SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 30
ระหว่างค.ศ. 1450 – 1750 ยุโรปไดเ้ขา้สู่ยุคการสา รวจ 
เส้นทางการเดินเรือและขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจ การเปิดน่านน้า 
กับโลกตะวันออก ทา ให้พ่อคา้ตะวันตกสามารถติดต่อคา้ขายทางทะเล 
โดยตรงกับอินเดียและประเทศตะวันออกอื่นๆ และจัดตงั้สถานีการคา้ 
ตั้งแต่เมืองบาสรา ในบริเวณอ่าวเปอร์เซียจนถึงประเทศญี่ปุ่น 
ตลอดจนควบคุมเส้นทางการคา้เครื่องเทศในบริเวณช่องแคบมะละกา 
นอกจากนี้การสา รวจเส้นทางการเดินเรือยังทา ให้ค้นพบทวีป 
อเมริกาและจัดตงั้เมืองท่าสา คัญๆ ทางชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก 
ทงั้ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ชาวยุโรปไดมี้การติดต่อกับโลกตะวันออกใน 
สงครามครูเสดซึ่งเป็นสงครามศาสนาระหว่างคริสต์ศาสนิกชนตะวันตก 
กับพวกมุสลิมตะวันออกกลางและการฟื้นตัวของเมืองที่เกิดขึ้นใน 
ระยะเวลาใกลเ้คียงกันทา ให้ชาวยุโรปมีโอกาสสัมผัสกับอารยธรรมของ 
โลกตะวันออก วิชาความรู้ต่างๆ และวิทยาการอื่นๆ ของกรีกและมุสลิม 
ทา ให้ปัญญาชนเริ่มทบทวนและตรวจสอบความรู้ของตนเองมากขึ้น 
ตลอดจนทา้ทายแนวความคิดทางธรรมชาติและจักรวาลวิทยาของคริสต์ 
ศาสนาที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาในสมัยกลาง
บรรยากาศของการแสวงหาและการค้นหาคา ตอบให้กับ 
ตนเองเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวได้ผลักดันให้ชาวยุโรปในยุคฟื้นฟู 
ศิลปวิทยาหันมาสนใจท้องทะเลที่กนั้ขวางพวกเขากับโลกของชาว 
ตะวันออก โดยเฉพาะความรู้ทางภูมิศาสตร์และแผนที่ของปโตเลมี 
แผนที่ของปโตเลมี 
ที่แสดงให้เห็นถึงที่ตงั้ของ 
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไป 
ถึง อิน เ ดีย แ ล ะ จีน 
คาบสมุทรไอบีเรียถึง 
ดินแดนตอนเหนือของ 
ทวีปแอฟริกา
ความสนใจดังกล่าวได้ทวีมากขึ้น เมื่อพวกมุสลิมสามารถยึด 
ครองกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ปัจจุบัน คือ นครอิสตันบูล ในประเทศ 
ตุรกี) และดินแดนในจักรวรรดิไบแซนไทน์ไดท้งั้หมด ซึ่งมีผลกระทบให้ 
การค้าทางบกระหว่างตะวันออกกับตะวันตกชะงักงันแต่สินค้าต่างๆ 
จากตะวันออก เช่น เครื่องเทศที่เป็นสินค้าหลักยังเป็นที่ต้องการของ 
ตลาดตะวันตกแล้ว ชาติตะวันตกยังมุ่งแสวงหาแหล่งแร่เงินและแร่ 
ทองคา ซึ่งเชื่อว่ามีอยู่มากมายทางซีกโลกใต้ดังนั้นการติดต่อค้าขาย 
ทางทะเล จึงสา คัญมาก
นอกจากนี้ความรู้ในการใช้เข็มทิศและการพัฒนารูปทรงและ 
ขนาดเรือให้มีความเหมาะสมและมีความคงทนแน่นหนาขึ้น พร้อมติดตงั้ 
อาวุธปืนใหญ่ ทา ให้ชาติตะวันออกต่างๆ ตอ้งยินยอมเปิดสัมพันธไมตรี 
ดว้ย และมีผลให้อิทธิพลของชาติตะวันตกหลั่งไหลสู่โลกตะวันออกได้ 
อย่างกวา้งขวาง 
เรือเดินสมุทร เข็มทิศและนาฬิกาแดด
โปรตุเกสและสเปน 
เจา้ชายเฮนรีนาวิกราชทรงจัดตงั้ 
โรงเรียนราชนาวีขึ้นที่แหลมซาเกรส 
ใ ห้เ ป็น ศูน ย์ก ล า ง ข อ ง ก า ร เ รีย น รู้ 
วิทยาการใหม่ๆ ในการเดินทะเลและเป็น 
แหล่งรวบรวมการสา รวจเส้นทางเดินเรือ 
ทา ให้นักเดินเรือของโปรตุเกสสามารถ 
เดินทางจนถึงแหลมกรีนในทวีปแอฟริกา 
เจา้ชายเฮนรีนาวิกราช
หลังจากที่เจ้าชายเฮนรีนาวิกราชสิ้นพระชนม์ บาร์โธโลมิว ไดแอส 
