SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 24
Baixar para ler offline
1
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
บทความ Article
ที่ปรึกษา ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล, ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล, ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล
ดร.ลดาวัลย์ กระแสร์ชล, กุลประภา นาวานุเคราะห์
กองบรรณาธิการ ชนานันท์ คงธนาฤทธิ์, อาทิตย์ ลมูลปลั่ง, วัชราภรณ์ สนทนา, วรรณงาม วีระผาสุก
อุดมรัตน์ วัฒนกูล, ไพรัตน์ ปัญญารักกิจ, สายพิณ ธนะศิริวัฒนา, บุญเลิศ อรุณพิบูลย์
ต่อตระกูล พูลโสภา, ชมพูนุช อนุศาสน์สิทธิกิจ, วีณา ยศวังใจ, ปรมาภรณ์ จูฑะจันทร์, พีรภัฏ บุญชู
ศิลปกรรม ชุมพล พินิจธนสาร
ทีมงาน NSTDA e-newsletter
ผู้ผลิต
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และฝ่ายเผยแพร่วิทยาศาสตร์
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120
โทรศัพท์ 0 2564 7000 ต่อ 71725 โทรสาร 0 2564 7078
http://www.nstda.or.th/
อีเมล pr@nstda.or.th
2
3
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
4
ในเล่ม Insight
‘ฟู้ดแฟคเตอร์’ ผนึก ‘เมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช.’ สร้างระบบนิเวศนวัตกรรม
เสริมแกร่งอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ
เอ็มเทค สวทช. นำ� "เปลปกป้อง (PETE)" คว้ารางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ประจำ�ปี
2565 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ
‘เมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช. - พันธมิตร’ เปิดยิ่งใหญ่ การแข่งขันสุดยอดนวัตกรรม
อาหาร Food Innopolis Innovation Contest 2022 เฟ้นหาสุดยอดนวัตกรรม ‘อา
หารสตรีทฟู้ด-อาหารหมักดองพื้นถิ่น’
สวทช. จับมือ บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำ�กัด เปิดตัว ‘นวัตกรรมรถพยาบาลแรงดันลบ’
ตอกย้ำ�ศักยภาพด้านเครื่องมือแพทย์ของไทย เสริมความมั่นคงด้านสาธารณสุข
เริ่มแล้ว สุดยอดงานประชุม-แสดงนวัตกรรมพร้อมต่อยอดธุรกิจที่ยั่งยืน APEC BCG
Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022)
สวทช. รับมอบสื่อถ่ายทอดความรู้ด้านสะเต็มเตรียมอบรมครู ก่อนนำ�ไปใช้จริง
สวทช. อว. อัปเดต 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง ในงาน “APEC BCG Economy
Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022)”
‘Prolifera-แผ่นแปะปรับสภาพผิว’ คว้าผลงานวิจัยที่น่าลงทุนที่สุด ปี 2022 ในงาน
APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show
2022)
สวทช. จับมือ ทีเซลล์ ผลักดันผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเวชสำ�อางไทยสู่ตลาดโลก
สวทช. ร่วมน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
สวทช. ร่วมพัฒนาทักษะ วิทยาการคำ�นวณ ให้คุณครูในโรงเรียนเครือข่ายมูลนิธิชัยพัฒนา ใน
รูปแบบออนไลน์
สวทช. ร่วมพิธีเทิดพระเกียรติ ในหลวงรัชกาลที่ 9 น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องใน
“วันเทคโนโลยีของไทย”
นักวิจัย สวทช. รับ 2 รางวัล!! สุดยอดเทคโนโลยี สร้างประโยชน์ด้านเศรษฐกิจและสังคม
อย่างเป็นรูปธรรม
สวทช.-สอวช.-บพข. เร่งเครื่อง Deep Tech Startup เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของ
ประเทศ
"ดร.นำ�ชัย" ผอ.ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อฯ สวทช. คว้ารางวัลนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ Mahidol Sci-
ence Communicator Award 2022
สวทช.นำ�หน่วยงานพันธมิตรร่วมงานระดับโลก World Congress of Angel Investors
2022 ณ เมืองอันทาเลีย ประเทศตุรเคีย
สวทช. ประกาศผู้ได้รับรางวัล “เครื่องพิมพ์สามมิติ” โครงการสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โคม
ไฟลูกบาศก์ จากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ
สวทช. มอบสื่อ STEAM with GEARS ให้โรงเรียน เตรียมเสริมทักษะสตีมแก่เยาวชนรับ
เปิดเทอม
สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย - คาร์กิลล์ เปิดตัวศูนย์นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์
โปรตีนแห่งแรกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
‘SunGuard PV’
นวัตกรรมกันสาดโซลาร์ผลิตไฟฟ้า
ข่าว News 21
2 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(7 ตุลาคม2565) ณ เมืองสุขสยาม ชั้นG ไอคอนสยาม กรุงเทพฯ: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) โดยเมือง
นวัตกรรมอาหาร(FoodInnopolis) และ บริษัท ฟู้ดแฟคเตอร์ จำ�กัด ซึ่งเป็นพันธมิตรด้านนวัตกรรมอาหาร ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง
ความร่วมมือ การส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมและนวัตกรด้านอาหาร โดยมี ผศ. ดร.วีรชัย อาจหาญ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช.
ดร.เอกอนงค์ จางบัว ผู้อำ�นวยการเมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช. และนายปิติ ภิรมย์ภักดี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฟู้ดแฟคเตอร์
จำ�กัด เพื่อให้เกิดการผลักดันและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันนวัตกรรมด้านอาหารของประเทศ เสริมความแข็งแกร่ง
ของ Ecosystem ระหว่างภาครัฐและเอกชน ให้เกิดผลสำ�เร็จอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/mou-foodfactor-fi/
‘ฟู้ดแฟคเตอร์’ ผนึก ‘เมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช.’
สร้างระบบนิเวศนวัตกรรม
เสริมแกร่งอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ
3
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(5 ตุลาคม 2565) ณ รอยัล พารากอน ฮอลล์ สยามพารากอน กรุงเทพฯ: ดร.ศราวุธ เลิศพลังสันติ ผู้อำ�นวยการกลุ่มวิจัยการออกแบบ
เชิงวิศวกรรมและการคำ�นวณ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. เข้ารับรางวัลนวัตกรรมเเห่งชาติ ประจำ�ปี 2565
รองชนะเลิศอันดับ 1 ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ จากผลงานเปลปกป้อง (พีท) เปลเคลื่อนย้ายผู้ป่วยความดันลบ (Patient
isolation and transportation chamber: PETE) โดยมี รศ. นพ. สรนิต ศิลธรรม เป็นประธานพิธีมอบรางวัล ในงาน “วันนวัตกรรม
แห่งชาติ ประจำ�ปี 2565” จัดโดยสำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pete-2/
เอ็มเทค สวทช. นำ� "เปลปกป้อง (PETE)"
คว้ารางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ประจำ�ปี 2565
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ
4 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(7 ตุลาคม 2565) ณ ลานคนเมือง ห้างสรรพสินค้าไอคอนสยาม กรุงเทพฯ: ผศ. ดร.วีรชัย อาจหาญ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ดร.เอกอนงค์ จางบัว ผู้อำ�นวยการเมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช. นายพร ดารีพัฒน์
รองกรรมการผู้จัดการบริษัท ฟู้ดแฟคเตอร์ จำ�กัด ในเครือบุญรอดบริวเวอรี่ ดร.วาทิต ตมะวิโมกษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ
กรรมการผู้อำ�นวยการ บริษัท เคซีจี คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด นายวุฒิชัย เจริญศุภกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท พลังผัก จำ�กัด ดร.กีรติ
ตระการศิริวานิช คณบดีคณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และนายพิชิต วีรังคบุตร รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ และ รักษาการผู้อำ�นวยการสำ�นักส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เชียงใหม่ ร่วมแถลงข่าวการเปิดงานประกวดนวัตกรรมอาหาร
รอบชิงชนะเลิศระดับประเทศ โครงการ Food Innopolis Innovation Contest 2022 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-9 ตุลาคม 2565 โดยมีทีม
ผู้เข้าแข่งขันและแสดงผลงานจำ�นวน 40 ทีมกว่า 40 ผลงานตลอด 3 วันของการจัดงาน ซึ่งจะมีการประกาศรางวัลชนะเลิศ ในวันที่
9 ตุลาคม2565 เพื่อเฟ้นหาทีมที่ชนะในโจทย์การแข่งขันอาหารสตรีทฟู้ดและอาหารหมักดองพื้นถิ่น ในการนำ�ไปต่อยอดผลิตภัณฑ์นวัตกรรม
อาหารสู่เชิงพาณิชย์จากโครงการประกวด
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/food-innopolis-innovation-contest-2022/
‘เมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช. - พันธมิตร’
เปิดยิ่งใหญ่ การแข่งขันสุดยอดนวัตกรรมอาหาร
Food Innopolis Innovation Contest 2022
เฟ้นหาสุดยอดนวัตกรรม
‘อาหารสตรีทฟู้ด-อาหารหมักดองพื้นถิ่น’
5
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(10 ตุลาคม 2565) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย ศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม (DECC) ร่วมกับ
บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำ�กัด จัดแถลงข่าวเปิดตัวนวัตกรรมรถพยาบาลแรงดันลบ โดยมี ดร.สมบุญ สหสิทธิวัฒน์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช.
และ ภก.ชาญชัย อุดมลาภธรรม ประธานบริหาร บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำ�กัด ร่วมเป็นประธานแถลงข่าว พร้อมด้วย นายอัมพร โพธิ์ใย
ผู้อำ�นวยการศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม สวทช.
