SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 88
รายงาน
เรื่อง..การจัดการคุณภาพและการซ่อมบารุง
รักษาระบบการผลิต
ของบริษัท SCG
เสนอ
อาจารย์ จีระวัฒน์ มันทรา
จัดทาโดย
นางสาวณัฐชญา วรรณดี รหัส 5650704107
กศบ.5603ข. สาขาวิชาการตลาด
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
การจัดการการผลิต
ปีการศึกษา 2/2556
มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การจัดการการผลิต
จัดทาขึ้นเพื่อให้ทราบถึงแนวทาง
ระบบในการวางแผนการทางานของบริษัท เอสซีจี (SCG)
ในการบริหารงานเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของบริษัทที่วางไว้
โดยนาหลักและอุดมการณ์ บรรษัทภิบาล และมาตรฐานต่างๆ
มาใช้ในการดาเนินงานเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่
กิจการหรือองค์กรธุรกิจนั้น โดยเฉพาะผู้บริโภค คือปัจจัยหลักที่สาคัญ
ในการดาเนินธุรกิจเพื่อให้ธุรกิจดาเนินกิจการต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภ
าพ ดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงได้นาเสนอ บริษัท เอสซีจี (SCG)
เพราะเชื่อว่าเป็นบริษัทที่สร้างความเชื่อมั่นและมั่นคง
ให้แก่คนไทยได้เป็นอย่างดี
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้ที่มาศึก
ษาและสามารถนาไปปรับใช้ในการเรียนการสอนและชีวิตประจาวันได้
หากรายงานเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาก็ขออภัยมา
ณ ที่นี้ด้วย
จัดทาโดย
นางสาวณัฐชญา
วรรณดี
รหัส
5650704107
กศบ.5603ข
สาขาวิชาการตลาด
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
คานา
สารบัญ
ประวัติความเป็นมาของบริษัท SCG วิสัยทัศน์ และ
อุดมการณ์ 1-2
ผู้บริหารระดับสูงเอสซีจี
3โครงสร้างองค์กร
4ภาพรวมธุรกิจ (Overview)
5-8สานักงานขายและโรงงาน
9-10 ภาพรวมธุรกิจ SCG
11-13 คุณภาพที่เหนือกว่า
ผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็นเลิศ
14การวิจัยและการพัฒนา
15แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเอสซีจี
16เป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SD Milestone)
17การพัฒนาอย่างยั่งยืนภายใต้หลักบรรษัทภิบาล
17-21การสร้างจิตสานึกด้านสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาศักยภาพเยาวชน 22-
24การดาเนินงานด้านความปลอดภัย
25การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน
26ต้นแบบของธุรกิจในด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย
สุขอนามัย และการสนับสนุนสังคม
27การดาเนินงานตามแผนคณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยื
น 28สรุปผลการดาเนินงาน
29-30 SCG eco value
31-
33หลักเกณฑ์กาหนดมาตรฐาน SCG eco value
34
การใช้ไอคอนแสดงคุณสมบัติเด่นของ SCG eco value
35องค์กรแห่งการเรียนรู้
36-
38การพัฒนาชุมชนใกล้โรงงาน
39 39ISO 26000 Social Responsibility
40-44การพัฒนาพนักงาน
45-
46รางวัลแห่งคุณภาพ
47-52 เอกสารอ้างอิง
1
ประวัติความเป็นมา
จากพระปรีชาญาณแห่งองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ที่ทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าให้ตั้งบริษัทปูนซิเมนต์ไทยขึ้นใน
ประเทศ เมื่อปีพ.ศ. 2456 เพื่อทดแทนการนาเข้าปูนซีเมนต์
นับแต่นั้นเป็นต้นมาในปัจจุบัน บริษัทปูนซิเมนต์ไทย จากัด
ได้แปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน ภายใต้ชื่อ"บริษัทปูนซิเมนต์ไทย จากัด
(มหาชน)" และได้ขยายขอบข่ายธุรกิจและเติบโตอย่างมั่นคงเป็น
"เครือซิเมนต์ไทย หรือ SCG" เพื่อเป็นศูนย์กลางการบริหาร
วิสัยทัศน์
รักษาความเป็นผู้นาของธุรกิจปูนซีเมนต์ในประเทศ
พร้อมทั้งมุ่งมั่นที่จะพัฒนาตนเองเป็นผู้นาของธุรกิจปูนซีเมนต์ในภูมิภ
าคอาเซียน โดยมีภาระกิจที่สาคัญ ดังนี้
พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพอย่างสม่าเสมอ