สามารถเดินเรือเลียบชายฝั่งทวีปแอฟริกาจนผ่านแหลมกู๊ดโฮปไดส้า เร็จ 
เส้นทางการ 
เดินเรือของ 
บาร์โธโลมิว 
ไดแอส 
บาร์โธโลมิว 
ไดแอส
วัสโก ดา กามา แล่นเรือในเส้นทางสา รวจของไดแอสจนถึงเอเชีย และ 
หลังจากใช้เวลาเดินทางได้ 93 วัน ก็ขึ้นฝั่งที่เมืองกาลิกัตของอินเดีย 
และสามารถซื้อเครื่องเทศจากอินเดียโดยตรง นากลับไปขายในยุโรป 
ไดก้า ไรมากมาย 
วัสโก ดา กามา 
เส้นทางการเดินเรือของ 
วัสโก ดา กามา
ร ะ ย ะ ก่อ น ห น้า นั้น ค ริส โ ต เ ฟ อ ร์ 
โคลัมบัส ก็รับอาสากษัตริย์เดินทาง 
สา รวจเส้นทางการเดินเรือไปประเทศ 
จีน และค้นพบทวีปอเมริกาได้ในที่สุด 
ซึ่งทา ให้สเปนได้ครอบครองดินแดน 
ส่วนใหญ่เกือบทงั้หมดของทวีปอเมริกา 
ใต้ อเมริกากลาง และส่วนใหญ่ของ 
ดินแดนที่เป็นประเทศสหรัฐอเมริกา 
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส
เส้นทางการเดินเรือของคริสโตเฟอร ์โคลัมบัส
ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นการเริ่มต้นแข่งขันระหว่าง 
สเปนกับโปรตุเกส ในดา้นเศรษฐกิจและอา นาจทางทะเลดังนั้น 
สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 ทรงให้สเปนและโปรตุเกส 
ทา สนธิสัญญาทอร์เดซียัส กา หนดให้เส้นเมอร์ดิเตอร์เรเนียนที่ 51ทาง 
ตะวันตกของกรีนิช เป็นเส้นสมมติที่แบ่งโลกออกเป็น 2 ส่วน โดยสเปน 
มีสิทธิในดินแดนทางด้านตะวันตกของเส้นเมริเดียนที่51ทางตะวันตก 
ของกรีนิชและโปรตุเกสได้สิทธิทางด้านตะวันออก นาไปสู่การ 
ครอบครองทวีปอเมริกาใต้ของสเปนเกือบทงั้หมด ยกเว้นบราซิลซึ่งตก 
เป็นของโปรตุเกสตามขอ้ตกลงของสนธิสัญญานี้ และนาไปสู่การสร้าง 
จักรวรรดทิางทะเลของโปรตุเกสในเอเชีย
โปรตุเกสประสบความสา เร็จอย่างยิ่งในการกา จัดอา นาจของ 
พวกมุสลิมในมหาสมุทรอินเดียจนสามารถควบคุมเมืองต่างๆ และยึด 
เมืองกัว ซึ่งเป็นศูนย์บัญชาการของสันนิบาตมุสลิมในมหาสมุทรอินเดีย 
ไดแ้ละใชเ้มืองกัวเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิโปรตุเกสในตะวันออก 
เส้นแบ่งเขตตาม 
สนธิสัญญาทอร์เดซียัส
อาฟองโซ เดอ อัลบูเกร์เก ข้าหลวงโปรตุเกสสามารถขยาย 
อา นาจและแผ่อิทธิพลจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใตแ้ละเขา้ยึดครอง 
มะละกาซึ่งเป็นชุมทางของเรือสินค้าจากอินเดีย อาหรับ อียิปต์ และ 
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน การยึดครองดินแดนดังให้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพล 
ของโปรตุเกส และสร้างความมั่งคั่งอย่างมหาศาลให้แก่โปรตุเกสจาก 
การผูกขาดการคา้เครื่องเทศ 
เส้นทางการเดินเรือของ 
อาฟองโซ เดอ อัลบูเกร์เก
ในค.ศ.1519 เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน นักเดินเรือชาวโปรตุเกส 
มายังหมู่เกาะเครื่องเทศทางมหาสมุทรอินเดีย และคุมเรือสเปน 5 ลา 
ออกคน้หาเส้นทางเดินเรือสายใหม่มายังตะวันออก เป็นการเดินเรือครั้ง 
แรกที่ขา้มมหาสมุทรแปซิฟิกมายังทวีปเอเชีย และสามารถพิสูจน์ไดว้่า 
เอเชียตงั้อยู่คนละทวีป คนละซีกโลก และรู้ว่าเกาะเฮติและคิวบาไม่ใช่ 
ญี่ปุ่นและจีนตามที่ชาวตะวันตกเขา้ใจผิดกันมา 
เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน
อย่างไรก็ตาม มาเจลลันไม่มีโอกาสไดแ้ล่นเรือกลับสเปน เขา 
ถูกคนพื้นเมืองฆ่าตาย แต่ลูกเรือที่เหลือโดยการนาของเซบาสเตียน 