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/rexcuer/
สวทช. จับมือ บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำ�กัด เปิดตัว
‘นวัตกรรมรถพยาบาลแรงดันลบ’
ตอกย้ำ�ศักยภาพด้านเครื่องมือแพทย์ของไทย
เสริมความมั่นคงด้านสาธารณสุข
6 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(10 ตุลาคม 2565) ณ เซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
(อว.) โดยสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) นำ�โดย ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
ปลัดกระทรวง อว. พร้อมด้วยศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการ สวทช. จับมือพันธมิตรองค์กรภาครัฐ เอกชน และ
สถาบันการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในและต่างประเทศกว่า 40 หน่วยงาน เปิดงานประชุมและนิทรรศการ APEC BCG
Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022) ภายใต้แนวคิด ผสานพลัง วทน. เพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน (Synergizing
STI to Sustainable Business) เพื่อเป็นกิจกรรมสนับสนุนการเป็นเจ้าภาพประชุมผู้นำ�เขตเศรษฐกิจเอเปค (APEC 2022 Thailand) และ
เปิดงาน Thailand Tech Show 2022 เวทีแสดงผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมวิจัยที่พร้อมต่อยอดธุรกิจ พร้อมทั้งเป็นการ
ส่งเสริมโอกาสความร่วมมือด้านธุรกิจ วิชาการระหว่างสมาชิกเอเปคให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม จัดขึ้นระหว่างวันที่10-11 ตุลาคม2565
ที่ เซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/10102565-apec-bcg-economy-thailand-2022/
เริ่มแล้ว สุดยอดงานประชุม-แสดงนวัตกรรมพร้อมต่อยอดธุรกิจที่ยั่งยืน
APEC BCG Economy Thailand 2022:
Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022)
7
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(11 ตุลาคม 2565) ณ ดิ แอทธินี โฮเต็ล: ดร.สมบุญ สหสิทธิวัฒน์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) พร้อมด้วย ดร.นำ�ชัย ชีววิวรรธน์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ สวทช. รับมอบสื่อ Gearphun จำ�นวน
120 ชุด จากนายคอลิน ไซมอนด์ส ประธานบริษัท Thinklplay จำ�กัด ในงาน Bett Asia 2022 เพื่อนำ�มาใช้เป็นสื่อถ่ายทอดความรู้ด้าน
สะเต็มให้กับบุคลากรครูระดับประถมในกิจกรรม “การจัดการเรียนรู้ STEAM with Gears”
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/steam-with-gears/
สวทช. รับมอบสื่อถ่ายทอดความรู้ด้านสะเต็ม
เตรียมอบรมครูก่อนนำ�ไปใช้จริง
8 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(11 ตุลาคม 2565) ณ เซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
(อว.) โดยศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) บรรยาย
พิเศษเรื่อง 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง (10 Technologies to Watch) ซึ่ง สวทช. จัดขึ้นในงานประชุมและนิทรรศการ APEC BCG
EconomyThailand2022:TechtoBiz(ThailandTechShow2022) ภายใต้แนวคิด ผสานพลัง วทน. เพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน(SynergizingSTI
to Sustainable Business) เพื่อเป็นกิจกรรมสนับสนุนการเป็นเจ้าภาพประชุมผู้นำ�เขตเศรษฐกิจเอเปค (APEC 2022 Thailand)
และเปิดงาน Thailand Tech Show 2022 เวทีแสดงผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมวิจัยที่พร้อมต่อยอดธุรกิจขึ้นระหว่าง
วันที่ 10-11 ตุลาคม 2565
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/10-technologies-to-watch/
สวทช. อว. อัปเดต 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง
ในงาน “APEC BCG Economy Thailand 2022:
Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022)"
9
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(11 ตุลาคม 2565) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) จัดกิจกรรมนำ�เสนอผลงานวิจัยที่น่าลงทุนประจำ�ปี 2565 ซึ่ง สวทช. จับมือพันธมิตรองค์กรภาครัฐ เอกชน
และสถาบันการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในและต่างประเทศกว่า 40 หน่วยงาน จัดประชุมและนิทรรศการ
APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022) ระหว่างวันที่ 10-11 ตุลาคม 2565 ที่
เซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ สำ�หรับเวทีการนำ�เสนอผลงานวิจัยเด่นที่น่าลงทุน (Investment Pitching)
ในปีนี้ มีจำ�นวนทั้งสิ้น 9 ผลงานจาก สวทช. 4 ผลงาน และพันธมิตร 4 ผลงาน และต่างประเทศ 1 ผลงาน ซึ่งผลปรากฎว่ารางวัลผลงาน
ที่น่าลงทุนที่สุดประจำ�ปี 2565 และรางวัลผลงานที่นำ�เสนอดีที่สุด ได้แก่ “Prolifera แผ่นแปะปรับสภาพผิวให้แลดูเรียบเนียน” จากการ
โหวตของนักลงทุนและประชาชนที่เข้าร่วมงาน ซึ่งเป็นผลงานวิจัยและพัฒนาโดย นางสาวกชกร เอี่ยมวิมังสา และทีมวิจัยจากศูนย์นาโน
เทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช.
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pitching-prolifera-apec-bcg/
‘Prolifera-แผ่นแปะปรับสภาพผิว’
คว้าผลงานวิจัยที่น่าลงทุนที่สุด ปี 2022
ในงาน APEC BCG Economy Thailand 2022:
Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022)
10 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
โปรแกรมสารสกัดธรรมชาติเพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ภายใต้กลุ่มโปรแกรมอาหารและส่วนผสมฟังก์ชั่นบนฐานการผลิตที่ยั่งยืน สำ�นักงาน
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) กระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สนับสนุน 3 ผู้ประกอบการไทยเข้าร่วมงาน: The international innovation fair for
cosmeticandperfumeindustry วันที่12-13 ตุลาคม2565 ณCarouselduLouvre กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เพื่อนำ�เสนอผลิตภัณฑ์
เวชสำ�อางที่มีความโดดเด่นด้านนวัตกรรมสารสกัด/สารออกฤทธิ์จากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติด้านการชะลอวัย (Anti-aging) โดยได้รับ
เกียรติจาก น.ส.กนกลักษณ์ โพธิ์ไทรย์ อัครราชทูตที่ปรึกษา ซึ่งได้รับมอบหมายจากเอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส เพื่อเป็นประธานในพิธี
เปิดบูธนิทรรศการพร้อมเยี่ยมชมผลงาน โดยมี ดร.อุรชา รักษ์ตานนท์ชัย (รักษาการ) รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และผู้อำ�นวยการโปรแกรม
นวัตกรรมสารสกัดธรรมชาติเพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ สวทช. และ น.ส.นิสากร จึงเจริญธรรม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านบริหารทีเซลล์
พร้อมคณะให้การต้อนรับและเข้าร่วมพิธีเปิดบูธนิทรรศการ
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/cosmetic360/
สวทช. จับมือ ทีเซลล์ ผลักดันผู้ประกอบการ
อุตสาหกรรมเวชสำ�อางไทยสู่ตลาดโลก
11
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
สวทช. ร่วมน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(13 ตุลาคม 2565) ณ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ศ. ดร.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ประธานพิธีน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พร้อมด้วย ดร.พัชรินรุจา จันทโรนานนท์
ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง รศ.ดร.พาสิทธิ์ หล่อธีรพงศ์ รองปลัดกระทรวง นางสาวสุณีย์ เลิศเพียรธรรม หัวหน้าผู้ตรวจราชการ
กระทรวง นายวันนี นนท์ศิริ ผู้ช่วยปลัดกระทรวง ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และคณะผู้บริหารหน่วยงานในสังกัดกระทรวง อว. ร่วมถวาย
ภัตตาหารเช้าแด่พระสงฆ์วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร จำ�นวน 10 รูป
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-13102565/
12 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
สวทช. ร่วมพัฒนาทักษะ วิทยาการคำ�นวณ
ให้คุณครูในโรงเรียนเครือข่ายมูลนิธิชัยพัฒนา
ในรูปแบบออนไลน์
(17 ตุลาคม 2565) ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช. จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรเฉพาะทาง
หัวข้อ วิทยาการคำ�นวณ ตามแนวทางโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทยในรูปแบบออนไลน์ โดยมีคุณครูผู้สอนระดับชั้นปฐมวัย
และประถมศึกษาปีที่ 1-3 จากโรงเรียนอนุบาลไผทวิทยา (มูลนิธิชัยพัฒนา) และโรงเรียนชัยพิทยพัฒน์ มูลนิธิชัยพัฒนา จำ�นวน 38 คน
เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมทราบถึงแนวทางการจัดการเรียนวิทยาการคำ�นวณ รูปแบบ Unplugged และตัวอย่างกิจกรรมที่
เน้นการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามแนวทางโครงการฯเริ่มต้นกิจกรรมโดย ดร.ปวริศา บุญรอด ผู้อำ�นวยการ
โรงเรียนอนุบาลไผทวิทยา(มูลนิธิชัยพัฒนา) กล่าวเปิดกิจกรรมและเน้นย้ำ�ถึงความสำ�คัญของการเรียนรู้กิจกรรมวิทยาการคำ�นวณเพื่อให้ครู
นำ�มาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-seminar-chaipat/
13
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(19 ตุลาคม 2565) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดพิธีวางพุ่มดอกไม้ถวายราชสักการะพระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ในฐานะทรงเป็น “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย”
เนื่องใน “วันเทคโนโลยีของไทย” ประจำ�ปี 2565 โดยมี ดร.ลัทธจิตร มีรักษ์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. เป็นประธานในพิธี
วางพุ่มดอกไม้และถวายราชสักการะ พร้อมด้วย ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) นางสาวศิรินาถ แถบทอง ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. คณะผู้บริหาร อว. ผู้แทนหน่วยงานในสังกัด ผู้แทนมหาวิทยาลัย ข้าราชการ
และเจ้าหน้าที่ ร่วมวางพุ่มดอกไม้และถวายราชสักการะฯ ณ ลานพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร
มหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระสยามเทวมหามงกุฎวิทยามหาราช รัชกาลที่ 4 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/651019/
สวทช. ร่วมพิธีเทิดพระเกียรติ ในหลวงรัชกาลที่ 9
น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
เนื่องใน “วันเทคโนโลยีของไทย”
14 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(19 ตุลาคม 2565) ณ ดิ แอทธินี โฮเต็ล: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้รับรางวัลเทคโนโลยีดีเด่น
ประจำ�ปี พ.ศ.2565 และรางวัลเทคโนโลยีรุ่นใหม่ประจำ�ปี พ.ศ.2565 โดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
ในฐานะผู้พิจารณาคัดเลือกผลงานและมอบรางวัล ได้ดำ�เนินการมาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยในปี 2565 มีผู้ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น
และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ประเภทละ 1 รางวัล ดังนี้ รางวัลเทคโนโลยีดีเด่น ประจำ�ปี พ.ศ.2565 ประเภทกลุ่ม ได้แก่ โครงการ “ระบบ
ติดตามตรวจวัดข้อมูลระยะไกลด้านความปลอดภัยเขื่อน” (Dam Safety Remote Monitoring System: DS-RMS) โดย ดร.กนกเวทย์
ตั้งพิมลรัตน์ และทีมวิจัยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต
แห่งประเทศไทย และรางวัลเทคโนโลยีรุ่นใหม่ประจำ�ปี พ.ศ.2565 ได้แก่ โครงการ “โครงสร้างพื้นฐานการประมวลผลสมรรถนะสูงเพื่องาน
วิจัยวัสดุขั้นสูง” (High Performance Computing Infrastructure for Advanced Materials Research) โดย ดร.มนัสชัย คุณาเศรษฐ
หัวหน้าทีมวิจัยโครงสร้างพื้นฐานซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. ปัจจุบัน
ดำ�รงตำ�แหน่ง ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช.
