SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 27
Baixar para ler offline
Rain Chain
เก็บน้้าฝนจากโซ่
Menu
ผู้จัดท้า

บทคัดย่อ

ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน

วัตถุประสงค์

ขอบเขต

ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน (ต่อ)

สมมติฐาน

ประโยชน์ที่ได้รับ

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

วิธีด้าเนินการ

วิธีการทดลอง (ต่อ1)

นิยามศัพท์

วิธีการทดลอง (ต่อ2)

ผลการทดลองตอนที่ 2

สรุปผลการทดลองตอนที่ 2

ผลการทดลองตอนที่ 3

วิธีการทดลอง
ผลการทดลองตอนที่ 1
สรุปผลการทดลองตอนที่ 1

สรุปผลการทดลองตอนที่ 3

อภิปรายผลการทดลอง

ปัญหาที่พบในการทดลอง

ข้อเสนอแนะ

ภาคผนวก ตอนที่ 1

ภาคผนวก ตอนที่ 2

ภาคผนวก ตอนที่ 3

แหล่งอ้างอิง
1.นางสาวสุทธิดา ธนะหมอก เลขที่ 35
2.นางสาวชนาพร เต๋จ๊ะใหม่ เลขที่ 36
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9
เสนอ
คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
Menu
บทคัดย่อ
การเก็บน้้าฝนด้วยโซ่ที่ไหลลงจากรางน้้าฝนเป็นทางเลือกที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย
ในปัจจุบัน ภาษาอังกฤษเรียกอุปกรณ์นี้ว่า Rain chain โดยทั่วไปจะใช้ห่วงโซ่โลหะ อย่าง
เดียวเป็นเส้นยาว หรือ ใช้โซ่ร่วมกับถ้วยโลหะต่อกัน ให้ยาวในแนวดิ่ง น้้าฝนจะไหลตาม
รางน้้าฝนวิ่งผ่าน Rain chain ลงท่อระบายน้้า หรือ ภาชนะเก็บ จากการศึกษาและ
เปรียบเทียบขนาดของโซ่ที่หาง่ายมาทดลองเปรียบเทียบปริมาณน้าที่เก็บได้โซ่ขนาดต่างๆ
้
โดยเปรียบเทียบกับขนาดของห่วงโซ่ จ้านวนโซ่ที่น้ามามัดรวมกัน และ โซ่ที่ร้อยติดกับขวด
น้้าขนาดต่างๆ เพื่อหาว่าโซ่ขนาดใด จ้านวนเท่าใด และ ขนาดของขวดที่น้ามาร้อยติดกับ
โซ่ขนาดใด ที่จะสามารถเก็บน้้าได้มากที่สุด จากการทดลองเปรียบเทียบพบว่า
1. โซ่เก็บน้้าขนาดเล็กสามารถเก็บน้้าได้มากกว่าโซ่ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
2. โซ่เก็บน้้า 3 เส้นสามารถเก็บน้้าได้มากกว่า 1 และ 2 เส้น
3.โซ่เก็บน้้าที่มีขวดพลาสติกขนาดใหญ่ต่ออยู่ด้วยสามารถเก็บน้้าได้มากว่าโซ่ที่มีขวด
พลาสติกขนาดเล็ก และ ขนาดกลางต่ออยู่

Menu
บทที่ 1
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
น้้าเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องการ และขาดไม่ได้ เพราะ เป็นจุดเริ่มต้นของ
ชีวิต ความอุดมสมบูรณ์ต่างๆมากมาย แต่เนื่องด้วยภัยจากภาวะโลกร้อน
ท้าให้เกิดความแปรปรวนของชั้นบรรยากาศ ท้าให้ฝนไม่ตกตามฤดูกาล
และ ความต้องการใช้น้าในชีวิตประจ้าวัน มีปริมาณมากขึ้นตามระดับจ้านวน
ประชากรที่เพิมสูงขึ้นในแต่ละปี ยิ่งท้าให้น้าเป็นทรัพยากรที่มีความส้าคัญ
่
มากยิ่งขึ้น และจะหาได้ยากที่สุด และเนื่องด้วยสภาพอากาศและความไม่
แน่นอนของฝนท้าให้ประชาชนขาดแคลนน้้าในการอุปโภค บริโภคใน
หน้าแล้ง และเกิดน้้าท่วมในหน้าฝนเพราะปริมาณฝนมากเกินไป

Menu
บทที่ 1
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน (ต่อ)
คณะผู้จัดท้าจึงได้ร่วมกันคิดหาวิธีการเก็บกักน้้าให้ได้มากที่สุดเพื่อให้
ประชาชนมีน้าใช้ในหน้าแล้ง โดยจัดหาวัสดุอุปกรณ์ได้ง่าย และราคาไม่
แพงจนเกินไป จนได้แนวคิดจากการเรียนวิชาฟิสิกส์เรื่องความตึงผิวและ
แรงดึงผิวของของไหล ที่สามารถให้น้าวิ่งบนห่วงโซ่จากที่สงไปหาที่ต่้าได้
ู
จึงท้าให้อยากทราบว่าจะใช้โซ่ขนาดใด จ้านวนเท่าใด และ ขนาดของขวดที่
น้ามาร้อยติดกับโซ่ขนาดใด ที่สามารถท้าให้น้าไหลลงไปในบีกเกอร์ได้มาก
ที่สุด