เดล กาโน สามารถหลบหนีออกจากฟิลิปปินส์ได้และเดินทางต่อไปจน 
พบโมลุกกะหรือหมู่เกาะเครื่องเทศ ไดแ้วะซื้อเครื่องเทศจากชาวพื้นเมือง 
บรรทุกจนเต็มลาเรือวิคโตริโอ และสามารถหลบเรือโปรตุเกสกลับ 
สเปนทางมหาสมุทรอินเดียได้สา เร็จ เรือวิคโตริโอนับได้ว่าเป็นเรือลา 
แรกที่แล่นรอบโลกและสามารถพิสูจน์ทฤษฎีโลกกลมว่าเป็นจริง
เรือวิคโตริโอ
เส้นทางการเดินเรือของ เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน
การคน้พบเส้นทางการเดินเรือมายังตะวันออกของดา กามา 
และมาเจลลันเป็นการเปิดน่านน้าให้เรือจากทวีปยุโรปสามารถแล่น 
มายังทวีปเอเชียทางมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกได้และ 
เป็นก้าวสาคัญที่ทาให้อารยธรรมตะวันตกหลั่งไหลมายังเอเชีย 
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทงั้ทางดา้นการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม 
และวัฒนธรรม 
ในค.ศ.1580 ได้เกิดความผันผวนทางการเมืองในโปรตุเกส 
ทา ให้โปรตุเกสตอ้งตกอยู่ในอา นาจของสเปนจนถึง ค.ศ.1640
ฮอลันดา หรือ เนเธอร์แลนด์ 
ในศตวรรษที่ 16 เนเธอร์แลนด์ถูกปกครองโดยสเปนต่อมา 
เจา้ชายวิลเลียมแห่งออเรนจ์และขุนนางจา นวนหนึ่ง ไดก้่อการปฏิวัติ 
ต่อสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิปที่ 2 แห่งสเปน เพื่อเรียกร้องให้ประชาชน 
เนเธอร์แลนด์และได้สถาปนาสาธารณรัฐดัตช์และ สามารถนับถือ 
ศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ได้ จึงทาให้พระเจ้าฟิลิปที่ 2 
ประกาศปิดท่าเรือ ลิสบอน ซึ่งทา ให้พ่อค้าชาวดัตช์ไปซื้อเครื่องเทศที่ 
โปรตุเกสไม่ได้ แต่ในที่สุดฮอลันดาก็สามารถยึดครองอา นาจการค้า 
เครื่องเทศของโปรตุเกสไดใ้น ค.ศ. 1598
ฮอลันดาเป็นชาติแรกที่พบทวีปออสเตรเลีย เนื่องจากใน 
ค.ศ.1606 บริษัท อินเดียตะวันออกของฮอลันดาไดส้่ง Willem Jansz 
คุมเรือ Duyfken เพื่อหาเกาะทองคา ซึ่งการเดินทางครั้งนี้ทาให้ 
ฮอลันดาพบทวีปออสเตรเลีย 
เส้นทางการเดินเรือของ 
Willem Jansz
ค.ศ. 1648 จึงไดมี้การลงนามในสนธิสัญญามุนสเตอร์เพื่อสงบ 
ศึกระหว่างเนเธอร์แลนด์และสเปน ซึ่งดา เนินมาถึง 80 ปี และถือเป็นการ 
ประกาศเอกราชของเนเธอร์แลนด์ 
หลังจากได้ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิสเปน ชาวดัตช์ได้ 
ร่วมกันฟื้นฟูประเทศจนในที่สุดไดเ้ขา้มาสู่ยุคทอง เป็นมหาอา นาจทางทะเล 
ในการแสวงหาโอกาสทางการคา้ในดินแดนต่างๆ ของโลก 
เนเธอร์แลนด์เป็นมหาอา นาจทางทะเลและเศรษฐกิจชนั้นาของ 
ยุโรปในเวลานั้น และกรุงอัมสเตอร์ดัมก็ไดก้ลายมาเป็นศูนย์กลางการเงิน 
ของยุโรป จนมีนักเศรษฐศาสตร์หลายคนถือให้เนเธอแลนด์เป็นประเทศ 
ระบอบทุนนิยมประเทศแรกของโลก
อังกฤษ 
• แผ่อิทธิพลมาในตะวันออกในเวลาใกลเ้คียงกับฮอลันดา 
• ค.ศ. 1600 “Queen Elizabeth I” ไดพ้ระราชทานกฎบัตรให้บริษัท 
อินเดียตะวันออกของอังกฤษ ให้มีสิทธิพิเศษในการทา การคา้ตงั้แต่ 
แหลมกู๊ดโฮปจนถึงช่องแคบมาเจลลัน 
• สลายอา นาจทางทะเลของโปรตุเกสที่ควบคุม มหาสมุทรอินเดีย 
จนเขา้ไปมีอา นาจและอิทธิพลในอินเดียและอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งทา ให้ 
อังกฤษเป็นคู่แข่งทางการคา้ในตะวันออกกับฮอลันดา 
• ทา สงครามกับฮอลันดาและฝร่งัเศส แต่ฝร่งัเศสแพจึ้งหมดโอกาส 