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-techinno/
นักวิจัย สวทช. รับ 2 รางวัล!! สุดยอดเทคโนโลยี
สร้างประโยชน์ด้านเศรษฐกิจและสังคม
อย่างเป็นรูปธรรม
15
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
สวทช.-สอวช.-บพข. เร่งเครื่อง Deep Tech Startup
เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ
(21 ตุลาคม 2565) ณ เกษร เออร์เบิน รีสอร์ท (Gaysorn Urban Resort): สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
จัดกิจกรรมนำ�เสนอผลงานภายใต้โครงการ “แพลตฟอร์มเร่งรัดการเติบโตธุรกิจที่ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงลึก” NSTDA Deep
Tech Acceleration Platform ในการสนับสนุน Deep Tech Startup เพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจใหม่และเพิ่มขีดความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศ โดยมี ผศ. ดร.วีรชัย อาจหาญ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. ดร.เอกอนงค์ จางบัว ผู้อำ�นวยการเมืองนวัตกรรมอาหาร
สวทช. ดร.กิตติพงศ์ พร้อมวงศ์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
และ รศ. ดร.ชาลีดา บรมพิชัยชาติกุล รองผู้อำ�นวยการด้านกลยุทธ์วิจัย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศ(บพข.) ร่วมงานพร้อมด้วยผู้ประกอบการ3 กลุ่มเทคโนโลยี ได้แก่ เทคโนโลยีอาหาร(FoodTechnology) เทคโนโลยี
เพื่อการดูแลสุขภาพ (Healthcare Technology) และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things) รวม 22 ผลงานนำ�เสนอ
ธุรกิจที่ใช้เทคโนโลยีเชิงลึกต่อนักลงทุน พันธมิตรและคู่ค้าทางธุรกิจ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงพันธมิตรและพัฒนาความร่วมมือต่อไป
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/deep-tech-startup-gaysorn/
16 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(21 ต.ค.2565) ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท กรุงเทพฯ: ในงานวันคล้ายวันสถาปนาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหิดล ครบรอบปีที่ 64 มีพิธีมอบรางวัลนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ประจำ�ปี 2565 หรือ Mahidol Science Communicator Award 2022
เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลที่มีผลงานการสื่อสารวิทยาศาสตร์ชัดเจนเป็นที่ประจักษ์ โดยในปีนี้ ดร.นำ�ชัย ชีววิวรรธน์ ผู้อำ�นวยการ
ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้รับรางวัลนักสื่อสารวิทยาศาสตร์
ประจำ�ปี 2565 ประเภทบุคคล รับมอบโล่รางวัลจาก รองศาสตราจารย์ ดร.พลังพล คงเสรี คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล,
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิวิมล แสวงผล รองคณบดีฝ่ายกายภาพและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และผู้แทนจาก
บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ผู้สนับสนุนรางวัล
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/mahidol-science-communicator-award2022/
"ดร.นำ�ชัย" ผอ. ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อฯ สวทช.
คว้ารางวัลนักสื่อสารวิทยาศาสตร์
Mahidol Science Communicator Award 2022
17
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
สวทช. นำ�หน่วยงานพันธมิตรร่วมงานระดับโลก
World Congress of Angel Investors 2022
ณ เมืองอันทาเลีย ประเทศตุรเคีย
(24-26 ตุลาคม 2565) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พร้อมด้วย สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)
และ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) (ศลช.) เดินทางเข้าร่วมงาน World Congress of Angel Investors นำ�โดย
ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการ สวทช. พร้อมร่วมลงนามข้อตกลงความร่วมมือด้านพัฒนาบุคลากรเพื่อสร้างระบบนิเวศและ
เครือข่ายนักลงทุนระหว่างสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กับ World Business Angels Investment Forum (WBAF)
ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีเป้าหมายเพื่ออำ�นวยความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนสำ�หรับธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจระยะเริ่มต้น
นอกจากนี้ ปีนี้ สวทช. สนช. และ ศลช. ได้ร่วมรับตำ�แหน่ง High Commissioner และ Senator เพื่อทำ�หน้าที่ขับเคลื่อนระบบนิเวศ
ของทั้งนักลงทุนและสตาร์ตอัปให้แข็งแกร่งด้วย
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/world-congress-of-angel-investors-2022/
18 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
(25 ตุลาคม2565) ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: ดร.สมบุญ สหสิทธิวัฒน์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ( สวทช.) เปิดเผยว่า ตามที่ โครงการสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โคมไฟลูกบาศก์ จาก
เครื่องพิมพ์ 3 มิติ ที่ดำ�เนินโครงการโดยบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร ได้ประชาสัมพันธ์เชิญชวนโรงเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการผ่านเครือข่าย
กิจกรรมเพื่อทำ�การขยายผลการใช้สื่อและสนับสนุนให้โรงเรียนที่มีความสนใจนำ�ชุดสื่อดังกล่าวไปใช้จริงในการจัดการเรียนการสอน
ในโรงเรียนสำ�หรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลายถึงมัธยมศึกษาตอนต้น โดยให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ได้ฝึกคิดอย่างเป็น
ระบบ ลงมือวางแผนและแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง ผ่านบทเรียนออนไลน์ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการพัฒนาทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน ทั้งนี้โครงการฯ ได้พิจารณาจากผลงาน คลิปวิดีโอ รวมถึงการนำ�เสนอผลงานของผู้เข้าร่วม
โครงการ ฯ มีโรงเรียนสนใจส่งผลงานเข้าแข่งขันเพื่อรับรางวัลเครื่องพิมพ์ 3 มิติ จำ�นวน 11 โรงเรียน แบ่งการแข่งขันแบ่งเป็น 2 รอบ
รอบคัดเลือกเป็นการส่งผลงานการออกแบบโมเดล 3 มิติ พร้อมคลิปอธิบายรายละเอียดประกอบผลงานการออกแบบ และรอบตัดสิน
เป็นการนำ�เสนอผลงานการออกแบบต่อคณะกรรมการ ซึ่งผลการประกวด มีโรงเรียนชนะการประกวดได้รับรางวัล จำ�นวน 5 โรงเรียน
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/fabrication-lab/
สวทช. ประกาศผู้ได้รับรางวัล “เครื่องพิมพ์สามมิติ”
โครงการสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์
โคมไฟลูกบาศก์ จากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ
19
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
สวทช. มอบสื่อ STEAM with GEARS ให้โรงเรียน
เตรียมเสริมทักษะสตีมแก่เยาวชนรับเปิดเทอม
(26 ตุลาคม2565) ณ ห้องSD-601 อาคารสราญวิทย์ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม โดย สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดกิจกรรม “การจัดการเรียนรู้” และส่งมอบ
สื่อ STEAM with GEARS แก่โรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวน 15 แห่ง โดยสื่อ Gearphun จำ�นวน 120 ชุด ซึ่ง สวทช. ได้รับมอบจาก
บริษัทThinklplay จำ�กัด ในงานBettAsia2022 เพื่อนำ�มาใช้เป็นสื่อถ่ายทอดความรู้ด้านสะเต็มให้กับบุคลากรครูระดับประถมในกิจกรรม
“การจัดการเรียนรู้ STEAM with Gears” ทั้งนี้ สวทช. มุ่งหวังว่าความรู้และวิธีการเสริมทักษะ STEAM ด้วยสื่อ Gearphun ที่แต่ละ
โรงเรียนได้รับจากการสัมมนานี้จะนำ�ไปใช้ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนเพื่อช่วยให้เด็กๆ ได้รับความรู้คู่ความสนุกจากการเรียน
ในห้องเรียน
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/steam-with-gears-2/
20 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย - คาร์กิลล์
เปิดตัวศูนย์นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์โปรตีน
แห่งแรกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
(26 ตุลาคม 2565) ณ อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: ดร.วรรณพ วิเศษสงวน ผู้อำ�นวยการศูนย์
พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นประธาน
พิธีเปิดศูนย์นวัตกรรมคาร์กิลล์ (Cargill Innovation Center) หรือ ศูนย์ส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัท คาร์กิลล์มีท
(ไทยแลนด์) จำ�กัด ที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยและหน่วยงานต่างๆ ในสังกัด สวทช.และพันธมิตร
เพื่อส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่วิทยาการผลิต แปรรูปอาหาร และเทคโนโลยีด้านการเกษตรสมัยใหม่ โดยมี น.สพ.สนัด วงศ์ทวีทอง
รองผู้อำ�นวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยและ นางสาวชมพูนุช อนุศาสน์สิทธิกิจ ผู้อำ�นวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจและคลัสเตอร์
นวัตกรรม อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เข้าร่วมพิธี
อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-tsp-cargill-innovation-center/
21
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
‘SunGuard PV’
นวัตกรรมกันสาดโซลาร์ผลิตไฟฟ้า
นับวันค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน โดยเฉพาะ ‘ไฟฟ้า’ มีแนวโน้มเพิ่ม
สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประชาชนเริ่มหันมาพึ่งพาตนเองด้านพลังงาน ด้วยการ
ติดตั้ง ‘แผงโซลาร์เซลล์’ ตามบ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ เพื่อประหยัด
ค่าใช้จ่าย แต่ด้วยข้อจำ�กัดของแผงโซลาร์เซลล์ทั่วไปที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยม
ผืนผ้า น้ำ�หนักมาก และโค้งงอไม่ได้ ทำ�ให้ไม่สามารถติดตั้งในบางพื้นที่ อีกทั้ง
การติดตั้งยังจำ�เพาะกับหลังคาที่มีพื้นที่หลังคากว้าง เช่น หลังคาทรงจั่ว
หลังคาทรงปั้นหยา และหลังคาทรงโมเดิร์น ไม่เหมาะใช้งานกับบ้านที่มีลักษณะ
หลังคารูปทรงแบบโค้ง หากแต่ว่าปัจจุบันจะเห็นได้ว่าหลังคาแบบโค้งนิยมนำ�มาใช้
ทำ�หลังคากันสาดเป็นส่วนใหญ่ และเริ่มได้รับความนิยมในการออกแบบทำ�ร้านอาหาร
ร้านกาแฟ เพื่อให้มีมุมสถาปัตยกรรมแบบยุโรปและดูทันสมัย
เรียบเรียง: วัชราภรณ์ สนทนา
22 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง
ชาติ (สวทช.) โดยศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (เอ็น
เทค) พัฒนานวัตกรรม ‘ซันการ์ดพีวี(SunGuardPV) หรือ
กันสาดโซลาร์’ แผงโซลาร์เซลล์แบบใหม่ ที่มีน้ำ�หนักเบา
โค้งงอได้ เหมาะสำ�หรับใช้เป็นกันสาดและติดตั้งได้ทันที
ว่าที่ร้อยตรี ดร.นพดล สิทธิพล นักวิจัยจากทีม
วิจัยเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ เอ็นเทค สวทช. เล่าถึงที่มา
งานวิจัยว่า ในช่วง3-4 ปีที่ผ่านมา ประชาชนให้ความสนใจ
ติดตั้งระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์บน
หลังคา หรือ Solar Rooftop เพื่อผลิตไฟฟ้าใช้เองใน
ครัวเรือนมากขึ้น แต่ด้วยลักษณะของSolarRoof ในปัจจุบัน
ไม่ได้เอื้อต่อการติดตั้งกับหลังคาบางรูปแบบ ประกอบ
กับแผงมีน้ำ�หนักโดยเฉลี่ยมากถึง 25-30 กิโลกรัมต่อแผง
ขณะเดียวกันประเทศไทยตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรทำ�ให้
ได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ปริมาณมาก และมีอากาศร้อน
บ้านเรือนส่วนใหญ่ต่างติดตั้งกันสาดแทบทุกหลังคาเรือน
แต่ด้วยลักษณะแผงโซลาร์เซลล์ที่มีอยู่นำ�มาประยุกต์ใช้ได้
ยาก หากไม่นับเรื่องความสวยงามที่จะเกิดขึ้นกับตัวบ้าน
หรืออาคารก็ยังติดเรื่องน้ำ�หนักและปัญหาการติดตั้ง ทีม
วิจัยเล็งเห็นว่าการพัฒนานวัตกรรมกันสาดโซลาร์เป็นโจทย์
ที่น่าสนใจ ช่วยลดปัญหาข้อจำ�กัดการใช้งาน ทำ�ให้
ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย และสร้างโอกาสทางธุรกิจให้แก่
ภาคเอกชนด้วย
ทีมวิจัยมุ่งพัฒนาแผงโซลาร์เซลล์แบบใหม่ที่มีน้ำ�
หนักเบา ติดตั้งง่าย และมีความทันสมัยเข้ากับงานออกแบบ
สถาปัตยกรรม ซึ่งถือเป็นโจทย์ที่มีความท้าทายพอสมควร
เนื่องจากไม่ได้เป็นการใช้เพียงความรู้ทางวิทยาศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ แต่ยังให้ความสำ�คัญกับเรื่องศิลปะและ
มุมมองด้านความสวยงามเมื่อนำ�ไปติดตั้งใช้งาน อีกทั้งยัง
คิดครอบคลุมถึงการจัดการหลังแผงปลดจากการใช้งาน
แล้ว ซึ่งทีมวิจัยสามารถพัฒนานวัตกรรมตามแนวคิดที่
ตั้งเป้าไว้ได้สำ�เร็จและยื่นจดสิทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว
"ในด้้านประสิิทธิิภาพการผลิิตพลัังงานไฟฟ้้า
กัันสาดโซลาร์์มีีประสิิทธิิภาพการผลิิตไฟฟ้้า
ตํ่่�ากว่่าแผงโซลาร์์เซลล์์แบบทั่่�วไปอยู่่�ที่่� 8.5%
โดยประมาณ เนื่่�องจากความโค้้งและมุุมรัับ
แสงที่่�เปลี่่�ยนไป อย่่างไรก็็ตามแผงกัันสาด
โซลาร์์มีีข้้อดีีในส่่วนอุุณหภููมิิใต้้แผงที่่�ตํ่่�ากว่่า
แผงแบบทั่่�วไป 3-5 องศาเซลเซีียส ทำให้้พื้้�นที่่�
ใต้้กัันสาดมีีอุุณหภููมิิที่่�เย็็นกว่่าการนำแผงแบบ
ทั่่�วไปมาทำเป็็นกัันสาด"
ดร.นพดล สิทธิพล
ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (เอ็นเทค)
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.)
23
พฤศจิกายน 2565 •
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
โซลาร์ คือมีน้ำ�หนักต่อพื้นที่เบากว่า
แผงโครงสร้างทั่วไปมากกว่า 50%
โค้งงอได้ และยังคงความทนทาน
ต่อสภาพแวดล้อม รับแรงกระแทก
ได้ดี สามารถเพิ่มเติมสีสันให้เข้ากับ
สถาปัตยกรรมอาคาร บ้านเรือน หรือ
ร้านค้าได้ ที่สำ�คัญคือติดตั้งง่าย โดย
ตัดหรือเจาะได้โดยตรง โดยไม่ทำ�ให้
“สำ�หรับกระบวนการพัฒนา
นวัตกรรม ทีมวิจัยได้ทำ�การศึกษา
ตั้งแต่การคัดเลือกวัตถุดิบที่นำ�มาใช้
ในองค์ประกอบหลัก3 ส่วนของแผงโซ
ลาร์เซลล์  คือ กระจกด้านหน้า เซลล์
แสงอาทิตย์ และแผ่นป้องกันที่อยู่ด้าน
หลังแผง (Back Sheet) ซึ่งทำ�จาก
วัสดุพอลิไวนิล ฟลูออไรด์ (Polyvinyl
Fluoride: PVF หรือ ชื่อทางการค้า
Tedlar) ในส่วนของกระจกทีมวิจัย
เลือกใช้วัสดุพอลิเอทิลีน เทอเรปทา
เลต (Polyethylene Terephtha-
late: PET) ที่นิยมใช้ทำ�ขวดพลาสติก
โดยใช้เกรดเพื่อผลิตแผงโซลาร์
เซลล์โดยเฉพาะ เนื่องจาก PET มี
ลักษณะโปร่งแสงเทียบเท่ากระจกแต่มี
น้ำ�หนักเบากว่า และสามารถปรับให้
โค้งงอได้ ในขณะที่แผ่น PVF เลือก
ใช้วัสดุอะครีโลไนไตรล์-บิวทาไดอีน-
สไตรีน เมทีเรียล (Acrylonitrile-
Butadiene-Styrene Material: ABS)
ทดแทน เพราะมีข้อดีคือน้ำ�หนัก
เบา มีความแข็งแรงและความเหนียว
ช่วยเสริมแผงให้ทนแรงกระแทกและ
ทนต่อสภาพอากาศ ที่สำ�คัญทีม
วิจัยยังคำ�นึงถึงการผลิตแผงจึงได้
คิดค้นเทคนิคการผลิตที่ไม่กระทบ
ขั้นตอนการผลิตเดิมของแผงโซลาร์
เซลล์ทั่วไป เพื่อให้ผู้ประกอบการนำ�
เทคโนโลยีไปใช้ได้ตามไลน์การผลิต
ที่มี”
ว่าที่ร้อยตรี ดร.นพดล เล่า
ว่า จุดเด่นของนวัตกรรมกันสาด
แผงโซลาร์เซลล์เสียหาย ยึดติดกับ
โครงสร้างผนังหรือหลังคาได้ โดย
ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเพื่อซื้อ
อุปกรณ์เสริมหรือต่อเติมโครงสร้าง
เฉพาะ ซึ่งด้วยคุณสมบัติเหล่านี้
เอง ทำ�ให้สามารถนำ�กันสาดโซลาร์
ไปติดตั้งแทนกันสาดที่เป็นวัสดุ
พอลิคาร์บอเนตเดิมได้ทันที เพราะ
24 NSTDA • November 2022
พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8
มีน้ำ�หนักใกล้เคียงกัน และไม่ต้องปรับโครงสร้างกันสาดที่มีอยู่เดิม และเมื่อตัวกันสาดโซลาร์
หมดอายุการใช้งานก็เปลี่ยนและติดตั้งใหม่ได้โดยง่าย ในขณะที่กันสาดโซลาร์ที่ปลดจากการ
ใช้งานแล้วยังนำ�กลับมารีไซเคิลได้ เนื่องจากวัสดุ PET และ ABS เป็นกลุ่มพอลิเมอร์ประเภท
เดียวกันที่รีไซเคิลได้ เท่ากับว่าลดขั้นตอนการถอดชิ้นส่วนเพื่อนำ�กลับไปใช้ซ้ำ�ได้ง่ายขึ้น
“ในด้านประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้า กันสาดโซลาร์มีประสิทธิภาพการผลิต
ไฟฟ้าต่ำ�กว่าแผงโซลาร์เซลล์แบบทั่วไปอยู่ที่ 8.5% โดยประมาณ เนื่องจากความโค้งและมุม
รับแสงที่เปลี่ยนไป อย่างไรก็ตามแผงกันสาดโซลาร์มีข้อดีในส่วนอุณหภูมิใต้แผงที่ต่ำ�กว่าแผง
แบบทั่วไป3-5 องศาเซลเซียส ทำ�ให้พื้นที่ใต้กันสาดมีอุณหภูมิที่เย็นกว่าการนำ�แผงแบบทั่วไป
มาทำ�เป็นกันสาด”
‘กันสาดโซลาร์’ ได้รับการจดสิทธิบัตรและมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่บริษัท
เอกชนแล้ว โดยขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยร่วมกันเพื่อพัฒนาต้นแบบให้ได้ตามมาตรฐาน
International Electrotechnical Commission (IEC) ซึ่งคาดว่าจะสามารถผลิตวางจำ�หน่าย
เชิงพาณิชย์ภายในปี2566 ถือเป็นความสำ�เร็จและความภาคภูมิใจของทีมวิจัยที่ได้สร้างสรรค์
นวัตกรรมด้านพลังงานสะอาด ตอบโจทย์โมเดลเศรษฐกิจ BCG ซึ่งเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์
ชาติ ที่สนับสนุนการออกแบบ การปรับปรุงที่อยู่อาศัยที่ช่วยประหยัดพลังงานและเป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565

NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556Saravit eMagazine 3/2556
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Semelhante a NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565 (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 18 ประจำเดือนกันยายน 2559
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2562
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2558
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2558
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556Saravit eMagazine 3/2556
Saravit eMagazine 3/2556
 
58 pdf e news
58 pdf e news58 pdf e news
58 pdf e news
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
NSTDA Newsletter ปีที่ 2 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2560 (ฉบับที่ 24)
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
NSTDA Newsletter ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2561
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 16 ประจำเดือนกรกฎาคม 2559
 

Mais de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Mais de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (12)

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2566
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2563
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2563
 

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565

