้น โดยเฉพาะประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียน เริ่มเกิดชุมชน 
เมืองขึ้น ซึ่งเป็นคนรุ่นใหม่ที่ประกอบการค้าและอุตสาหกรรม 
เนื่องจากการค้าที่เจริญรุ่งเรืองขึ้นยังทา ให้สังคมฟิวดัลและขุนนางเริ่มเสื่อม 
อา นาจลง แต่พวกพ่อค้ามีอา นาจมากขึ้น เนื่องจากสังคมมองที่ฐานะเป็นหลัก
ในช่วงเวลานี้คริสต์ศาสนาได้เจริญรุ่งเรืองสูงสุด ศาสนามีบทบาท 
สา คัญในการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในยุโรป
ระยะปลาย 
- ช่วงเวลานี้เป็นช่วงระยะเวลาของการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็น 
สมัยใหม่ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ศาสนาถูกลด 
บทบาท 
- ความคิดแบบมนุษยนิยมเริ่มเข้ามามีบทบาทในทัศนคติและ 
ความคิดของคนในสังคม
การเมือง 
ความเสื่อมของจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิ 
- เกิดการแข่งขันกันระหว่างจักรวรรดิโรมันอันศักด์ิสิทธ์ิกับสันตะปาปา 
แห่งคริสตจักรอย่างรุนแรง ผลก็คือจักรพรรดิกลายเป็นตาแหน่งที่ไม่มี 
อา นาจ อา นาจตกเป็นของเจ้าผู้ครองแคว้นต่างๆ 
- ดินแดนเยอรมันและอิตาลีก็แตกแยกเป็นรัฐเล็กรัฐน้อย จักรวรรดิโรมันอัน 
ศักด์ิสิทธ์ิกลายเป็นเพียงสัญลักษณ์ทางการเมืองของดินแดนเยอรมันเท่านั้น
แผนที่จักรวรรดิโรมันอัน 
ศักด์สิิทธ์ิตั้งแต่ ค.ศ. 962 – 
1806
การเกิดรัฐชาติ 
ขุนนางไม่ยอมอยู่ใต้อา นาจ กษัตริย์หันไปพึ่งพ่อค้ามากขึ้น เกิดปัญหาทาง 
เศรษฐกิจ เกิดสงครามระหว่างขุนนาง ขุนนางอ่อนแอลง เกิดสงครามร้อย 
ปีระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส ยิ่งทา ให้เสื่อมอา นาจเร็วขึ้น ทา ให้กษัตริย์ 
สามารถรวบรวมอา นาจและก่อตั้งรัฐชาติขึ้นมาได้ 
สงครามร้อยปี 
(ระหว่างอังกฤษและฝรั่งเศส)
เศรษฐกิจ 
1. ช่วงเวลาคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นช่วงเวลาเสื่อมโทรมทางเศรษฐกิจของ 
ยุโรปทั้งด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการค้า มีสาเหตุจากสงครามและ 
กาฬโรคระบาด ทา ให้ขากแคลนแรงงานจา นวนมาก
2. ช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ระบบเศรษฐกิจกลับมารุ่งเรืองอีกครั้ง ด้าน 
อุตสาหกรรมได้รับการพัฒนา ส่วนมากเป็นด้านช่างฝีมือ การทอผ้า และ 
เหมืองแร่ ความก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจทา ให้ระบบฟิวดัลเสื่อมลง 
ความเจริญก้าวหน้าทางด้านการเดินเรือทา ให้ชาวยุโรปค้นพบดินแดนใหม่ๆ 
เหมาะแก่การตั้งถิ่นฐานและเป็นแหล่งวัตถุดิบ เกิดการอพยพ ทา ให้ชนชั้น 
นายทุนร่ารวยขึ้นแต่ชนชั้นขุนนางและแรงงานยากจนลง
สังคม 
ระยะนี้ระบบฟิวดัลและศาสนจักรเสื่อมลงอย่างชัดเจน การเกิดสังคม 
เมือง การค้า ทา ให้เกิดชนชั้นกลางขึ้นเป็นจา นวนมาก ซึ่งมีสถานะ 
ระหว่างชนชั้นสูงและชนชั้นล่างกับชนชั้นชาวนา 
1. สังคมระบบฟิวดัลเสื่อมสลายลง เนื่องจากสงครามครูเสด ขุนนางต้อง 
ออกไปทา สงครามและเสียชีวิตจา นวนมาก
2. ชนชั้นกลางขึ้นมามีอา นาจแทนที่ชนชั้นขุนนาง สังคมได้เปลี่ยน 
ค่านิยมจากเรื่องชาติกา เนิดมาเป็นฐานะทางเศรษฐกิจ 
3. เกิดขบวนการนักวิชาการสายมนุษยนิยมที่หันไปสนใจศึกษา 
อารยธรรมกรีกและโรมัน
เสนอ 
อ.ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
จัดทาโดย 
นส. ปิยะดารัตน์ อัศวะสกุลโชคดี ม.6.1 เลขที่ 15 
นส. พิชชาภา สุวรรณวิสูตร ม.6.1 เลขที่ 17

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21miccmickey
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลางJitjaree Lertwilaiwittaya
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่Mind Mmindds
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

Mais procurados (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง4,21
 
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
4.4 อารยธรรมสมัยกลาง
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 

Semelhante a อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1

อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางOmm Suwannavisut
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลายอาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลายNatdanai2543
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันNing Rommanee
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางgain_ant
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง gain_ant
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSomO777
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลSom Kamonwan
 
ไบแซนทิอุม
ไบแซนทิอุมไบแซนทิอุม
ไบแซนทิอุมKwandjit Boonmak
 

Semelhante a อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1 (20)

อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลายอาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลางเหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญและอารยธรรมสมัยยุโรปกลาง
 
Korea
KoreaKorea
Korea
 
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยยุโรปกลาง
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
5.3 5.5 ปฏิรูปศาสนา-ปฏิวัติอุตสาหกรรม(new)
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
 
ไบแซนทิอุม
ไบแซนทิอุมไบแซนทิอุม
ไบแซนทิอุม
 

อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1