ควบคุมตลาดการคา้ในตะวันออก
1. การเผยแผ่ศาสนา 
- แบบสันติวิธี : โดยมีบาทหลวง ทา หน้าที่ สอนศาสนาและ 
ให้ความช่วยเหลือดา้นมนุษยธรรมและการศึกษาแก่คนพื้นเมือง 
- แบบวิธีรุนแรง : บีบบังคับให้มานับถือคริสต์ศาสนา เช่น 
สเปนไดส้่งกองทหารเขา้ทา ลายลา้งอารยธรรมของเผ่ามายา, 
แอสเต็ก และอินคา และบีบบังคับให้นับถือคริสต์ศาสนานิกาย 
โรมันคาทอลิก
2. การเปลี่ยนแปลงเศษฐกิจและระบบการคา้ 
- ทา ลายระบบสมาคมอาชีพ 
- ขยายตัวทางการคา้อย่างรวดเร็ว จนเกิดการปฏิวัติการคา้ 
- ใชเ้งินตรา 
- เกิดระบบพาณิชยนิยม 
1) รัฐบาลของกษัตริย์เขา้ควบคุมการผลิตและการคา้ 
2) เน้นส่งออก 
3) กีดกันสินคา้นาเขา้ 
4) แสวงหาอาณานิคมเพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบและระบายสินคา้
ค.ศ.1600-1700 โลกตะวันตกยึดถือนโยบายแข่งขันทาง 
เศรษฐกิจเป็นนโยบายหลัก ในช่วงนี้พ่อคา้นายทุนไดร้่วมกันก่อตงั้บริษัท 
รวมทุน เปิดโอกาสให้บุคคลร่วมกันลงทุนเพื่อขยายการคา้ผูกขาดสินคา้ 
ต่างๆ โดยมีรัฐหรือกษัตริย์สนับสนุน 
บริษัทรวมทุนจะทา การค้าในนามของประเทศและมีบทบาท 
สา คัญในการส่งเสริมประเทศของตนให้สามารถยึดครองดินแดนต่างๆ 
ได้ เช่น บริษัทอันเดียตะวันออกของอังกฤษได้ก่อตงั้มลรัฐเวอร์จิเนีย 
และมลรัฐเมสซาชูเชตส์ในทวีปอเมริกาเหนือและเบิกทางให้รัฐบาล 
อังกฤษสามารถเขา้คอบครองอินเดียไดใ้นเวลาต่อมา
3. การเปลี่ยนแปลงดา้นอื่นๆ 
ดา้นสิ่งแวดลอ้ม : ก่อให้เกิดการกระจายและแพร่พันธุ์สัตว์,พืช 
และเชื้อโรค เช่น ชาวดัตช์นาตน้กาแฟจากตะวันออกกลางมาปลูกที่เกาะ 
ชวาแทนเครื่องเทศที่ทา กา ไรไดน้้อยลงจนในที่สุดกาแฟไดเ้ป็น 
สินคา้หลักอย่างหนึ่งของภูมิภาคนี้ 
ทา ให้มีความรู้ดา้นภูมิศาสตรข์องชาติต่างๆ มากขึ้น 
มีการพัฒนาดา้นวิชาการและเทคโนโลยีมากขึ้น เช่น การสา รวจ 
อารยธรรมเก่าแก่ถูกทา ลาย ซึ่งทา ให้สภาพสังคม,เศรษฐกิจใน 
ดินแดนเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลง
1. น.ส.ณัฏฐธิดา จันทศรีสวัสด์ิม. 6.7 เลขที่ 20 
2. น.ส.ศรสวรรค์ศรีรัตนาพร ม. 6.7 เลขที่ 28

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

อารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญอารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญ
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
Phonlawat Wichaya
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
Milky' __
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
Guntima NaLove
 

Mais procurados (20)

เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
อารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญอารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญ
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 

Semelhante a การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก (6)

สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
ปวศ
ปวศปวศ
ปวศ
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4
 
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงันตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
 

การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก

  • 1.