  • 1. 1 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 บทความ Article ที่ปรึกษา ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล, ดร.ชฎามาศ ธุวะเศรษฐกุล, ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ดร.ลดาวัลย์ กระแสร์ชล, กุลประภา นาวานุเคราะห์ กองบรรณาธิการ ชนานันท์ คงธนาฤทธิ์, อาทิตย์ ลมูลปลั่ง, วัชราภรณ์ สนทนา, วรรณงาม วีระผาสุก อุดมรัตน์ วัฒนกูล, ไพรัตน์ ปัญญารักกิจ, สายพิณ ธนะศิริวัฒนา, บุญเลิศ อรุณพิบูลย์ ต่อตระกูล พูลโสภา, ชมพูนุช อนุศาสน์สิทธิกิจ, วีณา ยศวังใจ, ปรมาภรณ์ จูฑะจันทร์, พีรภัฏ บุญชู ศิลปกรรม ชุมพล พินิจธนสาร ทีมงาน NSTDA e-newsletter ผู้ผลิต ฝ่ายประชาสัมพันธ์ และฝ่ายเผยแพร่วิทยาศาสตร์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 7000 ต่อ 71725 โทรสาร 0 2564 7078 http://www.nstda.or.th/ อีเมล pr@nstda.or.th 2 3 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 4 ในเล่ม Insight ‘ฟู้ดแฟคเตอร์’ ผนึก ‘เมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช.’ สร้างระบบนิเวศนวัตกรรม เสริมแกร่งอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ เอ็มเทค สวทช. นำ� "เปลปกป้อง (PETE)" คว้ารางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ประจำ�ปี 2565 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ ‘เมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช. - พันธมิตร’ เปิดยิ่งใหญ่ การแข่งขันสุดยอดนวัตกรรม อาหาร Food Innopolis Innovation Contest 2022 เฟ้นหาสุดยอดนวัตกรรม ‘อา หารสตรีทฟู้ด-อาหารหมักดองพื้นถิ่น’ สวทช. จับมือ บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำ�กัด เปิดตัว ‘นวัตกรรมรถพยาบาลแรงดันลบ’ ตอกย้ำ�ศักยภาพด้านเครื่องมือแพทย์ของไทย เสริมความมั่นคงด้านสาธารณสุข เริ่มแล้ว สุดยอดงานประชุม-แสดงนวัตกรรมพร้อมต่อยอดธุรกิจที่ยั่งยืน APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022) สวทช. รับมอบสื่อถ่ายทอดความรู้ด้านสะเต็มเตรียมอบรมครู ก่อนนำ�ไปใช้จริง สวทช. อว. อัปเดต 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง ในงาน “APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022)” ‘Prolifera-แผ่นแปะปรับสภาพผิว’ คว้าผลงานวิจัยที่น่าลงทุนที่สุด ปี 2022 ในงาน APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022) สวทช. จับมือ ทีเซลล์ ผลักดันผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเวชสำ�อางไทยสู่ตลาดโลก สวทช. ร่วมน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร สวทช. ร่วมพัฒนาทักษะ วิทยาการคำ�นวณ ให้คุณครูในโรงเรียนเครือข่ายมูลนิธิชัยพัฒนา ใน รูปแบบออนไลน์ สวทช. ร่วมพิธีเทิดพระเกียรติ ในหลวงรัชกาลที่ 9 น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องใน “วันเทคโนโลยีของไทย” นักวิจัย สวทช. รับ 2 รางวัล!! สุดยอดเทคโนโลยี สร้างประโยชน์ด้านเศรษฐกิจและสังคม อย่างเป็นรูปธรรม สวทช.-สอวช.-บพข. เร่งเครื่อง Deep Tech Startup เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของ ประเทศ "ดร.นำ�ชัย" ผอ.ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อฯ สวทช. คว้ารางวัลนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ Mahidol Sci- ence Communicator Award 2022 สวทช.นำ�หน่วยงานพันธมิตรร่วมงานระดับโลก World Congress of Angel Investors 2022 ณ เมืองอันทาเลีย ประเทศตุรเคีย สวทช. ประกาศผู้ได้รับรางวัล “เครื่องพิมพ์สามมิติ” โครงการสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โคม ไฟลูกบาศก์ จากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ สวทช. มอบสื่อ STEAM with GEARS ให้โรงเรียน เตรียมเสริมทักษะสตีมแก่เยาวชนรับ เปิดเทอม สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย - คาร์กิลล์ เปิดตัวศูนย์นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ โปรตีนแห่งแรกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ‘SunGuard PV’ นวัตกรรมกันสาดโซลาร์ผลิตไฟฟ้า ข่าว News 21
  • 2. 2 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (7 ตุลาคม2565) ณ เมืองสุขสยาม ชั้นG ไอคอนสยาม กรุงเทพฯ: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) โดยเมือง นวัตกรรมอาหาร(FoodInnopolis) และ บริษัท ฟู้ดแฟคเตอร์ จำ�กัด ซึ่งเป็นพันธมิตรด้านนวัตกรรมอาหาร ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลง ความร่วมมือ การส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานวัตกรรมและนวัตกรด้านอาหาร โดยมี ผศ. ดร.วีรชัย อาจหาญ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. ดร.เอกอนงค์ จางบัว ผู้อำ�นวยการเมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช. และนายปิติ ภิรมย์ภักดี ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ฟู้ดแฟคเตอร์ จำ�กัด เพื่อให้เกิดการผลักดันและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันนวัตกรรมด้านอาหารของประเทศ เสริมความแข็งแกร่ง ของ Ecosystem ระหว่างภาครัฐและเอกชน ให้เกิดผลสำ�เร็จอย่างเป็นรูปธรรมและยั่งยืน อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/mou-foodfactor-fi/ ‘ฟู้ดแฟคเตอร์’ ผนึก ‘เมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช.’ สร้างระบบนิเวศนวัตกรรม เสริมแกร่งอุตสาหกรรมอาหารของประเทศ
  • 3. 3 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (5 ตุลาคม 2565) ณ รอยัล พารากอน ฮอลล์ สยามพารากอน กรุงเทพฯ: ดร.ศราวุธ เลิศพลังสันติ ผู้อำ�นวยการกลุ่มวิจัยการออกแบบ เชิงวิศวกรรมและการคำ�นวณ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. เข้ารับรางวัลนวัตกรรมเเห่งชาติ ประจำ�ปี 2565 รองชนะเลิศอันดับ 1 ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ จากผลงานเปลปกป้อง (พีท) เปลเคลื่อนย้ายผู้ป่วยความดันลบ (Patient isolation and transportation chamber: PETE) โดยมี รศ. นพ. สรนิต ศิลธรรม เป็นประธานพิธีมอบรางวัล ในงาน “วันนวัตกรรม แห่งชาติ ประจำ�ปี 2565” จัดโดยสำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pete-2/ เอ็มเทค สวทช. นำ� "เปลปกป้อง (PETE)" คว้ารางวัลนวัตกรรมแห่งชาติ ประจำ�ปี 2565 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการ
  • 4. 4 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (7 ตุลาคม 2565) ณ ลานคนเมือง ห้างสรรพสินค้าไอคอนสยาม กรุงเทพฯ: ผศ. ดร.วีรชัย อาจหาญ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ดร.เอกอนงค์ จางบัว ผู้อำ�นวยการเมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช. นายพร ดารีพัฒน์ รองกรรมการผู้จัดการบริษัท ฟู้ดแฟคเตอร์ จำ�กัด ในเครือบุญรอดบริวเวอรี่ ดร.วาทิต ตมะวิโมกษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ กรรมการผู้อำ�นวยการ บริษัท เคซีจี คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด นายวุฒิชัย เจริญศุภกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท พลังผัก จำ�กัด ดร.กีรติ ตระการศิริวานิช คณบดีคณะพัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และนายพิชิต วีรังคบุตร รองผู้อำ�นวยการสำ�นักงานส่งเสริมเศรษฐกิจ สร้างสรรค์ และ รักษาการผู้อำ�นวยการสำ�นักส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เชียงใหม่ ร่วมแถลงข่าวการเปิดงานประกวดนวัตกรรมอาหาร รอบชิงชนะเลิศระดับประเทศ โครงการ Food Innopolis Innovation Contest 2022 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 7-9 ตุลาคม 2565 โดยมีทีม ผู้เข้าแข่งขันและแสดงผลงานจำ�นวน 40 ทีมกว่า 40 ผลงานตลอด 3 วันของการจัดงาน ซึ่งจะมีการประกาศรางวัลชนะเลิศ ในวันที่ 9 ตุลาคม2565 เพื่อเฟ้นหาทีมที่ชนะในโจทย์การแข่งขันอาหารสตรีทฟู้ดและอาหารหมักดองพื้นถิ่น ในการนำ�ไปต่อยอดผลิตภัณฑ์นวัตกรรม อาหารสู่เชิงพาณิชย์จากโครงการประกวด อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.nstda.or.th/home/news_post/food-innopolis-innovation-contest-2022/ ‘เมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช. - พันธมิตร’ เปิดยิ่งใหญ่ การแข่งขันสุดยอดนวัตกรรมอาหาร Food Innopolis Innovation Contest 2022 เฟ้นหาสุดยอดนวัตกรรม ‘อาหารสตรีทฟู้ด-อาหารหมักดองพื้นถิ่น’
  • 5. 5 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (10 ตุลาคม 2565) ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย ศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม (DECC) ร่วมกับ บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำ�กัด จัดแถลงข่าวเปิดตัวนวัตกรรมรถพยาบาลแรงดันลบ โดยมี ดร.สมบุญ สหสิทธิวัฒน์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. และ ภก.ชาญชัย อุดมลาภธรรม ประธานบริหาร บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำ�กัด ร่วมเป็นประธานแถลงข่าว พร้อมด้วย นายอัมพร โพธิ์ใย ผู้อำ�นวยการศูนย์บริการปรึกษาการออกแบบและวิศวกรรม สวทช. อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/rexcuer/ สวทช. จับมือ บริษัท อาร์เอ็กซ์ จำ�กัด เปิดตัว ‘นวัตกรรมรถพยาบาลแรงดันลบ’ ตอกย้ำ�ศักยภาพด้านเครื่องมือแพทย์ของไทย เสริมความมั่นคงด้านสาธารณสุข