Menu
บทที่ 1
วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน
1. สร้างโซ่เก็บน้้าฝนจากวัสดุที่หาง่าย ราคาถูก
2. เพือศึกษาและเปรียบเทียบปริมาณน้้าที่จะไหลลงมาตามโซ่ขนาด
่
ต่างกัน
ขอบเขตของการจัดสร้างโครงงาน
1. ศึกษาเฉพาะโซ่เก็บน้้ารูปวงกลมเท่านั้น
2. ศึกษาการเก็บน้้าโดยใช้มม เฉพาะ 90 องศากับแนวระดับ เท่านั้น
ุ

Menu
บทที่ 1
สมมติฐาน
1.โซ่เก็บน้้าขนาดเล็กจะเก็บน้้าได้มากกว่าโซ่ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่
2.โซ่
2 เก็บน้้า 3 เส้นจะสามารถเก็บน้้าได้มากกว่า 1 และ 2 เส้น
3.โซ่
3 เก็บน้้าที่มีขวดพลาสติกขนาดใหญ่ต่ออยู่ด้วยจะสามารถเก็บน้้าได้มากว่าโซ่ที่มี
ขวดพลาสติกขนาดเล็ก และ ขนาดกลางต่ออยู่

ประโยชน์ที่ได้รับ
1.โซ่เก็บน้้าขนาดเล็กจะเก็บน้้าได้มากกว่าโซ่ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่
2.โซ่
2 เก็บน้้า 3 เส้นจะสามารถเก็บน้้าได้มากกว่า 1 และ 2 เส้น
3.โซ่
3 เก็บน้้าที่มีขวดพลาสติกขนาดใหญ่ต่ออยู่ด้วยจะสามารถเก็บน้้าได้มากว่าโซ่ที่มี
ขวดพลาสติกขนาดเล็ก และ ขนาดกลางต่ออยู่

Menu
บทที่ 1
นิยามศัพท์เฉพาะ
Rain chain คือ สายโซ่ที่ต่อลงมาจากรางน้้าฝน เพื่อระบายน้้าลงท่อระบายน้้า
ด้านล่างช่วยป้องกันไม่ให้น้าหยดลงมาขังหน้าบ้าน ป้องกันการลื่นล้มจากน้้าขัง และกัน
ไม่ให้น้าหยดใส่ศรษะคนเดินผ่านไปมาอีกด้วย
ี
โซ่ขนาดเล็ก คือ โซ่ที่ประกอบด้วยห่วงวงกลมที่มเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 2 เซนติเมตร
ี
โซ่ขนาดกลาง คือ โซ่ที่ประกอบด้วยห่วงวงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 3 เซนติเมตร
โซ่ขนาดใหญ่ คือ โซ่ที่ประกอบด้วยห่วงวงกลมที่มเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 3.5
ี
เซนติเมตร
ขวดขนาดเล็ก คือ ขวดพลาสติกทีสามารถบรรจุน้าได้ 600 มิลลิลตร
่
ิ
ขวดขนาดกลาง คือ ขวดพลาสติกทีสามารถบรรจุน้าได้ 750 มิลลิลตร
่
ิ
ขวดขนาดใหญ่ คือ ขวดพลาสติกทีสามารถบรรจุน้าได้ 1500 มิลลิลตร
่
ิ

Menu
บทที่ 2
เอกสารทีเกียวข้อง
่ ่
1.แรงยึดติด (Adhesive force) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
ต่างชนิดกัน เช่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้้ากับอนุภาคที่เป็น
องค์ประกอบในหลอดแก้วทีบรรจุน้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของ
่
น้้ากับอนุภาคในแผ่นไม้ เป็นต้น
2. แรงเชือมแน่น (Cohesive force) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
่
อนุภาคของสารชนิดเดียวกัน เช่นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้้า
กับน้้า แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของเอทานอล กับ เอทานอล เป็น
ต้น

Menu
บทที่ 3
วิธดาเนินการ
ี ้

วัสดุอปกรณ์
ุ
1. โซ่รูปวงกลม
2. ขวดน้้าพลาสติก
3. คัตเตอร์
4. กรรไกร
5. บีกเกอร์ขนาด 500 มิลลิลิตร 6. ค้อน
7. ตะปูขนาดใหญ่
8. น้้า
9. แผงไม้ยาว 1.5 เมตร กว้าง 1.5 เมตร

Menu
บทที่ 3
วิธการทดลอง
ี
ตอนที่ 1
1.น้
1. าห่วงโซ่ขนาดเล็กมาต่อกัน ให้ได้ 1 เส้น ขนาดกลาง 1 เส้น และ ขนาดใหญ่ 1 เส้น
2.น้
2 าตะปูมาตอกลงบนแผงไม้ที่เตรียมไว้โดยกะระยะห่างให้เท่าๆกัน เพื่อน้าโซ่ที่เตรียม
ไว้มาแขวน
3.น้
3 าโซ่ทั้ง 3 ขนาด (เล็ก กลาง ใหญ่) ไปแขวนไว้ที่ตะปูที่ตอกติดกับแผงไม้
4.วางบีกเกอร์จ้านวน 3 ใบไว้ใต้โซ่ที่แขวนไว้
4
5.เทน้
5 ้าจ้านวน 500 มิลลิลิตร ผ่านโซ่ขนาดเล็ก สังเกตปริมาณน้้าที่ไหลผ่านโซ่ลงในบีก
บี
เกอร์แล้วบันทึกผลการทดลอง
6.ท้
6 าการทดลองซ้้าโดยเปลี่ยนขนาดของโซ่เป็นขนาดกลาง และขนาดใหญ่ตามล้าดับ
บันทึกผลการทดลอง