  • 2. ระหว่างค.ศ. 1450 – 1750 ยุโรปไดเ้ขา้สู่ยุคการสา รวจ เส้นทางการเดินเรือและขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจ การเปิดน่านน้า กับโลกตะวันออก ทา ให้พ่อคา้ตะวันตกสามารถติดต่อคา้ขายทางทะเล โดยตรงกับอินเดียและประเทศตะวันออกอื่นๆ และจัดตงั้สถานีการคา้ ตั้งแต่เมืองบาสรา ในบริเวณอ่าวเปอร์เซียจนถึงประเทศญี่ปุ่น ตลอดจนควบคุมเส้นทางการคา้เครื่องเทศในบริเวณช่องแคบมะละกา นอกจากนี้การสา รวจเส้นทางการเดินเรือยังทา ให้ค้นพบทวีป อเมริกาและจัดตงั้เมืองท่าสา คัญๆ ทางชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก ทงั้ในทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
  • 3. ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ชาวยุโรปไดมี้การติดต่อกับโลกตะวันออกใน สงครามครูเสดซึ่งเป็นสงครามศาสนาระหว่างคริสต์ศาสนิกชนตะวันตก กับพวกมุสลิมตะวันออกกลางและการฟื้นตัวของเมืองที่เกิดขึ้นใน ระยะเวลาใกลเ้คียงกันทา ให้ชาวยุโรปมีโอกาสสัมผัสกับอารยธรรมของ โลกตะวันออก วิชาความรู้ต่างๆ และวิทยาการอื่นๆ ของกรีกและมุสลิม ทา ให้ปัญญาชนเริ่มทบทวนและตรวจสอบความรู้ของตนเองมากขึ้น ตลอดจนทา้ทายแนวความคิดทางธรรมชาติและจักรวาลวิทยาของคริสต์ ศาสนาที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาในสมัยกลาง
  • 4. บรรยากาศของการแสวงหาและการค้นหาคา ตอบให้กับ ตนเองเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวได้ผลักดันให้ชาวยุโรปในยุคฟื้นฟู ศิลปวิทยาหันมาสนใจท้องทะเลที่กนั้ขวางพวกเขากับโลกของชาว ตะวันออก โดยเฉพาะความรู้ทางภูมิศาสตร์และแผนที่ของปโตเลมี แผนที่ของปโตเลมี ที่แสดงให้เห็นถึงที่ตงั้ของ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไป ถึง อิน เ ดีย แ ล ะ จีน คาบสมุทรไอบีเรียถึง ดินแดนตอนเหนือของ ทวีปแอฟริกา
  • 5. ความสนใจดังกล่าวได้ทวีมากขึ้น เมื่อพวกมุสลิมสามารถยึด ครองกรุงคอนสแตนติโนเปิล (ปัจจุบัน คือ นครอิสตันบูล ในประเทศ ตุรกี) และดินแดนในจักรวรรดิไบแซนไทน์ไดท้งั้หมด ซึ่งมีผลกระทบให้ การค้าทางบกระหว่างตะวันออกกับตะวันตกชะงักงันแต่สินค้าต่างๆ จากตะวันออก เช่น เครื่องเทศที่เป็นสินค้าหลักยังเป็นที่ต้องการของ ตลาดตะวันตกแล้ว ชาติตะวันตกยังมุ่งแสวงหาแหล่งแร่เงินและแร่ ทองคา ซึ่งเชื่อว่ามีอยู่มากมายทางซีกโลกใต้ดังนั้นการติดต่อค้าขาย ทางทะเล จึงสา คัญมาก
  • 6. นอกจากนี้ความรู้ในการใช้เข็มทิศและการพัฒนารูปทรงและ ขนาดเรือให้มีความเหมาะสมและมีความคงทนแน่นหนาขึ้น พร้อมติดตงั้ อาวุธปืนใหญ่ ทา ให้ชาติตะวันออกต่างๆ ตอ้งยินยอมเปิดสัมพันธไมตรี ดว้ย และมีผลให้อิทธิพลของชาติตะวันตกหลั่งไหลสู่โลกตะวันออกได้ อย่างกวา้งขวาง เรือเดินสมุทร เข็มทิศและนาฬิกาแดด
  • 7. โปรตุเกสและสเปน เจา้ชายเฮนรีนาวิกราชทรงจัดตงั้ โรงเรียนราชนาวีขึ้นที่แหลมซาเกรส ใ ห้เ ป็น ศูน ย์ก ล า ง ข อ ง ก า ร เ รีย น รู้ วิทยาการใหม่ๆ ในการเดินทะเลและเป็น แหล่งรวบรวมการสา รวจเส้นทางเดินเรือ ทา ให้นักเดินเรือของโปรตุเกสสามารถ เดินทางจนถึงแหลมกรีนในทวีปแอฟริกา เจา้ชายเฮนรีนาวิกราช