  • 6. 6 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (10 ตุลาคม 2565) ณ เซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) นำ�โดย ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวง อว. พร้อมด้วยศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการ สวทช. จับมือพันธมิตรองค์กรภาครัฐ เอกชน และ สถาบันการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในและต่างประเทศกว่า 40 หน่วยงาน เปิดงานประชุมและนิทรรศการ APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022) ภายใต้แนวคิด ผสานพลัง วทน. เพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน (Synergizing STI to Sustainable Business) เพื่อเป็นกิจกรรมสนับสนุนการเป็นเจ้าภาพประชุมผู้นำ�เขตเศรษฐกิจเอเปค (APEC 2022 Thailand) และ เปิดงาน Thailand Tech Show 2022 เวทีแสดงผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมวิจัยที่พร้อมต่อยอดธุรกิจ พร้อมทั้งเป็นการ ส่งเสริมโอกาสความร่วมมือด้านธุรกิจ วิชาการระหว่างสมาชิกเอเปคให้เกิดผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม จัดขึ้นระหว่างวันที่10-11 ตุลาคม2565 ที่ เซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/10102565-apec-bcg-economy-thailand-2022/ เริ่มแล้ว สุดยอดงานประชุม-แสดงนวัตกรรมพร้อมต่อยอดธุรกิจที่ยั่งยืน APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022)
  • 7. 7 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (11 ตุลาคม 2565) ณ ดิ แอทธินี โฮเต็ล: ดร.สมบุญ สหสิทธิวัฒน์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) พร้อมด้วย ดร.นำ�ชัย ชีววิวรรธน์ ผู้อำ�นวยการฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ สวทช. รับมอบสื่อ Gearphun จำ�นวน 120 ชุด จากนายคอลิน ไซมอนด์ส ประธานบริษัท Thinklplay จำ�กัด ในงาน Bett Asia 2022 เพื่อนำ�มาใช้เป็นสื่อถ่ายทอดความรู้ด้าน สะเต็มให้กับบุคลากรครูระดับประถมในกิจกรรม “การจัดการเรียนรู้ STEAM with Gears” อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/steam-with-gears/ สวทช. รับมอบสื่อถ่ายทอดความรู้ด้านสะเต็ม เตรียมอบรมครูก่อนนำ�ไปใช้จริง
  • 8. 8 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (11 ตุลาคม 2565) ณ เซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยศาสตราจารย์ ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) บรรยาย พิเศษเรื่อง 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง (10 Technologies to Watch) ซึ่ง สวทช. จัดขึ้นในงานประชุมและนิทรรศการ APEC BCG EconomyThailand2022:TechtoBiz(ThailandTechShow2022) ภายใต้แนวคิด ผสานพลัง วทน. เพื่อธุรกิจที่ยั่งยืน(SynergizingSTI to Sustainable Business) เพื่อเป็นกิจกรรมสนับสนุนการเป็นเจ้าภาพประชุมผู้นำ�เขตเศรษฐกิจเอเปค (APEC 2022 Thailand) และเปิดงาน Thailand Tech Show 2022 เวทีแสดงผลงานทางวิชาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรมวิจัยที่พร้อมต่อยอดธุรกิจขึ้นระหว่าง วันที่ 10-11 ตุลาคม 2565 อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/10-technologies-to-watch/ สวทช. อว. อัปเดต 10 เทคโนโลยีที่น่าจับตามอง ในงาน “APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022)"
  • 9. 9 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (11 ตุลาคม 2565) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) จัดกิจกรรมนำ�เสนอผลงานวิจัยที่น่าลงทุนประจำ�ปี 2565 ซึ่ง สวทช. จับมือพันธมิตรองค์กรภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งในและต่างประเทศกว่า 40 หน่วยงาน จัดประชุมและนิทรรศการ APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022) ระหว่างวันที่ 10-11 ตุลาคม 2565 ที่ เซ็นทาราแกรนด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว กรุงเทพฯ สำ�หรับเวทีการนำ�เสนอผลงานวิจัยเด่นที่น่าลงทุน (Investment Pitching) ในปีนี้ มีจำ�นวนทั้งสิ้น 9 ผลงานจาก สวทช. 4 ผลงาน และพันธมิตร 4 ผลงาน และต่างประเทศ 1 ผลงาน ซึ่งผลปรากฎว่ารางวัลผลงาน ที่น่าลงทุนที่สุดประจำ�ปี 2565 และรางวัลผลงานที่นำ�เสนอดีที่สุด ได้แก่ “Prolifera แผ่นแปะปรับสภาพผิวให้แลดูเรียบเนียน” จากการ โหวตของนักลงทุนและประชาชนที่เข้าร่วมงาน ซึ่งเป็นผลงานวิจัยและพัฒนาโดย นางสาวกชกร เอี่ยมวิมังสา และทีมวิจัยจากศูนย์นาโน เทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) สวทช. อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pitching-prolifera-apec-bcg/ ‘Prolifera-แผ่นแปะปรับสภาพผิว’ คว้าผลงานวิจัยที่น่าลงทุนที่สุด ปี 2022 ในงาน APEC BCG Economy Thailand 2022: Tech to Biz (Thailand Tech Show 2022)
  • 10. 10 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 โปรแกรมสารสกัดธรรมชาติเพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ ภายใต้กลุ่มโปรแกรมอาหารและส่วนผสมฟังก์ชั่นบนฐานการผลิตที่ยั่งยืน สำ�นักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ร่วมกับ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สนับสนุน 3 ผู้ประกอบการไทยเข้าร่วมงาน: The international innovation fair for cosmeticandperfumeindustry วันที่12-13 ตุลาคม2565 ณCarouselduLouvre กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เพื่อนำ�เสนอผลิตภัณฑ์ เวชสำ�อางที่มีความโดดเด่นด้านนวัตกรรมสารสกัด/สารออกฤทธิ์จากธรรมชาติที่มีคุณสมบัติด้านการชะลอวัย (Anti-aging) โดยได้รับ เกียรติจาก น.ส.กนกลักษณ์ โพธิ์ไทรย์ อัครราชทูตที่ปรึกษา ซึ่งได้รับมอบหมายจากเอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส เพื่อเป็นประธานในพิธี เปิดบูธนิทรรศการพร้อมเยี่ยมชมผลงาน โดยมี ดร.อุรชา รักษ์ตานนท์ชัย (รักษาการ) รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และผู้อำ�นวยการโปรแกรม นวัตกรรมสารสกัดธรรมชาติเพื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพ สวทช. และ น.ส.นิสากร จึงเจริญธรรม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านบริหารทีเซลล์ พร้อมคณะให้การต้อนรับและเข้าร่วมพิธีเปิดบูธนิทรรศการ อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/cosmetic360/ สวทช. จับมือ ทีเซลล์ ผลักดันผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมเวชสำ�อางไทยสู่ตลาดโลก
  • 11. 11 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 สวทช. ร่วมน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (13 ตุลาคม 2565) ณ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ศ. ดร.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ประธานพิธีน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องในวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พร้อมด้วย ดร.พัชรินรุจา จันทโรนานนท์ ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง รศ.ดร.พาสิทธิ์ หล่อธีรพงศ์ รองปลัดกระทรวง นางสาวสุณีย์ เลิศเพียรธรรม หัวหน้าผู้ตรวจราชการ กระทรวง นายวันนี นนท์ศิริ ผู้ช่วยปลัดกระทรวง ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อำ�นวยการ สวทช. และคณะผู้บริหารหน่วยงานในสังกัดกระทรวง อว. ร่วมถวาย ภัตตาหารเช้าแด่พระสงฆ์วัดจักรวรรดิราชาวาสวรมหาวิหาร จำ�นวน 10 รูป อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-13102565/
  • 12. 12 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 สวทช. ร่วมพัฒนาทักษะ วิทยาการคำ�นวณ ให้คุณครูในโรงเรียนเครือข่ายมูลนิธิชัยพัฒนา ในรูปแบบออนไลน์ (17 ตุลาคม 2565) ฝ่ายวิชาการ หลักสูตร และสื่อการเรียนรู้ สวทช. จัดกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรเฉพาะทาง หัวข้อ วิทยาการคำ�นวณ ตามแนวทางโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทยในรูปแบบออนไลน์ โดยมีคุณครูผู้สอนระดับชั้นปฐมวัย และประถมศึกษาปีที่ 1-3 จากโรงเรียนอนุบาลไผทวิทยา (มูลนิธิชัยพัฒนา) และโรงเรียนชัยพิทยพัฒน์ มูลนิธิชัยพัฒนา จำ�นวน 38 คน เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมทราบถึงแนวทางการจัดการเรียนวิทยาการคำ�นวณ รูปแบบ Unplugged และตัวอย่างกิจกรรมที่ เน้นการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตามแนวทางโครงการฯเริ่มต้นกิจกรรมโดย ดร.ปวริศา บุญรอด ผู้อำ�นวยการ โรงเรียนอนุบาลไผทวิทยา(มูลนิธิชัยพัฒนา) กล่าวเปิดกิจกรรมและเน้นย้ำ�ถึงความสำ�คัญของการเรียนรู้กิจกรรมวิทยาการคำ�นวณเพื่อให้ครู นำ�มาประยุกต์ใช้ในชั้นเรียน อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-seminar-chaipat/
  • 13. 13 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (19 ตุลาคม 2565) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จัดพิธีวางพุ่มดอกไม้ถวายราชสักการะพระบาท สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ในฐานะทรงเป็น “พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย” เนื่องใน “วันเทคโนโลยีของไทย” ประจำ�ปี 2565 โดยมี ดร.ลัทธจิตร มีรักษ์ ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. เป็นประธานในพิธี วางพุ่มดอกไม้และถวายราชสักการะ พร้อมด้วย ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) นางสาวศิรินาถ แถบทอง ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. คณะผู้บริหาร อว. ผู้แทนหน่วยงานในสังกัด ผู้แทนมหาวิทยาลัย ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ ร่วมวางพุ่มดอกไม้และถวายราชสักการะฯ ณ ลานพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระสยามเทวมหามงกุฎวิทยามหาราช รัชกาลที่ 4 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/651019/ สวทช. ร่วมพิธีเทิดพระเกียรติ ในหลวงรัชกาลที่ 9 น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ เนื่องใน “วันเทคโนโลยีของไทย”