Menu
บทที่ 3
วิธการทดลอง (ต่อ1)
ี
ตอนที่ 2
1.น้
1. าห่วงโซ่ขนาดเท่ากัน มาต่อกันเป็นสายยาว 3 เส้น
2.น้
2 าโซ่ 1 เส้นมาคล้องกับตะปูตรงกลางที่ตอกติดกับแผงไม้ในการทดลองครัง
้
ที่ 1
3.น้
3. าบีกเกอร์มาวางไว้ข้างล่างโซ่
4.เทน้
4 ้าจ้านวน 500 มิลลิลิตร ผ่านโซ่ สังเกตปริมาณน้้าที่ไหลผ่านโซ่ลงบีก
เกอร์ แล้วบันทึกผลการทดลอง
5.ท้
5 าการทดลองซ้าโดยเปลี่ยนโซ่ให้รวมกันเป็น 2 และ 3 สาย สังเกตและ
้
บันทึกผลการทดลองตามล้าดับ

Menu
บทที่ 3
วิธการทดลอง (ต่อ2)
ี
ตอนที่ 3
1.ตั
1. ดก้นขวดพลาสติกทั้ง 9 ขวดออก ประมาณ 1 เซนติเมตร
2.น้
2 าห่วงโซ่มาร้อยติดกับขวดน้าที่ตัดไว้โดยแบ่งเป็น 3 เส้น
้
1).ติดกับขวดขนาดเล็ก (600 มิลลิลิตร)
2).ติดกับขวดขนาดกลาง (750 มิลลิลิตร)
3).ติดกับขวดขนาดใหญ่ (1500 มิลลิลิตร)
3.น้
3 าโซ่ที่ร้อยติดกับขวดน้าขนาดเล็ก (600 มิลลิลิตร) ไปคล้องไว้กับตะปูตรงกลางที่ตอกติดกับ แผง
้
ไม้ในการทดลองครั้งที่ 1
4.เทน้
4 ้าจ้านวน 500 มิลลิลิตร ผ่านโซ่ที่ร้อยติดกับขวดน้้าขนาดเล็ก (600 มิลลิลิตร) สังเกตปริมาณ
น้้าทีไหลผ่านโซ่ลงบีกเกอร์ แล้วบันทึกผลการทดลอง
5.ท้
5 าการทดลองซ้้าโดยเปลี่ยนเป็นโซ่ที่ร้อยติดกับขวดน้าขนาดกลาง (750 มิลลิลิตร) และ โซ่ที่ร้อยติด
้
ที
กับขวดน้าขนาดใหญ่ ( 1500 มิลลิลิตร ) สังเกตและบันทึกผลการทดลองตามล้าดับ
้

Menu
บทที่ 4
ผลการทดลอง

ตารางแสดงผลการทดลอง ตอนที่ 1

Menu
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ตารางแสดงผลการทดลอง ตอนที่ 2

Menu
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ตารางแสดงผลการทดลอง ตอนที่ 3

Menu
บทที่ 5
สรุปผลการทดลอง
(ตอนที่ 1) กราฟแสดงการเปรียบเทียบการไหลของน้้าผ่านโซ่แต่ละขนาด
600
500
400
300

วงกลมขนาดเล็ก

200

วงกลมขนาดกลาง

100

วงกลมขนาดใหญ่

0
ครั้งที่ 1

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 3

เฉลี่ย(ml.)

จากกราฟ โซ่ขนาดเล็ก
สามารถเก็บน้้าได้มาก
ที่สุด คือ 460
มิลลิลิตร และ โซ่
ขนาดใหญ่เก็บน้าได้
้
น้อยทีสุด คือ 396.67
่
มิลลิลิตร จากปริมาณ
น้้า 500 มิลลิลตร
ิ

ปริ มาณน้ า (ml.)
ผลการทดลอง

Menu
บทที่ 5
สรุปผลการทดลอง
(ตอนที่ 2 ) กราฟแสดงการเปรียบเทียบการไหลของน้้าผ่านโซ่ที่มดรวมกัน ( 1,2,3 เส้น )
ั
600
500
400
300

โซ่ 1 เส้น

200

โซ่ 2 เส้น
โซ่ 3 เส้น

100
0
ครั้งที่ 1

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 3

ปริ มาณน้ า (ml.)
ผลการทดลอง

เฉลี่ย

จากกราฟ โซ่ที่มัด
รวมกัน 3 เส้นสามารถ
เก็บน้้าได้มากที่สุด คือ
473.33 มิลลิลิตร และ
โซ่ที่มัดรวมกัน 1 เส้น
สามารถเก็บน้้าได้น้อย
ที่สุด คือ 401.67
มิลลิลิตร

Menu
บทที่ 5
สรุปผลการทดลอง
(ตอนที่ 3 ) กราฟแสดงการเปรียบเทียบการไหลของน้้าผ่านโซ่ที่ร้อยติดกับขวดน้้าขนาด
เล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่
จากกราฟ โซ่ที่ร้อยติดกับ

500
490
480
470
460
450
440
430
420
410
400

โซ่ที่ร้อยติดกับขวดขนาดเล็ก
โซ่ที่ร้อยติดกับขวดขนาดกลาง
โซ่ที่ร้อยติดกับขวดขนาดใหญ่