  • 8. หลังจากที่เจ้าชายเฮนรีนาวิกราชสิ้นพระชนม์ บาร์โธโลมิว ไดแอส สามารถเดินเรือเลียบชายฝั่งทวีปแอฟริกาจนผ่านแหลมกู๊ดโฮปไดส้า เร็จ เส้นทางการ เดินเรือของ บาร์โธโลมิว ไดแอส บาร์โธโลมิว ไดแอส
  • 9. วัสโก ดา กามา แล่นเรือในเส้นทางสา รวจของไดแอสจนถึงเอเชีย และ หลังจากใช้เวลาเดินทางได้ 93 วัน ก็ขึ้นฝั่งที่เมืองกาลิกัตของอินเดีย และสามารถซื้อเครื่องเทศจากอินเดียโดยตรง นากลับไปขายในยุโรป ไดก้า ไรมากมาย วัสโก ดา กามา เส้นทางการเดินเรือของ วัสโก ดา กามา
  • 10.
  • 11. ร ะ ย ะ ก่อ น ห น้า นั้น ค ริส โ ต เ ฟ อ ร์ โคลัมบัส ก็รับอาสากษัตริย์เดินทาง สา รวจเส้นทางการเดินเรือไปประเทศ จีน และค้นพบทวีปอเมริกาได้ในที่สุด ซึ่งทา ให้สเปนได้ครอบครองดินแดน ส่วนใหญ่เกือบทงั้หมดของทวีปอเมริกา ใต้ อเมริกากลาง และส่วนใหญ่ของ ดินแดนที่เป็นประเทศสหรัฐอเมริกา คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส
  • 13. ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นการเริ่มต้นแข่งขันระหว่าง สเปนกับโปรตุเกส ในดา้นเศรษฐกิจและอา นาจทางทะเลดังนั้น สมเด็จพระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ที่ 6 ทรงให้สเปนและโปรตุเกส ทา สนธิสัญญาทอร์เดซียัส กา หนดให้เส้นเมอร์ดิเตอร์เรเนียนที่ 51ทาง ตะวันตกของกรีนิช เป็นเส้นสมมติที่แบ่งโลกออกเป็น 2 ส่วน โดยสเปน มีสิทธิในดินแดนทางด้านตะวันตกของเส้นเมริเดียนที่51ทางตะวันตก ของกรีนิชและโปรตุเกสได้สิทธิทางด้านตะวันออก นาไปสู่การ ครอบครองทวีปอเมริกาใต้ของสเปนเกือบทงั้หมด ยกเว้นบราซิลซึ่งตก เป็นของโปรตุเกสตามขอ้ตกลงของสนธิสัญญานี้ และนาไปสู่การสร้าง จักรวรรดทิางทะเลของโปรตุเกสในเอเชีย
  • 14. โปรตุเกสประสบความสา เร็จอย่างยิ่งในการกา จัดอา นาจของ พวกมุสลิมในมหาสมุทรอินเดียจนสามารถควบคุมเมืองต่างๆ และยึด เมืองกัว ซึ่งเป็นศูนย์บัญชาการของสันนิบาตมุสลิมในมหาสมุทรอินเดีย ไดแ้ละใชเ้มืองกัวเป็นเมืองหลวงของจักรวรรดิโปรตุเกสในตะวันออก เส้นแบ่งเขตตาม สนธิสัญญาทอร์เดซียัส
  • 15. อาฟองโซ เดอ อัลบูเกร์เก ข้าหลวงโปรตุเกสสามารถขยาย อา นาจและแผ่อิทธิพลจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใตแ้ละเขา้ยึดครอง มะละกาซึ่งเป็นชุมทางของเรือสินค้าจากอินเดีย อาหรับ อียิปต์ และ ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน การยึดครองดินแดนดังให้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพล ของโปรตุเกส และสร้างความมั่งคั่งอย่างมหาศาลให้แก่โปรตุเกสจาก การผูกขาดการคา้เครื่องเทศ เส้นทางการเดินเรือของ อาฟองโซ เดอ อัลบูเกร์เก
  • 16. ในค.ศ.1519 เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน นักเดินเรือชาวโปรตุเกส มายังหมู่เกาะเครื่องเทศทางมหาสมุทรอินเดีย และคุมเรือสเปน 5 ลา ออกคน้หาเส้นทางเดินเรือสายใหม่มายังตะวันออก เป็นการเดินเรือครั้ง แรกที่ขา้มมหาสมุทรแปซิฟิกมายังทวีปเอเชีย และสามารถพิสูจน์ไดว้่า เอเชียตงั้อยู่คนละทวีป คนละซีกโลก และรู้ว่าเกาะเฮติและคิวบาไม่ใช่ ญี่ปุ่นและจีนตามที่ชาวตะวันตกเขา้ใจผิดกันมา เฟอร์ดินันด์ มาเจลลัน