  • 14. 14 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (19 ตุลาคม 2565) ณ ดิ แอทธินี โฮเต็ล: สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้รับรางวัลเทคโนโลยีดีเด่น ประจำ�ปี พ.ศ.2565 และรางวัลเทคโนโลยีรุ่นใหม่ประจำ�ปี พ.ศ.2565 โดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ในฐานะผู้พิจารณาคัดเลือกผลงานและมอบรางวัล ได้ดำ�เนินการมาอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยในปี 2565 มีผู้ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ประเภทละ 1 รางวัล ดังนี้ รางวัลเทคโนโลยีดีเด่น ประจำ�ปี พ.ศ.2565 ประเภทกลุ่ม ได้แก่ โครงการ “ระบบ ติดตามตรวจวัดข้อมูลระยะไกลด้านความปลอดภัยเขื่อน” (Dam Safety Remote Monitoring System: DS-RMS) โดย ดร.กนกเวทย์ ตั้งพิมลรัตน์ และทีมวิจัยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. ร่วมกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย และรางวัลเทคโนโลยีรุ่นใหม่ประจำ�ปี พ.ศ.2565 ได้แก่ โครงการ “โครงสร้างพื้นฐานการประมวลผลสมรรถนะสูงเพื่องาน วิจัยวัสดุขั้นสูง” (High Performance Computing Infrastructure for Advanced Materials Research) โดย ดร.มนัสชัย คุณาเศรษฐ หัวหน้าทีมวิจัยโครงสร้างพื้นฐานซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) สวทช. ปัจจุบัน ดำ�รงตำ�แหน่ง ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/pr-techinno/ นักวิจัย สวทช. รับ 2 รางวัล!! สุดยอดเทคโนโลยี สร้างประโยชน์ด้านเศรษฐกิจและสังคม อย่างเป็นรูปธรรม
  • 15. 15 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 สวทช.-สอวช.-บพข. เร่งเครื่อง Deep Tech Startup เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ (21 ตุลาคม 2565) ณ เกษร เออร์เบิน รีสอร์ท (Gaysorn Urban Resort): สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดกิจกรรมนำ�เสนอผลงานภายใต้โครงการ “แพลตฟอร์มเร่งรัดการเติบโตธุรกิจที่ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงลึก” NSTDA Deep Tech Acceleration Platform ในการสนับสนุน Deep Tech Startup เพื่อขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจใหม่และเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ โดยมี ผศ. ดร.วีรชัย อาจหาญ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สวทช. ดร.เอกอนงค์ จางบัว ผู้อำ�นวยการเมืองนวัตกรรมอาหาร สวทช. ดร.กิตติพงศ์ พร้อมวงศ์ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) และ รศ. ดร.ชาลีดา บรมพิชัยชาติกุล รองผู้อำ�นวยการด้านกลยุทธ์วิจัย หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ(บพข.) ร่วมงานพร้อมด้วยผู้ประกอบการ3 กลุ่มเทคโนโลยี ได้แก่ เทคโนโลยีอาหาร(FoodTechnology) เทคโนโลยี เพื่อการดูแลสุขภาพ (Healthcare Technology) และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (Internet of Things) รวม 22 ผลงานนำ�เสนอ ธุรกิจที่ใช้เทคโนโลยีเชิงลึกต่อนักลงทุน พันธมิตรและคู่ค้าทางธุรกิจ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงพันธมิตรและพัฒนาความร่วมมือต่อไป อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/deep-tech-startup-gaysorn/
  • 16. 16 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (21 ต.ค.2565) ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พญาไท กรุงเทพฯ: ในงานวันคล้ายวันสถาปนาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล ครบรอบปีที่ 64 มีพิธีมอบรางวัลนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ประจำ�ปี 2565 หรือ Mahidol Science Communicator Award 2022 เป็นรางวัลที่มอบให้แก่บุคคลที่มีผลงานการสื่อสารวิทยาศาสตร์ชัดเจนเป็นที่ประจักษ์ โดยในปีนี้ ดร.นำ�ชัย ชีววิวรรธน์ ผู้อำ�นวยการ ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อและผลิตภัณฑ์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้รับรางวัลนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ ประจำ�ปี 2565 ประเภทบุคคล รับมอบโล่รางวัลจาก รองศาสตราจารย์ ดร.พลังพล คงเสรี คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศิวิมล แสวงผล รองคณบดีฝ่ายกายภาพและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และผู้แทนจาก บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำ�กัด (มหาชน) ผู้สนับสนุนรางวัล อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/mahidol-science-communicator-award2022/ "ดร.นำ�ชัย" ผอ. ฝ่ายสร้างสรรค์สื่อฯ สวทช. คว้ารางวัลนักสื่อสารวิทยาศาสตร์ Mahidol Science Communicator Award 2022
  • 17. 17 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 สวทช. นำ�หน่วยงานพันธมิตรร่วมงานระดับโลก World Congress of Angel Investors 2022 ณ เมืองอันทาเลีย ประเทศตุรเคีย (24-26 ตุลาคม 2565) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พร้อมด้วย สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.) และ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) (ศลช.) เดินทางเข้าร่วมงาน World Congress of Angel Investors นำ�โดย ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ผู้อำ�นวยการ สวทช. พร้อมร่วมลงนามข้อตกลงความร่วมมือด้านพัฒนาบุคลากรเพื่อสร้างระบบนิเวศและ เครือข่ายนักลงทุนระหว่างสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กับ World Business Angels Investment Forum (WBAF) ซึ่งเป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีเป้าหมายเพื่ออำ�นวยความสะดวกในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนสำ�หรับธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจระยะเริ่มต้น นอกจากนี้ ปีนี้ สวทช. สนช. และ ศลช. ได้ร่วมรับตำ�แหน่ง High Commissioner และ Senator เพื่อทำ�หน้าที่ขับเคลื่อนระบบนิเวศ ของทั้งนักลงทุนและสตาร์ตอัปให้แข็งแกร่งด้วย อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/world-congress-of-angel-investors-2022/
  • 18. 18 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 (25 ตุลาคม2565) ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: ดร.สมบุญ สหสิทธิวัฒน์ ผู้ช่วยผู้อำ�นวยการ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ( สวทช.) เปิดเผยว่า ตามที่ โครงการสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โคมไฟลูกบาศก์ จาก เครื่องพิมพ์ 3 มิติ ที่ดำ�เนินโครงการโดยบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร ได้ประชาสัมพันธ์เชิญชวนโรงเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการผ่านเครือข่าย กิจกรรมเพื่อทำ�การขยายผลการใช้สื่อและสนับสนุนให้โรงเรียนที่มีความสนใจนำ�ชุดสื่อดังกล่าวไปใช้จริงในการจัดการเรียนการสอน ในโรงเรียนสำ�หรับนักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลายถึงมัธยมศึกษาตอนต้น โดยให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ได้ฝึกคิดอย่างเป็น ระบบ ลงมือวางแผนและแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง ผ่านบทเรียนออนไลน์ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการพัฒนาทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ให้แก่นักเรียน ทั้งนี้โครงการฯ ได้พิจารณาจากผลงาน คลิปวิดีโอ รวมถึงการนำ�เสนอผลงานของผู้เข้าร่วม โครงการ ฯ มีโรงเรียนสนใจส่งผลงานเข้าแข่งขันเพื่อรับรางวัลเครื่องพิมพ์ 3 มิติ จำ�นวน 11 โรงเรียน แบ่งการแข่งขันแบ่งเป็น 2 รอบ รอบคัดเลือกเป็นการส่งผลงานการออกแบบโมเดล 3 มิติ พร้อมคลิปอธิบายรายละเอียดประกอบผลงานการออกแบบ และรอบตัดสิน เป็นการนำ�เสนอผลงานการออกแบบต่อคณะกรรมการ ซึ่งผลการประกวด มีโรงเรียนชนะการประกวดได้รับรางวัล จำ�นวน 5 โรงเรียน อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/fabrication-lab/ สวทช. ประกาศผู้ได้รับรางวัล “เครื่องพิมพ์สามมิติ” โครงการสื่อการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โคมไฟลูกบาศก์ จากเครื่องพิมพ์ 3 มิติ
  • 19. 19 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 สวทช. มอบสื่อ STEAM with GEARS ให้โรงเรียน เตรียมเสริมทักษะสตีมแก่เยาวชนรับเปิดเทอม (26 ตุลาคม2565) ณ ห้องSD-601 อาคารสราญวิทย์ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดย สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จัดกิจกรรม “การจัดการเรียนรู้” และส่งมอบ สื่อ STEAM with GEARS แก่โรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมจำ�นวน 15 แห่ง โดยสื่อ Gearphun จำ�นวน 120 ชุด ซึ่ง สวทช. ได้รับมอบจาก บริษัทThinklplay จำ�กัด ในงานBettAsia2022 เพื่อนำ�มาใช้เป็นสื่อถ่ายทอดความรู้ด้านสะเต็มให้กับบุคลากรครูระดับประถมในกิจกรรม “การจัดการเรียนรู้ STEAM with Gears” ทั้งนี้ สวทช. มุ่งหวังว่าความรู้และวิธีการเสริมทักษะ STEAM ด้วยสื่อ Gearphun ที่แต่ละ โรงเรียนได้รับจากการสัมมนานี้จะนำ�ไปใช้ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนเพื่อช่วยให้เด็กๆ ได้รับความรู้คู่ความสนุกจากการเรียน ในห้องเรียน อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/steam-with-gears-2/