ครั้งที่ 1

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 3

ปริ มาณน้ า (ml.)
ผลการทดลอง

เฉลี่ย

ขวดขนาดใหญ่สามารถ
เก็บน้้าได้มากที่สุด คือ
488.33มิลลิลิตร และ โซ่
ที่ร้อยติดกับขวดขนาดเล็ก
สามารถเก็บน้้าได้น้อย
ที่สุด คือ 443.33
มิลลิลิตร

Menu
บทที่ 5
อภิปรายผลจากการวิเคราะห์
1.การสร้างที่เก็บน้้าฝนด้วยโซ่ มีประสิทธิภาพที่ดี สามารถเก็บน้้าฝนได้จริง
2.เปรี
2 ยบเทียบขนาดของโซ่ด้านการกักเก็บน้้า

ปัญหาที่พบในการทดลอง
ในการทดลองทั้ง 3 ครั้ง ประสบปัญหาโซ่หลุดออกจากกันในขณะท้า
การทดลอง ท้าให้ผลการทดลองคลาดเคลือนไป เป็นผลท้าให้ต้องเสียเวลา
่
กลับมาท้าการทดลองอีกครั้ง แก้ปัญหาโดย น้าค้อนตอกปลายห่วงโซ่ 2 ด้าน
ให้ติดกันมากขึ้น

Menu
บทที่ 5
ข้อเสนอแนะ

1. อาจใช้ห่วงพลาสติก อะลูมิเนียม หรือ วัสดุที่มีขนาดเบามาท้าการ
ทดลองได้
2.
2 โครงงานนี้ควรได้รับการน้าไปต่อยอดสร้างสรรค์ และ เผยแพร่ให้แก่
ผู้สนใจต่อไป

Menu
ภาคผนวก
ตอนที่ 1

รูปที่ 1 คือ น้าห่วงโซ่
ขนาดเล็กมาต่อกัน
ให้ได้ 1 เส้น ขนาด
กลาง 1 เส้น และ
ขนาดใหญ่ 1 เส้น

รูปที่ 2 คือ น้าโซ่ทั้ง
3 ขนาด (เล็ก กลาง
ใหญ่) ไปแขวนไว้ที่
ตะปูที่ตอกติดกับ
แผงไม้

รูปที่ 4 และ 5 คือ ขณะที่น้าไหลลง
มาตามโซ่ (ผลการทดลองตอนที่ 1 )

Menu
ภาคผนวก
ตอนที่ 2

รูปที่ 1 2 และ 3 คือ น้าห่วงโซ่ขนาดเท่ากัน
มาต่อกันเป็นสายยาว 3 เส้น
แล้วมาคล้องกับตะปูที่ตอกติดกับแผงไม้ใน
การทดลองครั้งที่ 1

รูปที่ 4 และ5 คือ ท้าการ
ทดลองโดยเทน้้าจ้านวน 500
มิลลิลิตรลงบนโซ่ สังเกต และ
บันทึกผลการทดลอง

Menu
ภาคผนวก
ตอนที่ 3

รูปที่ 1 คือ ขวดน้้า
ทั้ง 3 ขนาด ที่
น้ามาท้าการทดลอง

Menu

รูปที่ 2 คือ ตัด
ขวดน้้าทั้ง 3
ขนาดให้เหลือแค่
ส่วนบนของขวด

รูปที่ 3 คือ น้าโซ่ที่
ร้อยติดกับขวด
พลาสติกไปแขวนไว้
ที่แผงไม้ของการ
ทดลองครั้งที่ 1

รูปที่ 4 คือ ท้าการ
ทดลองโดยเทน้้า
จ้านวน 500
มิลลิลิตรลงบนโซ่
สังเกต และ บันทึก
ผลการทดลอง
แหล่งอ้างอิง
คมกฤษณ์ ติณจินดา.(2556).Hot Hit Admissions ฟิสกส์.ส้านักพิมพ์แพนสยาม :
ิ
บริษัท ส้านักพิมพ์แพนสยาม จ้ากัด
แหล่งออนไลน์
:www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/3/gas/gas/dat
/gas/gas/dat
a4.htm (16 กรกฎาคม 2556)
แหล่งออนไลน์
:www.promma.ac.th/main/chemistry/solid_liquid_gas/adhesive_cohes
www.promma.ac.th/main/chemistry/solid_liquid_gas/adhesive_cohes
ive.htm
(16 กรกฎาคม 2556 )

Menu

End
จบการน้าเสนอ

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Mojih 5 dana u italiji
Mojih 5 dana u italijiMojih 5 dana u italiji
Mojih 5 dana u italijiDominik Bek
 
Prova inserimento
Prova inserimento Prova inserimento
Prova inserimento anth74
 
Global Sustainability Jam Hong Kong 2013
Global Sustainability Jam Hong Kong 2013Global Sustainability Jam Hong Kong 2013
Global Sustainability Jam Hong Kong 2013Beth Liang
 

Destaque (6)

Mojih 5 dana u italiji
Mojih 5 dana u italijiMojih 5 dana u italiji
Mojih 5 dana u italiji
 
6 ip
6 ip6 ip
6 ip
 
Prova inserimento
Prova inserimento Prova inserimento
Prova inserimento
 
onet ปี51
onet ปี51onet ปี51
onet ปี51
 
Global Sustainability Jam Hong Kong 2013
Global Sustainability Jam Hong Kong 2013Global Sustainability Jam Hong Kong 2013
Global Sustainability Jam Hong Kong 2013
 