และมุ่งเน้นการให้บริการเพื่อให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจสูงสุด
ขยายธุรกิจโดยแสวงหาโอกาสในการลงทุนในธุรกิจปูนซีเมนต์ทั้งใน
และต่างประเทศ
ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน
โดยปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม
ตลอดจนเอาใจใส่ในเรื่องการรักษาสภาพแวดล้อม
การควบคุมนโยบาย และงานในด้านต่างๆ โดยมี "บริษัทเอซีจี ซิเมนต์"
เป็นบริษัทหลักใน "ธุรกิจซิเมนต์เครือซิเมนต์ไทย (SCG CEMENT)"
ซึ่งมีกาลังผลิตปูนซีเมนต์สูงที่สุดในภูมิภาคอาเซียน
และเป็นผู้ผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ "ตราช้าง"
(ปูนซีเมนต์ตราช้างและปูนซีเมนต์ขาวตราช้าง) ผลิตภัณฑ์
"ตราเสือ"(ปูนซีเมนต์ผสมตราเสือ
มอร์ตาร์หรือปูนสาเร็จรูปตราเสือมอร์ตาร์ และปูนซีเมนต์ขาวตราเสือ)
และผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสมเสร็จซีแพค (CPAC)
อุดมการณ์
บริษัทได้ดาเนินธุรกิจภายใต้อุดมการณ์ 4 ประการ
ตั้งมั่นในความเป็นธรรม
มุ่งมั่นในความเป็นเลิศ
เชื่อมั่นในคุณค่าของคน
ถือมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม
2
เชื่อมั่นในคุณค่าของคน
ให้ความสาคัญต่อ คุณค่าของพนักงาน และถือว่าเขาเหล่านั้นคือสมบัติ
ที่มีค่าที่สุดพยายามคัดสรรบุคลากร ที่มีความรู้ความสามารถ และมีคุณธรรม เข้ามาร่วมงาน ให้การฝึกฝน
พัฒนา และดูแลอย่างดี ด้วยสวัสดิการ และผลตอบแทนตามสมควร
ถือมั่นในความรับผิดชอบต่อสังคม
ตั้งเจตนารมณ์ไว้ว่า จะดาเนินธุรกิจโดยคานึงถึงหน้าที่ และความรับผิดชอบ ที่พึงมีต่อ
ประเทศชาติและสังคมส่วนรวมเป็นสาคัญจะประพฤติตน เป็นพลเมืองดีทาประโยชน์ให้แก่สังคม
และทุกชุมชนที่เครือฯ ดาเนินธุรกิจอยู่
อุดมการณ์ในการดาเนินธุรกิจทั้ง 4 ประการนี้สามารถสรุปรวมได้ว่าเครือซิเมนต์ไทย
(เอสซีจี) ยึดมั่นใน "คุณภาพและเป็นธรรม"
3
ผู้บริหารระดับสูงเอสซีจี
4
โครงสร้างองค์กร
5
ภาพรวมธุรกิจ (Overview)
เอสซีจี เคมิคอลส์ เป็นหนึ่งในห้ากลุ่มธุรกิจของเอสซีจี
ที่ดาเนินธุรกิจผลิตและจาหน่ายเคมีภัณฑ์ครบวงจร
ครอบคลุมตั้งแต่ขั้นต้น ได้แก่ โอเลฟินส์ ขั้นกลาง ได้แก่
สไตรีนโมโนเมอร์ พีทีเอ และเอ็มเอ็มเอ และขั้นปลาย ได้แก่
เม็ดพลาสติกหลักทั้ง 4 ประเภท คือ โพลิเอทิลีน โพลิโพรไพลีน
โพลิไวนิลคลอไรด์ และโพลิสไตรีน ปัจจุบัน เอสซีจี เคมิคอลส์
นับเป็นผู้ผลิตเคมีภัณฑ์ครบวงจรรายใหญ่ของประเทศไทย
และเป็นผู้ผลิตชั้นนาในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก
เอสซีจี เคมิคอลส์
ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางด้านคุณภาพผลิตภัณฑ์
ตลอดจนความเป็นเลิศด้านการบริหารจัดการและการดาเนินงานอย่างมี
ประสิทธิภาพทั่วทั้งองค์กร นอกจากนั้น
ยังได้ร่วมทุนกับบริษัทชั้นนาด้านอุตสาหกรรมปิโตรเคมีของโลก อาทิ
ดาว เคมิคอล ประเทศสหรัฐอเมริกา มิตซุย เคมิคัลส์ และมิตซูบิชิ เรยอน
ประเทศญี่ปุ่น
ด้วยความมุ่งมั่นในการพัฒนากระบวนการผลิต การจัดจาหน่าย
และการบริการให้มีประสิทธิภาพ
โดยใช้ระบบการจัดการผลผลิตทั่วทั้งองค์กร (TPM)
และระบบการจัดการคุณภาพทั้งองค์กร (TQM) เสมอมา ส่งผลให้
เอสซีจี เคมิคอลส์
ได้รับรางวัลชั้นนาด้านคุณภาพการบริหารจัดการระดับสากลมากมาย
อาทิ รางวัล The Deming Application Prize จาก The Union of
Japanese Scientists and Engineer (JUSE) รางวัล The TPM
Excellence Award จาก Japan Institute of Plant Maintenance
(JIPM) รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เป็นตัน
6
เอสซีจี เคมิคอลส์
มีนโยบายขยายธุรกิจและการลงทุนในต่างประเทศ
ปัจจุบันมีฐานการผลิตในไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย และอิหร่าน
มีสานักงานขายครอบคลุม 6 ประเทศในทวีปเอเชีย ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น
เวียดนาม พม่า อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
สวทช.