  • 20. 20 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 สวทช. อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย - คาร์กิลล์ เปิดตัวศูนย์นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์โปรตีน แห่งแรกของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (26 ตุลาคม 2565) ณ อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี: ดร.วรรณพ วิเศษสงวน ผู้อำ�นวยการศูนย์ พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นประธาน พิธีเปิดศูนย์นวัตกรรมคาร์กิลล์ (Cargill Innovation Center) หรือ ศูนย์ส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ของบริษัท คาร์กิลล์มีท (ไทยแลนด์) จำ�กัด ที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยและหน่วยงานต่างๆ ในสังกัด สวทช.และพันธมิตร เพื่อส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สู่วิทยาการผลิต แปรรูปอาหาร และเทคโนโลยีด้านการเกษตรสมัยใหม่ โดยมี น.สพ.สนัด วงศ์ทวีทอง รองผู้อำ�นวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทยและ นางสาวชมพูนุช อนุศาสน์สิทธิกิจ ผู้อำ�นวยการฝ่ายพัฒนาธุรกิจและคลัสเตอร์ นวัตกรรม อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย เข้าร่วมพิธี อ่านรายละเอียดเพิ่ม https://www.nstda.or.th/home/news_post/nstda-tsp-cargill-innovation-center/
  • 21. 21 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 ‘SunGuard PV’ นวัตกรรมกันสาดโซลาร์ผลิตไฟฟ้า นับวันค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน โดยเฉพาะ ‘ไฟฟ้า’ มีแนวโน้มเพิ่ม สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประชาชนเริ่มหันมาพึ่งพาตนเองด้านพลังงาน ด้วยการ ติดตั้ง ‘แผงโซลาร์เซลล์’ ตามบ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ เพื่อประหยัด ค่าใช้จ่าย แต่ด้วยข้อจำ�กัดของแผงโซลาร์เซลล์ทั่วไปที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยม ผืนผ้า น้ำ�หนักมาก และโค้งงอไม่ได้ ทำ�ให้ไม่สามารถติดตั้งในบางพื้นที่ อีกทั้ง การติดตั้งยังจำ�เพาะกับหลังคาที่มีพื้นที่หลังคากว้าง เช่น หลังคาทรงจั่ว หลังคาทรงปั้นหยา และหลังคาทรงโมเดิร์น ไม่เหมาะใช้งานกับบ้านที่มีลักษณะ หลังคารูปทรงแบบโค้ง หากแต่ว่าปัจจุบันจะเห็นได้ว่าหลังคาแบบโค้งนิยมนำ�มาใช้ ทำ�หลังคากันสาดเป็นส่วนใหญ่ และเริ่มได้รับความนิยมในการออกแบบทำ�ร้านอาหาร ร้านกาแฟ เพื่อให้มีมุมสถาปัตยกรรมแบบยุโรปและดูทันสมัย เรียบเรียง: วัชราภรณ์ สนทนา
  • 22. 22 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ชาติ (สวทช.) โดยศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (เอ็น เทค) พัฒนานวัตกรรม ‘ซันการ์ดพีวี(SunGuardPV) หรือ กันสาดโซลาร์’ แผงโซลาร์เซลล์แบบใหม่ ที่มีน้ำ�หนักเบา โค้งงอได้ เหมาะสำ�หรับใช้เป็นกันสาดและติดตั้งได้ทันที ว่าที่ร้อยตรี ดร.นพดล สิทธิพล นักวิจัยจากทีม วิจัยเทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์ เอ็นเทค สวทช. เล่าถึงที่มา งานวิจัยว่า ในช่วง3-4 ปีที่ผ่านมา ประชาชนให้ความสนใจ ติดตั้งระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์บน หลังคา หรือ Solar Rooftop เพื่อผลิตไฟฟ้าใช้เองใน ครัวเรือนมากขึ้น แต่ด้วยลักษณะของSolarRoof ในปัจจุบัน ไม่ได้เอื้อต่อการติดตั้งกับหลังคาบางรูปแบบ ประกอบ กับแผงมีน้ำ�หนักโดยเฉลี่ยมากถึง 25-30 กิโลกรัมต่อแผง ขณะเดียวกันประเทศไทยตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตรทำ�ให้ ได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ปริมาณมาก และมีอากาศร้อน บ้านเรือนส่วนใหญ่ต่างติดตั้งกันสาดแทบทุกหลังคาเรือน แต่ด้วยลักษณะแผงโซลาร์เซลล์ที่มีอยู่นำ�มาประยุกต์ใช้ได้ ยาก หากไม่นับเรื่องความสวยงามที่จะเกิดขึ้นกับตัวบ้าน หรืออาคารก็ยังติดเรื่องน้ำ�หนักและปัญหาการติดตั้ง ทีม วิจัยเล็งเห็นว่าการพัฒนานวัตกรรมกันสาดโซลาร์เป็นโจทย์ ที่น่าสนใจ ช่วยลดปัญหาข้อจำ�กัดการใช้งาน ทำ�ให้ ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย และสร้างโอกาสทางธุรกิจให้แก่ ภาคเอกชนด้วย ทีมวิจัยมุ่งพัฒนาแผงโซลาร์เซลล์แบบใหม่ที่มีน้ำ� หนักเบา ติดตั้งง่าย และมีความทันสมัยเข้ากับงานออกแบบ สถาปัตยกรรม ซึ่งถือเป็นโจทย์ที่มีความท้าทายพอสมควร เนื่องจากไม่ได้เป็นการใช้เพียงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ แต่ยังให้ความสำ�คัญกับเรื่องศิลปะและ มุมมองด้านความสวยงามเมื่อนำ�ไปติดตั้งใช้งาน อีกทั้งยัง คิดครอบคลุมถึงการจัดการหลังแผงปลดจากการใช้งาน แล้ว ซึ่งทีมวิจัยสามารถพัฒนานวัตกรรมตามแนวคิดที่ ตั้งเป้าไว้ได้สำ�เร็จและยื่นจดสิทธิบัตรเรียบร้อยแล้ว "ในด้้านประสิิทธิิภาพการผลิิตพลัังงานไฟฟ้้า กัันสาดโซลาร์์มีีประสิิทธิิภาพการผลิิตไฟฟ้้า ตํ่่�ากว่่าแผงโซลาร์์เซลล์์แบบทั่่�วไปอยู่่�ที่่� 8.5% โดยประมาณ เนื่่�องจากความโค้้งและมุุมรัับ แสงที่่�เปลี่่�ยนไป อย่่างไรก็็ตามแผงกัันสาด โซลาร์์มีีข้้อดีีในส่่วนอุุณหภููมิิใต้้แผงที่่�ตํ่่�ากว่่า แผงแบบทั่่�วไป 3-5 องศาเซลเซีียส ทำให้้พื้้�นที่่� ใต้้กัันสาดมีีอุุณหภููมิิที่่�เย็็นกว่่าการนำแผงแบบ ทั่่�วไปมาทำเป็็นกัันสาด" ดร.นพดล สิทธิพล ศูนย์เทคโนโลยีพลังงานแห่งชาติ (เอ็นเทค) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
  • 23. 23 พฤศจิกายน 2565 • พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 โซลาร์ คือมีน้ำ�หนักต่อพื้นที่เบากว่า แผงโครงสร้างทั่วไปมากกว่า 50% โค้งงอได้ และยังคงความทนทาน ต่อสภาพแวดล้อม รับแรงกระแทก ได้ดี สามารถเพิ่มเติมสีสันให้เข้ากับ สถาปัตยกรรมอาคาร บ้านเรือน หรือ ร้านค้าได้ ที่สำ�คัญคือติดตั้งง่าย โดย ตัดหรือเจาะได้โดยตรง โดยไม่ทำ�ให้ “สำ�หรับกระบวนการพัฒนา นวัตกรรม ทีมวิจัยได้ทำ�การศึกษา ตั้งแต่การคัดเลือกวัตถุดิบที่นำ�มาใช้ ในองค์ประกอบหลัก3 ส่วนของแผงโซ ลาร์เซลล์ คือ กระจกด้านหน้า เซลล์ แสงอาทิตย์ และแผ่นป้องกันที่อยู่ด้าน หลังแผง (Back Sheet) ซึ่งทำ�จาก วัสดุพอลิไวนิล ฟลูออไรด์ (Polyvinyl Fluoride: PVF หรือ ชื่อทางการค้า Tedlar) ในส่วนของกระจกทีมวิจัย เลือกใช้วัสดุพอลิเอทิลีน เทอเรปทา เลต (Polyethylene Terephtha- late: PET) ที่นิยมใช้ทำ�ขวดพลาสติก โดยใช้เกรดเพื่อผลิตแผงโซลาร์ เซลล์โดยเฉพาะ เนื่องจาก PET มี ลักษณะโปร่งแสงเทียบเท่ากระจกแต่มี น้ำ�หนักเบากว่า และสามารถปรับให้ โค้งงอได้ ในขณะที่แผ่น PVF เลือก ใช้วัสดุอะครีโลไนไตรล์-บิวทาไดอีน- สไตรีน เมทีเรียล (Acrylonitrile- Butadiene-Styrene Material: ABS) ทดแทน เพราะมีข้อดีคือน้ำ�หนัก เบา มีความแข็งแรงและความเหนียว ช่วยเสริมแผงให้ทนแรงกระแทกและ ทนต่อสภาพอากาศ ที่สำ�คัญทีม วิจัยยังคำ�นึงถึงการผลิตแผงจึงได้ คิดค้นเทคนิคการผลิตที่ไม่กระทบ ขั้นตอนการผลิตเดิมของแผงโซลาร์ เซลล์ทั่วไป เพื่อให้ผู้ประกอบการนำ� เทคโนโลยีไปใช้ได้ตามไลน์การผลิต ที่มี” ว่าที่ร้อยตรี ดร.นพดล เล่า ว่า จุดเด่นของนวัตกรรมกันสาด แผงโซลาร์เซลล์เสียหาย ยึดติดกับ โครงสร้างผนังหรือหลังคาได้ โดย ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมเพื่อซื้อ อุปกรณ์เสริมหรือต่อเติมโครงสร้าง เฉพาะ ซึ่งด้วยคุณสมบัติเหล่านี้ เอง ทำ�ให้สามารถนำ�กันสาดโซลาร์ ไปติดตั้งแทนกันสาดที่เป็นวัสดุ พอลิคาร์บอเนตเดิมได้ทันที เพราะ
  • 24. 24 NSTDA • November 2022 พฤศจิกายน 2565 ปีที่ 8 ฉบับที่ 8 มีน้ำ�หนักใกล้เคียงกัน และไม่ต้องปรับโครงสร้างกันสาดที่มีอยู่เดิม และเมื่อตัวกันสาดโซลาร์ หมดอายุการใช้งานก็เปลี่ยนและติดตั้งใหม่ได้โดยง่าย ในขณะที่กันสาดโซลาร์ที่ปลดจากการ ใช้งานแล้วยังนำ�กลับมารีไซเคิลได้ เนื่องจากวัสดุ PET และ ABS เป็นกลุ่มพอลิเมอร์ประเภท เดียวกันที่รีไซเคิลได้ เท่ากับว่าลดขั้นตอนการถอดชิ้นส่วนเพื่อนำ�กลับไปใช้ซ้ำ�ได้ง่ายขึ้น “ในด้านประสิทธิภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้า กันสาดโซลาร์มีประสิทธิภาพการผลิต ไฟฟ้าต่ำ�กว่าแผงโซลาร์เซลล์แบบทั่วไปอยู่ที่ 8.5% โดยประมาณ เนื่องจากความโค้งและมุม รับแสงที่เปลี่ยนไป อย่างไรก็ตามแผงกันสาดโซลาร์มีข้อดีในส่วนอุณหภูมิใต้แผงที่ต่ำ�กว่าแผง แบบทั่วไป3-5 องศาเซลเซียส ทำ�ให้พื้นที่ใต้กันสาดมีอุณหภูมิที่เย็นกว่าการนำ�แผงแบบทั่วไป มาทำ�เป็นกันสาด” ‘กันสาดโซลาร์’ ได้รับการจดสิทธิบัตรและมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่บริษัท เอกชนแล้ว โดยขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยร่วมกันเพื่อพัฒนาต้นแบบให้ได้ตามมาตรฐาน International Electrotechnical Commission (IEC) ซึ่งคาดว่าจะสามารถผลิตวางจำ�หน่าย เชิงพาณิชย์ภายในปี2566 ถือเป็นความสำ�เร็จและความภาคภูมิใจของทีมวิจัยที่ได้สร้างสรรค์ นวัตกรรมด้านพลังงานสะอาด ตอบโจทย์โมเดลเศรษฐกิจ BCG ซึ่งเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ ชาติ ที่สนับสนุนการออกแบบ การปรับปรุงที่อยู่อาศัยที่ช่วยประหยัดพลังงานและเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม