SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Baixar para ler offline
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
1. ตาแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง(Place and Manner of Articulation)
ในการแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆในภาษานั้น
การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงจะเกิดขึ้น ณ จุดต่างๆ (Place of Articulation) ภายในช่องออกเสียง(Vocal
Tract) ของเรา ในบทนี้จะกล่าวถึงบริเวณต่างๆ ที่มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นตาแหน่งที่เกิดของเสียงในภาษา
ต่างๆ ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation) แบบต่างๆ ที่สามารถจะเกิดขึ้นได้ในภาษา
ต่างๆ โดยละเอียด โดยจะยกตัวอย่างเสียงต่างในภาษาประกอบด้วย
ตาแหน่งเกิดเสียง (place of articulation, point of articulation) ในทางสัทศาสตร์ เป็นตาแหน่งกาเนิดเสียง
พยัญชนะคือตาแหน่งในช่องเสียง (vocal tract) ที่เกิดการกีดขวาง จากการเคลื่อนตาแหน่งของกรณ์ (โดย
ปกติคือ บางส่วนของลิ้น) และฐาน (ปกติคือ บางส่วนของเพดานปาก) โดยเมื่อรวมกับลักษณะการออก
เสียง (manner of articulation) และการเปล่งเสียงพูด (phonation) ทาให้เกิดเสียงพยัญชนะที่แตกต่างกัน
ตาแหน่งของการเกิดเสียงบริเวณต่างๆ (Place of Articulation)
คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง
โดยรวม แต่ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น2
กลุ่ม คือ
1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐาน
ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้
- ริมฝีปากบน (upper lip)
- ฟันบน (upper teeth)
- ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge)
- เพดานแข็ง (hard palate)
- เพดานอ่อน (soft palate หรือ velum)
- ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบน
ของช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่ง
ได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ
- ริมฝีปากล่าง (Lower lip)
- ลิ้น (tongue) ซึ่งเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ใน
บทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแกเสียง ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น กระแสอา
กาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกัก
กั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้(Active Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้า
ไปใกล้, หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator) เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกัก
กั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแส
อากาศหรือที่เรียกว่าลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation)ณ จุดเกิดเสียงต่างๆกัน และคาที่ใช้
สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่
Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียง
แรกของคาว่า“my” ในภาษอังกฤษ เสียงแรกของคาว่า “ปู” ในภาษาไทย
Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบน
ด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “เฝ้า” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “van” ในภาษาอังกฤษ
Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัด
จากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ
Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจากปลายลิ้นหรือ
ส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่น เสียงแรกของคาว่า “นก” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคา
ว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ
Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับ
เพดานแข็ง) เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface) หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วน
ปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงตัว “ร” หรือ “ส” ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของ
ภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียง และเสียง “r” ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง
Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจากการ
ใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคา
ว่า “show” ในภาษาอังกฤษ
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue)
เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก” ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรก
ของคาว่า “nyamuk” ในภาษามาเลเซีย ซึ่งแปลว่า ยุง
Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหา
เพดานอ่อน เช่น เสียงแรกของคาว่า “คน” ในภาษาไทย เสียงแรกของคาว่า “give” ในภาษาอังกฤษ
Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียง
แรกของคาว่า “rouge” ในภาษาฝรั่งเศส
Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้าน
หลังเข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง เช่น เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง” ในภาษาอาหรับ ([?amm])
Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง) เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอาจจะเคลื่อน
เข้ามาติดกัน เช่น เสียงแรกของคาว่า “home” ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่” ในภาษาไทย
Credit : https://encrypted-tbn3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQACFdzeEVDx_OGvLZy4w89HQRlVK2yRnAZqj9tM4yGsif8D7-Y
Credit : http://nkw05169new.circlecamp.com/upload/pic00001_1392718021.gif
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
ตารางการออกเสียงและฐานกรณ์
ลักษณะการออกเสียง ฐานกรณ์
โอษฐชะ/เสียงจากริมฝีปาก (Labial) เสียงจากริมฝีปากคู่ (Bilabial)
เสียงจากริมฝีปากล่าง-ฟันบน (Labiodental)
ส่วนโพรงช่องปาก
(Coronal)
เสียงใช้ปลายลิ้น
(Laminal)
เสียงจากลิ้น-ริมฝีปากบน (Linguolabial)
เสียงลิ้นระหว่างฟัน (Interdental)
เสียงใช้ปลายลิ้น-ฟัน (Laminal en:dentaldental)
เสียงใช้ปลายลิ้น-ฟัน-ปุ่มเหงือก (Laminal denti-alveolar)
เสียงใช้ปลายลิ้น-ปุ่มเหงือก (Laminal alveolar)
เสียงใช้ปลายลิ้น-หลังปุ่มเหงือก (Laminal postalveolar)
("เสียงปลายลิ้นม้วน" - retroflex #1)
เสียงโก่งลิ้น (Domed)
(โก่งกลางลิ้นโค้งขึ้น
เป็นทรงกลม
สัมผัสเพดานแข็ง
บางส่วน)
เสียงโก่งลิ้น-หลังปุ่มเหงือก (Domed postalveolar)
("เสียงจากลิ้น-หลังปุ่มเหงือก" - palato-alveolar)
เสียงใช้เพดานแข็ง เสียงจากเพดานแข็ง-หลังปุ่มเหงือก (Palatalized postalveolar)
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
(Palatalized) ("เสียงจากปุ่มเหงือก-เพดานแข็ง" - alveolo-palatal)
เสียงใช้ปลายสุดลิ้น
(Apical)
เสียงจากปลายสุดลิ้น-ฟัน (Apical dental)
เสียงจากปลายสุดลิ้น-ปุ่มเหงือก (Apical alveolar)
เสียงจากปลายสุดลิ้น-หลังปุ่มเหงือก (Apical postalveolar)
("เสียงปลายลิ้นม้วน" #2)
เสียงใช้ใต้ปลายสุดลิ้น
(Sub-apical)
เสียงจากใต้ปลายสุดลิ้น-(หน้า)เพดานแข็ง (Sub-apical (pre)palatal)
("เสียงปลายลิ้นม้วน" #3)
หลังลิ้น (Dorsal) หน้าเพดานแข็ง (Prepalatal)
เสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (Palatal)
เสียงจากหน้าเพดานอ่อน (Prevelar or medio-palatal)
เสียงจากเพดานอ่อน (Velar)
เสียงจากหลังเพดานอ่อน (Postvelar)
เสียงจากลิ้นไก่ (Uvular)
โคนลิ้นในช่องคอ (Radical) เสียงจากช่องคอส่วนบน (Upper pharyngeal)
เสียงจากช่องคอส่วนล่าง (Lower pharyngeal)
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
เสียงพยัญชนะจากลิ้นปิดกล่องเสียง-ช่องคอ (Epiglotto-pharyngeal)
เสียงพยัญชนะจากลิ้นปิดกล่องเสียง ((Ary-)epiglottal)
กล่องเสียง (Laryngeal) เสียงจากเส้นเสียง (Glottal)
2. สัญลักษณ์แทนเสียงสากล (Phonetics)
 สระ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่าง เทียบเสียงในภาษาไทย
i: see /si:/ อี
i any /'eni/ อิ
ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี)
e ten /ten/ เอะ
æ hat /hæt/ แอะ
ɑ: arm /ɑ:m/ อา
ɒ got /gɒt/ เอาะ
ɔ: saw /sɔ:/ ออ
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
ʊ put /pʊt/ อู
u: too /tu:/ อู
u usual /'ju:ʒuəl/ อุ
ʌ cup /kʌp/ อะ
ɜ: fur /fɜ:/ เออ
ə ago /ə'gəʊ/ เออะ
eɪ pay /peɪ/ เอ
əʊ home /həʊm/ โอ
aɪ five /faɪv/ ไอ
aʊ now /naʊ/ เอา, อาว
ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย
ɪə near /nɪə/ เอีย
eə hair /heə/ แอ
ʊə pure /pjʊə/ อิว
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
 พยัญชนะ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่าง เทียบเสียงในภาษาไทย
p pen /pen/ พ
b bad /bæd/ บ
t tea /ti:/ ท
d did /dɪd/ ด
k cat /kæt/ ค
g got /gɒt/ ก
tʃ chin /tʃɪn/ ช
dʒ June /dʒu:n/ จ
f fall /fɔ:l/ ฟ
v van /væn/ ฟ
θ thin /θɪn/ ธ
ð then /ðen/ ธ
s so /səʊ/ ส
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
z zoo /zu:/ ส
ʃ she /ʃi:/ ช
ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ
h how /haʊ/ ฮ
m man /mæn/ ม
n no /nəʊ/ น
ŋ sing /sɪŋ/ ง
l leg /leg/ ล
r red /red/ ร
j yes /jes/ ย
w wet /wet/ ว
นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ
รหัสนักศึกษา 56030469
บรรณานุกรม
การออกเสียงภาษาอังกฤษ.(2557). เข้าถึงได้จาก : http://th.wiktionary.org/wiki/การออกเสียงภาษาอังกฤษ
.สืบค้นวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558
ตาแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง. (2552). เข้าถึงได้จาก :
http://grgl500phonetics.blogspot.com/2010/11/3-place-and-manner-of-articulation.html
.สืบค้นวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558

Mais conteúdo relacionado

Destaque

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Destaque (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

Phonetics & IPA

  • 1. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469 1. ตาแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง(Place and Manner of Articulation) ในการแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆในภาษานั้น การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงจะเกิดขึ้น ณ จุดต่างๆ (Place of Articulation) ภายในช่องออกเสียง(Vocal Tract) ของเรา ในบทนี้จะกล่าวถึงบริเวณต่างๆ ที่มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นตาแหน่งที่เกิดของเสียงในภาษา ต่างๆ ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation) แบบต่างๆ ที่สามารถจะเกิดขึ้นได้ในภาษา ต่างๆ โดยละเอียด โดยจะยกตัวอย่างเสียงต่างในภาษาประกอบด้วย ตาแหน่งเกิดเสียง (place of articulation, point of articulation) ในทางสัทศาสตร์ เป็นตาแหน่งกาเนิดเสียง พยัญชนะคือตาแหน่งในช่องเสียง (vocal tract) ที่เกิดการกีดขวาง จากการเคลื่อนตาแหน่งของกรณ์ (โดย ปกติคือ บางส่วนของลิ้น) และฐาน (ปกติคือ บางส่วนของเพดานปาก) โดยเมื่อรวมกับลักษณะการออก เสียง (manner of articulation) และการเปล่งเสียงพูด (phonation) ทาให้เกิดเสียงพยัญชนะที่แตกต่างกัน ตาแหน่งของการเกิดเสียงบริเวณต่างๆ (Place of Articulation) คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง โดยรวม แต่ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐาน ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ - ริมฝีปากบน (upper lip) - ฟันบน (upper teeth) - ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge) - เพดานแข็ง (hard palate) - เพดานอ่อน (soft palate หรือ velum) - ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบน ของช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้
  • 2. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469 2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่ง ได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ - ริมฝีปากล่าง (Lower lip) - ลิ้น (tongue) ซึ่งเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ใน บทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแกเสียง ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น กระแสอา กาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกัก กั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้(Active Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้า ไปใกล้, หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator) เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกัก กั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแส อากาศหรือที่เรียกว่าลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation)ณ จุดเกิดเสียงต่างๆกัน และคาที่ใช้ สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่ Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียง แรกของคาว่า“my” ในภาษอังกฤษ เสียงแรกของคาว่า “ปู” ในภาษาไทย Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบน ด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “เฝ้า” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “van” ในภาษาอังกฤษ Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัด จากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจากปลายลิ้นหรือ ส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่น เสียงแรกของคาว่า “นก” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคา ว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับ เพดานแข็ง) เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface) หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วน ปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงตัว “ร” หรือ “ส” ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของ ภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียง และเสียง “r” ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจากการ ใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคา ว่า “show” ในภาษาอังกฤษ
  • 3. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469 Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue) เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก” ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรก ของคาว่า “nyamuk” ในภาษามาเลเซีย ซึ่งแปลว่า ยุง Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหา เพดานอ่อน เช่น เสียงแรกของคาว่า “คน” ในภาษาไทย เสียงแรกของคาว่า “give” ในภาษาอังกฤษ Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียง แรกของคาว่า “rouge” ในภาษาฝรั่งเศส Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้าน หลังเข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง เช่น เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง” ในภาษาอาหรับ ([?amm]) Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง) เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอาจจะเคลื่อน เข้ามาติดกัน เช่น เสียงแรกของคาว่า “home” ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่” ในภาษาไทย Credit : https://encrypted-tbn3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQACFdzeEVDx_OGvLZy4w89HQRlVK2yRnAZqj9tM4yGsif8D7-Y Credit : http://nkw05169new.circlecamp.com/upload/pic00001_1392718021.gif
  • 4. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469 ตารางการออกเสียงและฐานกรณ์ ลักษณะการออกเสียง ฐานกรณ์ โอษฐชะ/เสียงจากริมฝีปาก (Labial) เสียงจากริมฝีปากคู่ (Bilabial) เสียงจากริมฝีปากล่าง-ฟันบน (Labiodental) ส่วนโพรงช่องปาก (Coronal) เสียงใช้ปลายลิ้น (Laminal) เสียงจากลิ้น-ริมฝีปากบน (Linguolabial) เสียงลิ้นระหว่างฟัน (Interdental) เสียงใช้ปลายลิ้น-ฟัน (Laminal en:dentaldental) เสียงใช้ปลายลิ้น-ฟัน-ปุ่มเหงือก (Laminal denti-alveolar) เสียงใช้ปลายลิ้น-ปุ่มเหงือก (Laminal alveolar) เสียงใช้ปลายลิ้น-หลังปุ่มเหงือก (Laminal postalveolar) ("เสียงปลายลิ้นม้วน" - retroflex #1) เสียงโก่งลิ้น (Domed) (โก่งกลางลิ้นโค้งขึ้น เป็นทรงกลม สัมผัสเพดานแข็ง บางส่วน) เสียงโก่งลิ้น-หลังปุ่มเหงือก (Domed postalveolar) ("เสียงจากลิ้น-หลังปุ่มเหงือก" - palato-alveolar) เสียงใช้เพดานแข็ง เสียงจากเพดานแข็ง-หลังปุ่มเหงือก (Palatalized postalveolar)
  • 5. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469 (Palatalized) ("เสียงจากปุ่มเหงือก-เพดานแข็ง" - alveolo-palatal) เสียงใช้ปลายสุดลิ้น (Apical) เสียงจากปลายสุดลิ้น-ฟัน (Apical dental) เสียงจากปลายสุดลิ้น-ปุ่มเหงือก (Apical alveolar) เสียงจากปลายสุดลิ้น-หลังปุ่มเหงือก (Apical postalveolar) ("เสียงปลายลิ้นม้วน" #2) เสียงใช้ใต้ปลายสุดลิ้น (Sub-apical) เสียงจากใต้ปลายสุดลิ้น-(หน้า)เพดานแข็ง (Sub-apical (pre)palatal) ("เสียงปลายลิ้นม้วน" #3) หลังลิ้น (Dorsal) หน้าเพดานแข็ง (Prepalatal) เสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (Palatal) เสียงจากหน้าเพดานอ่อน (Prevelar or medio-palatal) เสียงจากเพดานอ่อน (Velar) เสียงจากหลังเพดานอ่อน (Postvelar) เสียงจากลิ้นไก่ (Uvular) โคนลิ้นในช่องคอ (Radical) เสียงจากช่องคอส่วนบน (Upper pharyngeal) เสียงจากช่องคอส่วนล่าง (Lower pharyngeal)
  • 6. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469 เสียงพยัญชนะจากลิ้นปิดกล่องเสียง-ช่องคอ (Epiglotto-pharyngeal) เสียงพยัญชนะจากลิ้นปิดกล่องเสียง ((Ary-)epiglottal) กล่องเสียง (Laryngeal) เสียงจากเส้นเสียง (Glottal) 2. สัญลักษณ์แทนเสียงสากล (Phonetics)  สระ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่าง เทียบเสียงในภาษาไทย i: see /si:/ อี i any /'eni/ อิ ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี) e ten /ten/ เอะ æ hat /hæt/ แอะ ɑ: arm /ɑ:m/ อา ɒ got /gɒt/ เอาะ ɔ: saw /sɔ:/ ออ
  • 7. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469 ʊ put /pʊt/ อู u: too /tu:/ อู u usual /'ju:ʒuəl/ อุ ʌ cup /kʌp/ อะ ɜ: fur /fɜ:/ เออ ə ago /ə'gəʊ/ เออะ eɪ pay /peɪ/ เอ əʊ home /həʊm/ โอ aɪ five /faɪv/ ไอ aʊ now /naʊ/ เอา, อาว ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย ɪə near /nɪə/ เอีย eə hair /heə/ แอ ʊə pure /pjʊə/ อิว
  • 8. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469  พยัญชนะ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่าง เทียบเสียงในภาษาไทย p pen /pen/ พ b bad /bæd/ บ t tea /ti:/ ท d did /dɪd/ ด k cat /kæt/ ค g got /gɒt/ ก tʃ chin /tʃɪn/ ช dʒ June /dʒu:n/ จ f fall /fɔ:l/ ฟ v van /væn/ ฟ θ thin /θɪn/ ธ ð then /ðen/ ธ s so /səʊ/ ส
  • 9. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469 z zoo /zu:/ ส ʃ she /ʃi:/ ช ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ h how /haʊ/ ฮ m man /mæn/ ม n no /nəʊ/ น ŋ sing /sɪŋ/ ง l leg /leg/ ล r red /red/ ร j yes /jes/ ย w wet /wet/ ว
  • 10. นางสาวกัญญ์วรา เสรีเรืองยุทธ รหัสนักศึกษา 56030469 บรรณานุกรม การออกเสียงภาษาอังกฤษ.(2557). เข้าถึงได้จาก : http://th.wiktionary.org/wiki/การออกเสียงภาษาอังกฤษ .สืบค้นวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558 ตาแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง. (2552). เข้าถึงได้จาก : http://grgl500phonetics.blogspot.com/2010/11/3-place-and-manner-of-articulation.html .สืบค้นวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2558