มอบใบประกาศนียบัตรระบบการจัดการคุณภาพพื้นฐานของไทย “
TFQS” แก่ 5 บริษัทขนส่งในเครือข่าย SCG
หวังนาร่องให้ผู้ประกอบการขนส่งรายอื่นเพิ่มศักยภาพ
และเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของเครือข่าย นาไปสู่การพัฒนาระบบ
Logistics ของไทยให้เข้มแข็ง เตรียมขยายเพิ่มอีก 20 บริษัทภายใน 3-
5 ปี ผู้บริหาร SCG ย้าชัด
ธุรกิจโลจิติกส์ไทยจะอยู่รอดได้ต้องนาระบบการจัดการคุณภาพเข้าไปใ
ช้ พร้อมตั้งเป้าเครือข่ายขนส่งก้าวต่อสู่ระบบISO9001และระบบTQM
ปัจจุบัน การดาเนินธุรกิจในภาวะที่มีการแข่งขันสูง
หากผู้ประกอบการไม่ให้ความสาคัญการพัฒนาความรู้ความชานาญ
ทักษะในกระบวนการผลิตสินค้าหรือบริการอาจทาให้มีศักยภาพไม่เพีย
งพอที่จะแข่งขันกับคู่แข่งทั้งในและต่างประเทศได้
เพื่อเป็นการสนับสนุนให้ผู้ประกอบการสามารถแข่งขันได้
นอกจากจาเป็นต้องเร่งพัฒนาเทคโนโลยีแล้วผู้ประกอบการยังต้องมีการ
บริหารจัดการที่เหมาะสมด้วย
ดังนั้น “ โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย
(iTAP) ภายใต้ศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
จึงได้จัดทา “โครงการพัฒนาระบบคุณภาพพื้นฐานของไทย ( Thai
Foundation Quality System : TFQS ) ” ขึ้นตั้งแต่ปี 2540
เพื่อสร้างพื้นฐานบันไดขั้นแรกในการบริหารจัดการคุณภาพได้ทั้งการผ
ลิตและการบริการสาหรับอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมของไท
ยสามารถสร้างศักยภาพในการแข่งขันและพัฒนาองค์กรจนนาไปสู่การ
จัดการคุณภาพระดับสากลได้ในที่สุด
ศ.ดร.ชัชนาถ เทพธรานนท์
ผู้อานวยการศูนย์บริหารจัดการเทคโนโลยี (TMC)
และรองผู้อานวยการสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งช
าติ (สวทช.) กล่าวว่า ระบบคุณภาพพื้นฐานของไทย หรือ TFQS
เป็นระบบการบริหารงานคุณภาพสาหรับ SMEs
ที่ต้องการพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพที่ไม่ซับซ้อนมากนัก
เนื่องจากระบบ TFQS มีข้อกาหนดในการปฏิบัติที่ผู้ประกอบการ SMEs
สามารถเข้าถึงได้ง่าย
ไม่เสียเวลามากลงทุนน้อยและไม่เน้นการจัดทาด้านเอกสาร
ระบบ TFQS เป็นระบบคุณภาพที่ทาง สวทช. โดย ดร.ลัดดาวัลย์
กระแสชล เป็นผู้พัฒนาขึ้นตั้งแต่ปี 2540
เหมาะกับการบริหารจัดการของ SMEsไทยทั้งการผลิต และการบริการ
โดยเน้นใน 4 เรื่องหลักๆ ได้แก่ นโยบาย- เป้าหมายด้านคุณภาพ
การวางแผนด้านคุณภาพ การควบคุมคุณภาพ
การจัดซื้อและการส่งมอบ
เพื่อให้ธุรกิจสามารถดาเนินงานได้อย่างมีคุณภาพ
7
“ ระบบดังกล่าวสามารถสร้างความเชื่อมั่นด้านคุณภาพ
และพัฒนาการบริหารจัดการในองค์กรให้มีศักยภาพการแข่งขันสูงขึ้น
โดยผู้ประกอบการที่ผ่านการรับรองระบบ TFQS
จะมีพื้นฐานเพียงพอที่จะสามารถพัฒนา
องค์กรจนนาไปสู่การจัดระบบคุณภาพระดับสากล อาทิ ระบบ ISO
9001 และ ระบบการจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร หรือ TQM ( Total
Quality Management ) ได้ในที่สุด ” ศ.ดร.ชัชนาถ กล่าว
แนวทางการสนับสนุนของโครงการ iTAP ภายใต้ศูนย์ TMC
นอกจากสนับสนุนด้านผู้เชี่ยวชาญเข้าไปเป็นที่ปรึกษา
และเงินสนับสนุนร้อยละ 50 ของงบประมาณโครงการ
เพื่อยกระดับเทคโนโลยีและพัฒนานวัตกรรมแล้ว
ยังรวมถึงการพัฒนาระบบคุณภาพ
เพื่อให้การผลิตสินค้าและบริการมีคุณภาพและมาตรฐานที่ดีขึ้น
ซึ่งระบบ TFQS เป็นระบบคุณภาพหนึ่งที่โครงการ iTAP