  • 17. อย่างไรก็ตาม มาเจลลันไม่มีโอกาสไดแ้ล่นเรือกลับสเปน เขา ถูกคนพื้นเมืองฆ่าตาย แต่ลูกเรือที่เหลือโดยการนาของเซบาสเตียน เดล กาโน สามารถหลบหนีออกจากฟิลิปปินส์ได้และเดินทางต่อไปจน พบโมลุกกะหรือหมู่เกาะเครื่องเทศ ไดแ้วะซื้อเครื่องเทศจากชาวพื้นเมือง บรรทุกจนเต็มลาเรือวิคโตริโอ และสามารถหลบเรือโปรตุเกสกลับ สเปนทางมหาสมุทรอินเดียได้สา เร็จ เรือวิคโตริโอนับได้ว่าเป็นเรือลา แรกที่แล่นรอบโลกและสามารถพิสูจน์ทฤษฎีโลกกลมว่าเป็นจริง
  • 20. การคน้พบเส้นทางการเดินเรือมายังตะวันออกของดา กามา และมาเจลลันเป็นการเปิดน่านน้าให้เรือจากทวีปยุโรปสามารถแล่น มายังทวีปเอเชียทางมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิกได้และ เป็นก้าวสาคัญที่ทาให้อารยธรรมตะวันตกหลั่งไหลมายังเอเชีย ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทงั้ทางดา้นการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ในค.ศ.1580 ได้เกิดความผันผวนทางการเมืองในโปรตุเกส ทา ให้โปรตุเกสตอ้งตกอยู่ในอา นาจของสเปนจนถึง ค.ศ.1640
  • 21. ฮอลันดา หรือ เนเธอร์แลนด์ ในศตวรรษที่ 16 เนเธอร์แลนด์ถูกปกครองโดยสเปนต่อมา เจา้ชายวิลเลียมแห่งออเรนจ์และขุนนางจา นวนหนึ่ง ไดก้่อการปฏิวัติ ต่อสมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิปที่ 2 แห่งสเปน เพื่อเรียกร้องให้ประชาชน เนเธอร์แลนด์และได้สถาปนาสาธารณรัฐดัตช์และ สามารถนับถือ ศาสนาคริสต์นิกายโปรแตสแตนท์ได้ จึงทาให้พระเจ้าฟิลิปที่ 2 ประกาศปิดท่าเรือ ลิสบอน ซึ่งทา ให้พ่อค้าชาวดัตช์ไปซื้อเครื่องเทศที่ โปรตุเกสไม่ได้ แต่ในที่สุดฮอลันดาก็สามารถยึดครองอา นาจการค้า เครื่องเทศของโปรตุเกสไดใ้น ค.ศ. 1598
  • 22. ฮอลันดาเป็นชาติแรกที่พบทวีปออสเตรเลีย เนื่องจากใน ค.ศ.1606 บริษัท อินเดียตะวันออกของฮอลันดาไดส้่ง Willem Jansz คุมเรือ Duyfken เพื่อหาเกาะทองคา ซึ่งการเดินทางครั้งนี้ทาให้ ฮอลันดาพบทวีปออสเตรเลีย เส้นทางการเดินเรือของ Willem Jansz
  • 23. ค.ศ. 1648 จึงไดมี้การลงนามในสนธิสัญญามุนสเตอร์เพื่อสงบ ศึกระหว่างเนเธอร์แลนด์และสเปน ซึ่งดา เนินมาถึง 80 ปี และถือเป็นการ ประกาศเอกราชของเนเธอร์แลนด์ หลังจากได้ประกาศเอกราชจากจักรวรรดิสเปน ชาวดัตช์ได้ ร่วมกันฟื้นฟูประเทศจนในที่สุดไดเ้ขา้มาสู่ยุคทอง เป็นมหาอา นาจทางทะเล ในการแสวงหาโอกาสทางการคา้ในดินแดนต่างๆ ของโลก เนเธอร์แลนด์เป็นมหาอา นาจทางทะเลและเศรษฐกิจชนั้นาของ ยุโรปในเวลานั้น และกรุงอัมสเตอร์ดัมก็ไดก้ลายมาเป็นศูนย์กลางการเงิน ของยุโรป จนมีนักเศรษฐศาสตร์หลายคนถือให้เนเธอแลนด์เป็นประเทศ ระบอบทุนนิยมประเทศแรกของโลก
  • 24. อังกฤษ • แผ่อิทธิพลมาในตะวันออกในเวลาใกลเ้คียงกับฮอลันดา • ค.ศ. 1600 “Queen Elizabeth I” ไดพ้ระราชทานกฎบัตรให้บริษัท อินเดียตะวันออกของอังกฤษ ให้มีสิทธิพิเศษในการทา การคา้ตงั้แต่ แหลมกู๊ดโฮปจนถึงช่องแคบมาเจลลัน • สลายอา นาจทางทะเลของโปรตุเกสที่ควบคุม มหาสมุทรอินเดีย จนเขา้ไปมีอา นาจและอิทธิพลในอินเดียและอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งทา ให้ อังกฤษเป็นคู่แข่งทางการคา้ในตะวันออกกับฮอลันดา • ทา สงครามกับฮอลันดาและฝร่งัเศส แต่ฝร่งัเศสแพจึ้งหมดโอกาส ควบคุมตลาดการคา้ในตะวันออก
  • 25.
  • 26. 1. การเผยแผ่ศาสนา - แบบสันติวิธี : โดยมีบาทหลวง ทา หน้าที่ สอนศาสนาและ ให้ความช่วยเหลือดา้นมนุษยธรรมและการศึกษาแก่คนพื้นเมือง - แบบวิธีรุนแรง : บีบบังคับให้มานับถือคริสต์ศาสนา เช่น สเปนไดส้่งกองทหารเขา้ทา ลายลา้งอารยธรรมของเผ่ามายา, แอสเต็ก และอินคา และบีบบังคับให้นับถือคริสต์ศาสนานิกาย โรมันคาทอลิก
  • 27. 2. การเปลี่ยนแปลงเศษฐกิจและระบบการคา้ - ทา ลายระบบสมาคมอาชีพ - ขยายตัวทางการคา้อย่างรวดเร็ว จนเกิดการปฏิวัติการคา้ - ใชเ้งินตรา - เกิดระบบพาณิชยนิยม 1) รัฐบาลของกษัตริย์เขา้ควบคุมการผลิตและการคา้ 2) เน้นส่งออก 3) กีดกันสินคา้นาเขา้ 4) แสวงหาอาณานิคมเพื่อเป็นแหล่งวัตถุดิบและระบายสินคา้
  • 28. ค.ศ.1600-1700 โลกตะวันตกยึดถือนโยบายแข่งขันทาง เศรษฐกิจเป็นนโยบายหลัก ในช่วงนี้พ่อคา้นายทุนไดร้่วมกันก่อตงั้บริษัท รวมทุน เปิดโอกาสให้บุคคลร่วมกันลงทุนเพื่อขยายการคา้ผูกขาดสินคา้ ต่างๆ โดยมีรัฐหรือกษัตริย์สนับสนุน บริษัทรวมทุนจะทา การค้าในนามของประเทศและมีบทบาท สา คัญในการส่งเสริมประเทศของตนให้สามารถยึดครองดินแดนต่างๆ ได้ เช่น บริษัทอันเดียตะวันออกของอังกฤษได้ก่อตงั้มลรัฐเวอร์จิเนีย และมลรัฐเมสซาชูเชตส์ในทวีปอเมริกาเหนือและเบิกทางให้รัฐบาล อังกฤษสามารถเขา้คอบครองอินเดียไดใ้นเวลาต่อมา
  • 29. 3. การเปลี่ยนแปลงดา้นอื่นๆ ดา้นสิ่งแวดลอ้ม : ก่อให้เกิดการกระจายและแพร่พันธุ์สัตว์,พืช และเชื้อโรค เช่น ชาวดัตช์นาตน้กาแฟจากตะวันออกกลางมาปลูกที่เกาะ ชวาแทนเครื่องเทศที่ทา กา ไรไดน้้อยลงจนในที่สุดกาแฟไดเ้ป็น สินคา้หลักอย่างหนึ่งของภูมิภาคนี้ ทา ให้มีความรู้ดา้นภูมิศาสตรข์องชาติต่างๆ มากขึ้น มีการพัฒนาดา้นวิชาการและเทคโนโลยีมากขึ้น เช่น การสา รวจ อารยธรรมเก่าแก่ถูกทา ลาย ซึ่งทา ให้สภาพสังคม,เศรษฐกิจใน ดินแดนเหล่านี้มีการเปลี่ยนแปลง
  • 30. 1. น.ส.ณัฏฐธิดา จันทศรีสวัสด์ิม. 6.7 เลขที่ 20 2. น.ส.ศรสวรรค์ศรีรัตนาพร ม. 6.7 เลขที่ 28