1 network intro
1 network intro1 network intro
1 network intro
 

Semelhante a Rain chain 609

Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Chayanis
 
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Chayanis
 
บทที่ 1 อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
บทที่ 1  อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะบทที่ 1  อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
บทที่ 1 อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะozonehome
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ทับทิม เจริญตา
 
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Suwaraporn Chaiyajina
 
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Theyok Tanya
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554Postharvest Technology Innovation Center
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์Aus2537
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiKrissana Manoping
 

Semelhante a Rain chain 609 (20)

วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3
 
Pat3
Pat3Pat3
Pat3
 
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
 
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
 
บทที่ 1 อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
บทที่ 1  อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะบทที่ 1  อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
บทที่ 1 อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
 
คอนไทย
คอนไทยคอนไทย
คอนไทย
 
วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
กิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัดกิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัด
 
Pat3
Pat3Pat3
Pat3
 
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
 
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
Pat3ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
 
Pat3 53
Pat3 53Pat3 53
Pat3 53
 
Biology m4
Biology m4Biology m4
Biology m4
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
Postharvest Newsletter ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2554
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
 
Pat3153
Pat3153Pat3153
Pat3153
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thai
 

Rain chain 609

  • 2. ผู้จัดท้า บทคัดย่อ ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ ขอบเขต ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน (ต่อ) สมมติฐาน ประโยชน์ที่ได้รับ เอกสารที่เกี่ยวข้อง วิธีด้าเนินการ วิธีการทดลอง (ต่อ1) นิยามศัพท์ วิธีการทดลอง (ต่อ2) ผลการทดลองตอนที่ 2 สรุปผลการทดลองตอนที่ 2 ผลการทดลองตอนที่ 3 วิธีการทดลอง ผลการทดลองตอนที่ 1 สรุปผลการทดลองตอนที่ 1 สรุปผลการทดลองตอนที่ 3 อภิปรายผลการทดลอง ปัญหาที่พบในการทดลอง ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก ตอนที่ 1 ภาคผนวก ตอนที่ 2 ภาคผนวก ตอนที่ 3 แหล่งอ้างอิง
  • 3. 1.นางสาวสุทธิดา ธนะหมอก เลขที่ 35 2.นางสาวชนาพร เต๋จ๊ะใหม่ เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/9 เสนอ คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ Menu
  • 4. บทคัดย่อ การเก็บน้้าฝนด้วยโซ่ที่ไหลลงจากรางน้้าฝนเป็นทางเลือกที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย ในปัจจุบัน ภาษาอังกฤษเรียกอุปกรณ์นี้ว่า Rain chain โดยทั่วไปจะใช้ห่วงโซ่โลหะ อย่าง เดียวเป็นเส้นยาว หรือ ใช้โซ่ร่วมกับถ้วยโลหะต่อกัน ให้ยาวในแนวดิ่ง น้้าฝนจะไหลตาม รางน้้าฝนวิ่งผ่าน Rain chain ลงท่อระบายน้้า หรือ ภาชนะเก็บ จากการศึกษาและ เปรียบเทียบขนาดของโซ่ที่หาง่ายมาทดลองเปรียบเทียบปริมาณน้าที่เก็บได้โซ่ขนาดต่างๆ ้ โดยเปรียบเทียบกับขนาดของห่วงโซ่ จ้านวนโซ่ที่น้ามามัดรวมกัน และ โซ่ที่ร้อยติดกับขวด น้้าขนาดต่างๆ เพื่อหาว่าโซ่ขนาดใด จ้านวนเท่าใด และ ขนาดของขวดที่น้ามาร้อยติดกับ โซ่ขนาดใด ที่จะสามารถเก็บน้้าได้มากที่สุด จากการทดลองเปรียบเทียบพบว่า 1. โซ่เก็บน้้าขนาดเล็กสามารถเก็บน้้าได้มากกว่าโซ่ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ 2. โซ่เก็บน้้า 3 เส้นสามารถเก็บน้้าได้มากกว่า 1 และ 2 เส้น 3.โซ่เก็บน้้าที่มีขวดพลาสติกขนาดใหญ่ต่ออยู่ด้วยสามารถเก็บน้้าได้มากว่าโซ่ที่มีขวด พลาสติกขนาดเล็ก และ ขนาดกลางต่ออยู่ Menu
  • 5. บทที่ 1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน น้้าเป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องการ และขาดไม่ได้ เพราะ เป็นจุดเริ่มต้นของ ชีวิต ความอุดมสมบูรณ์ต่างๆมากมาย แต่เนื่องด้วยภัยจากภาวะโลกร้อน ท้าให้เกิดความแปรปรวนของชั้นบรรยากาศ ท้าให้ฝนไม่ตกตามฤดูกาล และ ความต้องการใช้น้าในชีวิตประจ้าวัน มีปริมาณมากขึ้นตามระดับจ้านวน ประชากรที่เพิมสูงขึ้นในแต่ละปี ยิ่งท้าให้น้าเป็นทรัพยากรที่มีความส้าคัญ ่ มากยิ่งขึ้น และจะหาได้ยากที่สุด และเนื่องด้วยสภาพอากาศและความไม่ แน่นอนของฝนท้าให้ประชาชนขาดแคลนน้้าในการอุปโภค บริโภคใน หน้าแล้ง และเกิดน้้าท่วมในหน้าฝนเพราะปริมาณฝนมากเกินไป Menu
  • 6. บทที่ 1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน (ต่อ) คณะผู้จัดท้าจึงได้ร่วมกันคิดหาวิธีการเก็บกักน้้าให้ได้มากที่สุดเพื่อให้ ประชาชนมีน้าใช้ในหน้าแล้ง โดยจัดหาวัสดุอุปกรณ์ได้ง่าย และราคาไม่ แพงจนเกินไป จนได้แนวคิดจากการเรียนวิชาฟิสิกส์เรื่องความตึงผิวและ แรงดึงผิวของของไหล ที่สามารถให้น้าวิ่งบนห่วงโซ่จากที่สงไปหาที่ต่้าได้ ู จึงท้าให้อยากทราบว่าจะใช้โซ่ขนาดใด จ้านวนเท่าใด และ ขนาดของขวดที่ น้ามาร้อยติดกับโซ่ขนาดใด ที่สามารถท้าให้น้าไหลลงไปในบีกเกอร์ได้มาก ที่สุด Menu
  • 7. บทที่ 1 วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน 1. สร้างโซ่เก็บน้้าฝนจากวัสดุที่หาง่าย ราคาถูก 2. เพือศึกษาและเปรียบเทียบปริมาณน้้าที่จะไหลลงมาตามโซ่ขนาด ่ ต่างกัน ขอบเขตของการจัดสร้างโครงงาน 1. ศึกษาเฉพาะโซ่เก็บน้้ารูปวงกลมเท่านั้น 2. ศึกษาการเก็บน้้าโดยใช้มม เฉพาะ 90 องศากับแนวระดับ เท่านั้น ุ Menu
  • 8. บทที่ 1 สมมติฐาน 1.โซ่เก็บน้้าขนาดเล็กจะเก็บน้้าได้มากกว่าโซ่ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่ 2.โซ่ 2 เก็บน้้า 3 เส้นจะสามารถเก็บน้้าได้มากกว่า 1 และ 2 เส้น 3.โซ่ 3 เก็บน้้าที่มีขวดพลาสติกขนาดใหญ่ต่ออยู่ด้วยจะสามารถเก็บน้้าได้มากว่าโซ่ที่มี ขวดพลาสติกขนาดเล็ก และ ขนาดกลางต่ออยู่ ประโยชน์ที่ได้รับ 1.โซ่เก็บน้้าขนาดเล็กจะเก็บน้้าได้มากกว่าโซ่ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่ 2.โซ่ 2 เก็บน้้า 3 เส้นจะสามารถเก็บน้้าได้มากกว่า 1 และ 2 เส้น 3.โซ่ 3 เก็บน้้าที่มีขวดพลาสติกขนาดใหญ่ต่ออยู่ด้วยจะสามารถเก็บน้้าได้มากว่าโซ่ที่มี ขวดพลาสติกขนาดเล็ก และ ขนาดกลางต่ออยู่ Menu
  • 9. บทที่ 1 นิยามศัพท์เฉพาะ Rain chain คือ สายโซ่ที่ต่อลงมาจากรางน้้าฝน เพื่อระบายน้้าลงท่อระบายน้้า ด้านล่างช่วยป้องกันไม่ให้น้าหยดลงมาขังหน้าบ้าน ป้องกันการลื่นล้มจากน้้าขัง และกัน ไม่ให้น้าหยดใส่ศรษะคนเดินผ่านไปมาอีกด้วย ี โซ่ขนาดเล็ก คือ โซ่ที่ประกอบด้วยห่วงวงกลมที่มเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 2 เซนติเมตร ี โซ่ขนาดกลาง คือ โซ่ที่ประกอบด้วยห่วงวงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 3 เซนติเมตร โซ่ขนาดใหญ่ คือ โซ่ที่ประกอบด้วยห่วงวงกลมที่มเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 3.5 ี เซนติเมตร ขวดขนาดเล็ก คือ ขวดพลาสติกทีสามารถบรรจุน้าได้ 600 มิลลิลตร ่ ิ ขวดขนาดกลาง คือ ขวดพลาสติกทีสามารถบรรจุน้าได้ 750 มิลลิลตร ่ ิ ขวดขนาดใหญ่ คือ ขวดพลาสติกทีสามารถบรรจุน้าได้ 1500 มิลลิลตร ่ ิ Menu
  • 10. บทที่ 2 เอกสารทีเกียวข้อง ่ ่ 1.แรงยึดติด (Adhesive force) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค ต่างชนิดกัน เช่น แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้้ากับอนุภาคที่เป็น องค์ประกอบในหลอดแก้วทีบรรจุน้าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของ ่ น้้ากับอนุภาคในแผ่นไม้ เป็นต้น 2. แรงเชือมแน่น (Cohesive force) คือ แรงยึดเหนี่ยวระหว่าง ่ อนุภาคของสารชนิดเดียวกัน เช่นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของน้้า กับน้้า แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของเอทานอล กับ เอทานอล เป็น ต้น Menu
  • 11. บทที่ 3 วิธดาเนินการ ี ้ วัสดุอปกรณ์ ุ 1. โซ่รูปวงกลม 2. ขวดน้้าพลาสติก 3. คัตเตอร์ 4. กรรไกร 5. บีกเกอร์ขนาด 500 มิลลิลิตร 6. ค้อน 7. ตะปูขนาดใหญ่ 8. น้้า 9. แผงไม้ยาว 1.5 เมตร กว้าง 1.5 เมตร Menu
  • 12. บทที่ 3 วิธการทดลอง ี ตอนที่ 1 1.น้ 1. าห่วงโซ่ขนาดเล็กมาต่อกัน ให้ได้ 1 เส้น ขนาดกลาง 1 เส้น และ ขนาดใหญ่ 1 เส้น 2.น้ 2 าตะปูมาตอกลงบนแผงไม้ที่เตรียมไว้โดยกะระยะห่างให้เท่าๆกัน เพื่อน้าโซ่ที่เตรียม ไว้มาแขวน 3.น้ 3 าโซ่ทั้ง 3 ขนาด (เล็ก กลาง ใหญ่) ไปแขวนไว้ที่ตะปูที่ตอกติดกับแผงไม้ 4.วางบีกเกอร์จ้านวน 3 ใบไว้ใต้โซ่ที่แขวนไว้ 4 5.เทน้ 5 ้าจ้านวน 500 มิลลิลิตร ผ่านโซ่ขนาดเล็ก สังเกตปริมาณน้้าที่ไหลผ่านโซ่ลงในบีก บี เกอร์แล้วบันทึกผลการทดลอง 6.ท้ 6 าการทดลองซ้้าโดยเปลี่ยนขนาดของโซ่เป็นขนาดกลาง และขนาดใหญ่ตามล้าดับ บันทึกผลการทดลอง Menu
  • 13. บทที่ 3 วิธการทดลอง (ต่อ1) ี ตอนที่ 2 1.น้ 1. าห่วงโซ่ขนาดเท่ากัน มาต่อกันเป็นสายยาว 3 เส้น 2.น้ 2 าโซ่ 1 เส้นมาคล้องกับตะปูตรงกลางที่ตอกติดกับแผงไม้ในการทดลองครัง ้ ที่ 1 3.น้ 3. าบีกเกอร์มาวางไว้ข้างล่างโซ่ 4.เทน้ 4 ้าจ้านวน 500 มิลลิลิตร ผ่านโซ่ สังเกตปริมาณน้้าที่ไหลผ่านโซ่ลงบีก เกอร์ แล้วบันทึกผลการทดลอง 5.ท้ 5 าการทดลองซ้าโดยเปลี่ยนโซ่ให้รวมกันเป็น 2 และ 3 สาย สังเกตและ ้ บันทึกผลการทดลองตามล้าดับ Menu
  • 14. บทที่ 3 วิธการทดลอง (ต่อ2) ี ตอนที่ 3 1.ตั 1. ดก้นขวดพลาสติกทั้ง 9 ขวดออก ประมาณ 1 เซนติเมตร 2.น้ 2 าห่วงโซ่มาร้อยติดกับขวดน้าที่ตัดไว้โดยแบ่งเป็น 3 เส้น ้ 1).ติดกับขวดขนาดเล็ก (600 มิลลิลิตร) 2).ติดกับขวดขนาดกลาง (750 มิลลิลิตร) 3).ติดกับขวดขนาดใหญ่ (1500 มิลลิลิตร) 3.น้ 3 าโซ่ที่ร้อยติดกับขวดน้าขนาดเล็ก (600 มิลลิลิตร) ไปคล้องไว้กับตะปูตรงกลางที่ตอกติดกับ แผง ้ ไม้ในการทดลองครั้งที่ 1 4.เทน้ 4 ้าจ้านวน 500 มิลลิลิตร ผ่านโซ่ที่ร้อยติดกับขวดน้้าขนาดเล็ก (600 มิลลิลิตร) สังเกตปริมาณ น้้าทีไหลผ่านโซ่ลงบีกเกอร์ แล้วบันทึกผลการทดลอง 5.ท้ 5 าการทดลองซ้้าโดยเปลี่ยนเป็นโซ่ที่ร้อยติดกับขวดน้าขนาดกลาง (750 มิลลิลิตร) และ โซ่ที่ร้อยติด ้ ที กับขวดน้าขนาดใหญ่ ( 1500 มิลลิลิตร ) สังเกตและบันทึกผลการทดลองตามล้าดับ ้ Menu
  • 18. บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง (ตอนที่ 1) กราฟแสดงการเปรียบเทียบการไหลของน้้าผ่านโซ่แต่ละขนาด 600 500 400 300 วงกลมขนาดเล็ก 200 วงกลมขนาดกลาง 100 วงกลมขนาดใหญ่ 0 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย(ml.) จากกราฟ โซ่ขนาดเล็ก สามารถเก็บน้้าได้มาก ที่สุด คือ 460 มิลลิลิตร และ โซ่ ขนาดใหญ่เก็บน้าได้ ้ น้อยทีสุด คือ 396.67 ่ มิลลิลิตร จากปริมาณ น้้า 500 มิลลิลตร ิ ปริ มาณน้ า (ml.) ผลการทดลอง Menu
  • 19. บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง (ตอนที่ 2 ) กราฟแสดงการเปรียบเทียบการไหลของน้้าผ่านโซ่ที่มดรวมกัน ( 1,2,3 เส้น ) ั 600 500 400 300 โซ่ 1 เส้น 200 โซ่ 2 เส้น โซ่ 3 เส้น 100 0 ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ปริ มาณน้ า (ml.) ผลการทดลอง เฉลี่ย จากกราฟ โซ่ที่มัด รวมกัน 3 เส้นสามารถ เก็บน้้าได้มากที่สุด คือ 473.33 มิลลิลิตร และ โซ่ที่มัดรวมกัน 1 เส้น สามารถเก็บน้้าได้น้อย ที่สุด คือ 401.67 มิลลิลิตร Menu
  • 20. บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง (ตอนที่ 3 ) กราฟแสดงการเปรียบเทียบการไหลของน้้าผ่านโซ่ที่ร้อยติดกับขวดน้้าขนาด เล็ก ขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่ จากกราฟ โซ่ที่ร้อยติดกับ 500 490 480 470 460 450 440 430 420 410 400 โซ่ที่ร้อยติดกับขวดขนาดเล็ก โซ่ที่ร้อยติดกับขวดขนาดกลาง โซ่ที่ร้อยติดกับขวดขนาดใหญ่ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 ปริ มาณน้ า (ml.) ผลการทดลอง เฉลี่ย ขวดขนาดใหญ่สามารถ เก็บน้้าได้มากที่สุด คือ 488.33มิลลิลิตร และ โซ่ ที่ร้อยติดกับขวดขนาดเล็ก สามารถเก็บน้้าได้น้อย ที่สุด คือ 443.33 มิลลิลิตร Menu
  • 21. บทที่ 5 อภิปรายผลจากการวิเคราะห์ 1.การสร้างที่เก็บน้้าฝนด้วยโซ่ มีประสิทธิภาพที่ดี สามารถเก็บน้้าฝนได้จริง 2.เปรี 2 ยบเทียบขนาดของโซ่ด้านการกักเก็บน้้า ปัญหาที่พบในการทดลอง ในการทดลองทั้ง 3 ครั้ง ประสบปัญหาโซ่หลุดออกจากกันในขณะท้า การทดลอง ท้าให้ผลการทดลองคลาดเคลือนไป เป็นผลท้าให้ต้องเสียเวลา ่ กลับมาท้าการทดลองอีกครั้ง แก้ปัญหาโดย น้าค้อนตอกปลายห่วงโซ่ 2 ด้าน ให้ติดกันมากขึ้น Menu
  • 22. บทที่ 5 ข้อเสนอแนะ 1. อาจใช้ห่วงพลาสติก อะลูมิเนียม หรือ วัสดุที่มีขนาดเบามาท้าการ ทดลองได้ 2. 2 โครงงานนี้ควรได้รับการน้าไปต่อยอดสร้างสรรค์ และ เผยแพร่ให้แก่ ผู้สนใจต่อไป Menu
  • 23. ภาคผนวก ตอนที่ 1 รูปที่ 1 คือ น้าห่วงโซ่ ขนาดเล็กมาต่อกัน ให้ได้ 1 เส้น ขนาด กลาง 1 เส้น และ ขนาดใหญ่ 1 เส้น รูปที่ 2 คือ น้าโซ่ทั้ง 3 ขนาด (เล็ก กลาง ใหญ่) ไปแขวนไว้ที่ ตะปูที่ตอกติดกับ แผงไม้ รูปที่ 4 และ 5 คือ ขณะที่น้าไหลลง มาตามโซ่ (ผลการทดลองตอนที่ 1 ) Menu
  • 24. ภาคผนวก ตอนที่ 2 รูปที่ 1 2 และ 3 คือ น้าห่วงโซ่ขนาดเท่ากัน มาต่อกันเป็นสายยาว 3 เส้น แล้วมาคล้องกับตะปูที่ตอกติดกับแผงไม้ใน การทดลองครั้งที่ 1 รูปที่ 4 และ5 คือ ท้าการ ทดลองโดยเทน้้าจ้านวน 500 มิลลิลิตรลงบนโซ่ สังเกต และ บันทึกผลการทดลอง Menu
  • 25. ภาคผนวก ตอนที่ 3 รูปที่ 1 คือ ขวดน้้า ทั้ง 3 ขนาด ที่ น้ามาท้าการทดลอง Menu รูปที่ 2 คือ ตัด ขวดน้้าทั้ง 3 ขนาดให้เหลือแค่ ส่วนบนของขวด รูปที่ 3 คือ น้าโซ่ที่ ร้อยติดกับขวด พลาสติกไปแขวนไว้ ที่แผงไม้ของการ ทดลองครั้งที่ 1 รูปที่ 4 คือ ท้าการ ทดลองโดยเทน้้า จ้านวน 500 มิลลิลิตรลงบนโซ่ สังเกต และ บันทึก ผลการทดลอง
  • 26. แหล่งอ้างอิง คมกฤษณ์ ติณจินดา.(2556).Hot Hit Admissions ฟิสกส์.ส้านักพิมพ์แพนสยาม : ิ บริษัท ส้านักพิมพ์แพนสยาม จ้ากัด แหล่งออนไลน์ :www.atom.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/286/2/3/gas/gas/dat /gas/gas/dat a4.htm (16 กรกฎาคม 2556) แหล่งออนไลน์ :www.promma.ac.th/main/chemistry/solid_liquid_gas/adhesive_cohes www.promma.ac.th/main/chemistry/solid_liquid_gas/adhesive_cohes ive.htm (16 กรกฎาคม 2556 ) Menu End