สนับสนุนให้มีการนาไปใช้สาหรับ SMEs
ซึ่งจะเป็นพื้นฐานให้ผู้ประกอบการไทยสามารถก้าวต่อไปได้อย่างเข้มแ
ข็ง
สาหรับผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาระบบคุณภาพพื้นฐานของไท
ย หรือ TFQS ของ iTAP ที่ผ่านมา ตั้งแต่ปี 2548-2552
มีจานวนบริษัทเข้าร่วมโครงการ TFQS
และได้รับการรับรองระบบคุณภาพแล้วทั้งสิ้น 28 บริษัท แบ่งเป็น
ภาคการผลิต 20 บริษัท และภาคการบริการ 8 บริษัท เช่น
ธุรกิจรับเขียนโปรแกรม
ธุรกิจประกอบคอมพิวเตอร์ธุรกิจก่อสร้างและธุรกิจขนส่งเป็นต้น
ด้าน ดร.พงษ์ชัย จิตตะมัย ผู้จัดการโครงการ iTAP
เครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.)
กล่าวถึงความคืบหน้าของโครงการ TFQS ว่า เมื่อวันจันทร์ที่ 16 พ.ย.
2552 ที่ผ่านมา iTAP
ได้มีการมอบใบประกาศนียบัตรรับรองระบบคุณภาพพื้นฐานของไทย
หรือ TFQS ให้แก่ผู้ประกอบการขนส่งในเครือข่ายบริษัท SCG
Logistics Management จากัด จานวน 5 ราย ได้แก่ บริษัท จัมโบ้
บาจส์ แอนด์ ทักส์ จากัด , บริษัท นครปฐมยนตรภัณฑ์ จากัด , บริษัท
อี.ที.ชลบุรีขนส่ง จากัด , ห้างหุ้นส่วนจากัด วรรจณา และ บริษัท
ลิ้มแชมป์เจริญ จากัด หลังจากได้เข้าร่วมพัฒนาระบบ TFQS
โดยมีอาจารย์นิพนธ์ ลัฐิกาพงศ์ เป็นที่ปรึกษาโครงการฯ
ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2551 และใช้เวลา 12
เดือนในการพัฒนาระบบของผู้ประกอบการขนส่งให้เป็นไปตามข้อกาห
นดของTFQSจนประสบผลสาเร็จ
ผลการเข้าร่วมพัฒนาระบบ TFQS พบว่า การดาเนินงานของทั้ง 5
บริษัทดังกล่าวนอกจากต้นทุนและเวลาในการทางานที่ลดลงแล้ว
ยังทาให้กระบวนการทางานของบริษัทดีขึ้น
การตรวจสอบมีความชัดเจนมากขึ้น ประสิทธิภาพในการทางานดีขึ้น
ปริมาณอุบัติเหตุในการให้บริการลดลง
รวมถึงสินค้าคงคลังมีความถูกต้องเป็นระบบมากขึ้น
ด้านการสื่อสารในองค์กรดีขึ้น ส่งผลตอ่บรรยากาศในการทางานดีขึ้น
ทาให้ลูกค้ามีความเชื่อมั่นมากขึ้น ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้เหล่านี้
เกิดจากการนาเอาระบบ TFQS
มาพัฒนาและประยุกต์ใช้กับธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ได้อย่างมีประสิท
ธิภาพ
นายภานุมาศ ศรีสุข กรรมการผู้จัดการ บริษัท SCG Logistics
Management จากัด ในเครือปูนซีเมนต์ไทย กล่าวว่า
เครือปูนซีเมนต์ไทยมีนโยบายที่มุ่งไปสู่ระบบการจัดการคุณภาพทั่วทั้งอ
งค์กร หรือ TQM
การสนับสนุนให้เครือข่ายขนส่งพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพพื้นฐาน
ของไทย หรือ TFQS
นั้นจึงเป็นไปตามนโยบายที่ต้องการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการขนส่ง
และโลจิติกส์เครือข่ายให้มีพื้นฐานและความเข้าใจ
8
เกี่ยวกับระบบการจัดการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการและ
รองรับการแข่งขันในอนาคต
สาหรับผู้ประกอบการขนส่งในเครือข่ายทั้ง 5
รายที่ได้รับการรับรองระบบ TFQS จาก iTAP
ถือเป็นการนาร่องให้กับผู้ประกอบการขนส่งในเครือที่มีกว่า 200
รายทั่วประเทศ หันมาพัฒนาระบบการจัดการกันมากขึ้น เชื่อว่า
เมื่อมีการนาระบบTFQS มาใช้ครอบคลุมเครือข่ายขนส่งเพิ่มขึ้นอีก 20
บริษัทภายใน 3 - 5 ปีข้างหน้า
จะทาให้ความสามารถในการเชื่อมโยงระบบไอทีมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ซึ่งคาดว่าจะช่วยเพิ่มรายได้ถึง12,000
ล้านบาทโดยในปี2552นี้บริษัทฯมียอดขายอยู่ประมาณ9,000ล้านบาท
“ ระบบโลจิติกส์แต่เดิม เน้นเฉพาะรถบรรทุกและเรือขนสินค้าเท่านั้น
ผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่เคยสนใจเรื่องการจัดการ ปัจจุบันไม่ได้แล้ว
เราไม่ได้แข่งเฉพาะในประเทศเท่านั้นแต่คู่แข่งมีอยู่ทั่วโลก
เมื่อข้อตกลงเขตการค้าเสรี หรือ FTA เริ่มบังคับใช้
หากเรายังไม่มีระบบการจัดการที่ดีเกรงว่าระบบโลจิติกส์ของไทยจะได้รั
บความลาบาก
เพราะระบบโลจิติกส์เป็นธุรกิจที่ต้องเน้นประสิทธิภาพการทางาน
หากระบบการจัดการไม่ดี ก็จะอยู่ไม่ได้ ”
“ การมีระบบการจัดการที่ดีจะทาให้ต้นทุนการทางานลดลง
ประหยัดเงินได้อย่างมหาศาล ซึ่งจะเป็นผลดีต่อบริษัท SCG
จึงสนับสนุนเรื่องดังกล่าว อย่างไรก็ตาม เชื่อว่า
หลังจากได้พัฒนาระบบการจัดการ TFQS แล้ว
ผู้ประกอบการขนส่งในเครือจะยังคงไม่หยุดนิ่งที่จะพัฒนาตนเองต่อไปสู่
ระบบ ISO 9001 และ ระบบ TQM ได้ในที่สุด
เพื่อให้สอดรับกับนโยบายของเครือปูนซีเมนต์ไทย ” กรรมการผู้จัดการ
SCG Logistics กล่าว
9
สานักงานขายและโรงงาน
บริษัท เอสซีจีซิเมนต์จากัด
1 ถ.ปูนซิเมนต์ไทย บางซึ่อ ,
กรุงเทพมหานคร 10800
Tel : 0-2586-2222
Fax : 0-2586-3072
บริษัทปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง)จากัด -
โรงงาน ท่าหลวง
1 หมู่ 9 ต. บ้านครัว อ. บ้านหมอ , สระบุรี
18270
Tel : 0-3635-1200-19, 0-3633-4720-9
Fax : 0-3633-4710-1
บริษัทปูนซิเมนต์ไทย (ท่าหลวง)จากัด -
โรงงาน เขาวง
28 หมู่ 4 ถ.หน้าพระลาน-บ้านครัว
ต.เขาวง อ.พระพุทธบาท, สระบุรี 18120
Tel : 0-3635-1200-19, 0-3633-4720-9
Fax : 0-3633-4710-1
บริษัทปูนซิเมนต์ไทย (แก่งคอย) จากัด
33/1 หมู่ 3 ถ.มิตรภาพ ต.บ้านป่า
อ.แก่งคอย , สระบุรี 18100
Tel : 0-3622-1026-7, 0-3624-5428
Fax : 0-3622-1017
บริษัทปูนซิเมนต์ไทย (ทุ่งสง) จากัด
52 หมู่ 6 ถ.ทุ่งสง-ห้วยยอด ต.ที่วัง อ.ทุ่งสง
, นครศรีธรรมราช 80110
Tel : 0-7553-8222
Fax : 0-7553-8111
10
บริษัทปูนซิเมนต์ไทย (ลาปาง) จากัด
279 หมู่ 5 ต.บ้านสา อ.แจ้ห่ม , ลาปาง
52120
Tel : 0-5427-1500
Fax : 0-5427-1501
บริษัทสยามปูนซิเมนต์ขาว จากัด
28 หมู่ 4 ถ.หน้าพระลาน-บ้านครัว
ต.เขาวง อ.พระพุทธบาท, สระบุรี 18120
Tel : 0-3635-1200-19, 0-3633-4720-9
Fax : 0-3633-4710
บริษัทสยามมอร์ตาร์จากัด
110 หมู่ 1 ถ.มิตรภาพ อ.แก่งคอย , สระบุรี
18110
Tel : 0-3624-5428
Fax : 0-3624-5473
บริษัทผลิตภัณฑ์และวัตถุก่อสร้าง จากัด
1516 ถ.ประชาราษฎร์สาย 1 บางซึ่อ ,
กรุงเทพมหานคร 10800
Tel : 0-2555-5000
Fax : 0-2555-5003
11
ภาพรวมธุรกิจ SCG
เอสซีจี เปเปอร์ (SCG Paper)
ภาพรวมธุรกิจ
เอสซีจีเข้าสู่ธุรกิจกระดาษ ในปี พ.ศ. 2519 ปัจจุบัน ธุรกิจกระดาษ
ผลิตและ จาหน่ายผลิตภัณฑ์กระดาษแบบครบวงจร
รายใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ประกอบด้วย เยื่อกระดาษ
กระดาษพิมพ์เขียน กระดาษอุตสาหกรรม และบรรจุภัณฑ์
ผลิตสินค้าคุณภาพมาตรฐานโลก เป็นที่ยอมรับของลูกค้าทั้งในประเทศ
และต่างประเทศ สามารถดารงความเป็นผู้นาตลาดทั้งในประเทศ
และภูมิภาคอาเซียนเพื่อรองรับการแข่งขันที่รุนแรง ธุรกิจฯ
มุ่งเน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรม ส่งผลให้มีสินค้าและบริการ ใหม่ๆ
ที่มีมูลค่าเพิ่ม เพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า
การปรับปรุงระบบการบริหารงานทั่วทั้งองค์กร
ตลอดจนการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการอย่างต่อเนื่อง
ทาให้สามารถเพิ่มปริมาณผลผลิตให้กับประเทศ
รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
จนได้รับรางวัลอันทรงเกียรติหลายรางวัล เช่น รางวัล Deming Prize
จาก สมาพันธ์นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรแห่งประเทศญี่ปุ่น
รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) และรางวัล Award for TPM
Excellence จาก Japan Institute of Plant Maintenance
Visit SCG Paper Website (http://paper.scg.co.th)
12
เอสซีจี ซิเมนต์ (SCG Cement)
ภาพรวมธุรกิจ
ธุรกิจซิเมนต์ถือเป็นธุรกิจแรกของเอสซีจี
เกิดขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งบริษัทบริษัทปูนซิเมนต์ไทย จากัด ในปี พ.ศ.
2456 ปัจจุบันธุรกิจฯ ผลิตและจาหน่ายปูนซีเมนต์ คอนกรีตผสมเสร็จ
ผลิตภัณฑ์คอนกรีต
ปูนซีเมนต์ขาวและวัสดุทนไฟรวมทั้งให้บริการด้านเทคนิคและการติดตั้
งโรงงานแก่ลูกค้าทั้งในและนอกธุรกิจมีนโยบายแสวงหาโอกาสลงทุนใ
นธุรกิจซิเมนต์ทั้งในประเทศและในภูมิภาคอย่างต่อเนื่องเช่น
การตั้งโรงงานปูนซีเมนต์เทาที่เมืองกัมปอต ประเทศกัมพูชา
และการสร้างเครือข่ายโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จในภูมิภาคอาเซียน
นอกจากนี้ยังส่งออกสินค้าไปยังประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียน
เพื่อสร้างการรับรู้ในสินค้าและตราสินค้าแก่ผู้บริโภค
เพื่อขยายธุรกิจในประเทศในภูมิภาคอาเซียนต่อไป
กลยุทธ์ในการดาเนินธุรกิจมุ่งเน้นการตอบสนองความต้องการของลูกค้
า โดยเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการสร้างสรรค์นวัตกรรม
และการพัฒนาสินค้าและบริการให้ตรงกับความต้องการของลูกค้ากลุ่มเ
ป้าหมายแต่ละกลุ่ม
นอกเหนือจากการดาเนินธุรกิจแล้ว บริษัทฯ
ได้ดาเนินการด้านสิ่งแวดล้อมและสังคมตามข้อเสนอแนะของWorld
Business Council for Sustainable Development
(WBCSD) – Working Group Cement
โดยเน้นการรักษาสภาพภูมิอากาศ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพการลดผลกระทบต่อชุม
ชนการรักษาสุขภาพของพนักงาน และการลดอุบัติเหตุจากการทางาน
Visit SCG Cement Website (http://www.scgcement.com)
13
เอสซีจี ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง (SCG Building Materials)
ภาพรวมธุรกิจ
เอสซีจี เริ่มเข้าสู่ธุรกิจผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง ในปี พ.ศ. 2481
ปัจจุบันธุรกิจฯ ผลิตและจาหน่ายวัสดุก่อสร้าง
และสินค้าตกแต่งหลากหลายประเภท ประกอบด้วยผลิตภัณฑ์หลังคา
กระเบื้องเซรามิก สุขภัณฑ์ ก๊อกน้า บล็อกปูถนน ฉนวนกันความร้อน
โดยใช้เทคโนโลยีการผลิต การควบคุมคุณภาพ
และการออกแบบที่ทันสมัยระดับสากล
รวมทั้งมีทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญสูง ทาให้ธุรกิจฯ
เป็นผู้นาทั้งตลาดในประเทศและภูมิภาคอาเซียน
ทั้งนี้ได้มีการจัดตั้งบริษัทเพื่อดาเนินธุรกิจในหลายประเทศ อาทิ
อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ขณะเดียวกันธุรกิจฯ
ได้ขยายฐานการส่งออกอย่างต่อเนื่อง
โดยมีตลาดส่งออกที่สาคัญได้แก่ กลุ่มอาเซียน สหรัฐอเมริกา ยุโรป
และออสเตรเลีย ธุรกิจฯ
นาแนวคิดด้านนวัตกรรมมาพัฒนาสินค้าและบริการ
โดยเน้นผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น
และสอดคล้องกับความต้องการและรูปแบบการดาเนินชีวิตของลูกค้า
ธุรกิจฯ ให้ความสาคัญกับการบริหารคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
ส่งผลให้บริษัทได้รับรางวัลสาคัญหลายรางวัลอาทิเช่น Deming
Application Prize จากสมาพันธ์
นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรแห่งญี่ปุ่น และ Prime Minister Export
Award จากกรมส่งเสริมการส่งออก
14
คุณภาพที่เหนือกว่า
ผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็นเลิศ
บริษัทให้ความสาคัญสาหรับลูก
ค้า
ด้วยการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพต
รงตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ปูนซี
เมนต์
พร้อมควบคุมกระบวนการผลิตด้
วยการนาระบบการจัดการคุณภ
าพ (ISO 9000)
และระบบประกันคุณภาพ
(Quality Assurance)
การวิจัยและพัฒนา
นอกเหนือจากงานวิจัยและพัฒนาเทค
โนโลยีสาขาต่างๆแล้วบริษัทฯมีห้องป
ฏิบัติการด้าน วิเคราะห์ทดสอบ
ทั้งด้านเคมีฟิสิกส์
และทดสอบผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับงาน
บริการวิเคราะห์ทดสอบ
ซึ่งนับวันจะยิ่งทวีความสาคัญมากขึ้น
ในการรับรองคุณภาพของสินค้า
มาตรฐานและรางวัลคุณภาพ
ในปี2002
บริษัทปูนซิเมนต์ไทย (ทุ่งสง)
จากัด ในกลุ่มธุรกิจซิเมนต์
เครือซิเมนต์ไทย(SCG)
เป็นโรงงานผลิตปูนซิเมนต์รายแ
รกและรายเดียวในไทยที่ได้รับร
างวัลThe Deming Application
องค์กรแห่งการเรียนรู้
บริษัทฯ มีความเชื่อมั่นว่า
พนักงานมีความสาคัญเป็นอย่างมากต่
อองค์กร ดังนั้น บริษัทฯ
จึงให้ความสาคัญในการดูแล
เอาใจใส่สุขภาพอนามัย
และความปลอดภัยในการทางานของ
พนักงานทุกคน
โดยรณรงค์ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงส
ภาพแวดล้อมการทางานให้มีความปล
Prize จากการใช้ TQM
อย่างเหมาะสม
อดภัย
ผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็นเลิศ
บริษัทให้ความสาคัญสาหรับลูกค้า
ด้วยการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพตรงตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ปูนซีเมนต์
พร้อมควบคุมกระบวนการผลิตด้วยการนาระบบการจัดการคุณภาพ
(ISO 9000) และระบบประกันคุณภาพ (Quality Assurance) มาใช้
เพื่อให้ลูกค้ามั่นใจในผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ
อีกทั้งยังมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่อย่างสม่าเสมอเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า เช่น เสือฉาบสูตรพิเศษ ปูนช้างทนน้าเค็ม ดินเค็ม
ปูนช้างงานหล่อ
"Service Mind" We provide you anywhere
บริษัทฯ ให้ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งกับการบริการที่รวดเร็ว ถูกต้อง
และเป็นที่พึงพอใจแก่ลูกค้า ด้วยทีมงานที่มีความรู้ ความชานาญ
สามารถให้คาปรึกษา
ให้ลูกค้าเกิดความเข้าใจที่ถูกต้องของการใช้ผลิตภัณฑ์แต่ละประเภท
พร้อมทั้งสนับสนุนการบริการก่อนการขายและหลังการขาย
รวมถึงการจัดสัมมนาและเยี่ยมชมโรงงานให้กับกลุ่มลูกค้า
เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
15
การวิจัยและการพัฒนา
นอกเหนือจากงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสาขาต่าง ๆ แล้ว
บริษัทฯ มีห้องปฏิบัติการด้าน วิเคราะห์ทดสอบ ทั้งด้านเคมีฟิสิกส์
และทดสอบผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับงาน บริการวิเคราะห์ทดสอบ
ซึ่งนับวันจะยิ่งทวีความสาคัญมากขึ้น ในการรับรองคุณภาพของสินค้า
เพื่อการส่งออกโดยที่ห้องปฏิบัติการของบริษัทฯ
ได้รับการรับรองคุณภาพของสินค้าเพื่อการส่งออกโดยที่ห้องปฏิบัติการ
ของบริษัทฯได้รับการรับรองตามมาตรฐานสากล มอก. 17025
(ISO/IEC 17025) จากสานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ในเรื่องวิเคราหะทดสอบเกี่ยวกับ
ปอร์ตแลนด์ซีเมนต์ทุกชนิดและวัตถุดิบชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ในงานคอนกรีต
รวมทั้งการทดสอบ ที่บ่งชี้ถึงคุณสมบัติ
ด้านความคงทนถาวรของคอนกรีต
16
แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของเอสซีจี
กรอบการพัฒนาสู่ความยั่งยืนของเอสซีจีอ้างอิงมาจากแนวทางการดาเ
นินการในระดับสากล ซึ่งครอบคลุมทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อม ภายใต้หลักบรรษัทภิบาลที่ดี
เพื่อให้เกิดการดาเนินงานที่สอดคล้องกันในทุกธุรกิจ
จึงได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการการพัฒนาอย่างยั่งยืนเอสซีจี ตั้งแต่ปี
2538 เพื่อทาหน้าที่กาหนดเป้าหมาย
และแนวทางการดาเนินงานให้ทุกธุรกิจนาไปปฎิบัติ รวมทั้งจัดทา
"แนวทางปฎิบัติการพัฒนาอย่างยั่งยืน" ในปี 2551
เพื่อใช้เป็นคู่มือการดาเนินการในเรื่องต่างๆ
อันจะส่งผลให้การนาไปปฎิบัติอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความเชื่อมโ
ยงของการดาเนินงาน
ในแต่ละเรื่องที่อาจมีหลายหน่วยงานรับผิดชอบร่วมกัน
จากความมุ่งมั่นและการดาเนินงานที่ผ่านมา Dow Jones
Sustainability Indexes (DJSI)* จัดอันดับให้เอสซีจีเป็นบริษัทชั้นนา
ด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืนในกลุ่มธุรกิจวัสดุก่อสร้าง (Building
Materials & Fixtures) ต่อเนื่องเป็นเวลาถึง 8 ปี
โดยได้คะแนนการประเมินผลในกลุ่มสูงสุด (Gold Class) ติดต่อกัน 4 ปี
มาตั้งแต่ปี 2551 และในปี 2554 ยังได้เป็นที่ 1 ของโลก คือ Sector
Leader ในกลุ่ม Building Materials and Fixtures
* Dow Jones Sustainability Indexes (DJSI)
เป็นดัชนีหลักทรัพย์ที่ประเมินประสิทธิผลการดาเนินธุรกิจตามแนวทางก
ารพัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัทชั้นนาระดับโลก ซึ่งกองทุนต่างๆ
จากทั่วโลกใช้เป็นเกณฑ์ในการลงทุน โดยมั่นใจว่าบริษัทที่อยู่ใน DJSI
จะสามารถสร้างผลตอบแทนที่ดี และยั่งยืนให้กับผู้ลงทุน
17
เป้าหมายด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SD Milestone)
การพัฒนาอย่างยั่งยืนภายใต้หลักบรรษัทภิบาล
เอสซีจีดาเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและเป็นธรรม
โดยยึดมั่นในอุดมการณ์ซึ่งถือปฎิบัติสืบเนื่องกันมา
ภายใต้กรอบของจรรยาบรรณที่ได้พัฒนาให้เหมาะสมกับความเปลี่ยนแ
ปลง ทางเศรษฐกิจและสังคม
นโยบายด้านบรรษัทภิบาลเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายการดาเนินธุรกิจซึ่ง
มีการติดตามประเมินผล การกากับดูแลกิจการอย่างสม่าเสมอ
รวมทั้งปรับปรุง แก้ไข เปลี่ยนแปลงให้มีความทันสมัย
สอดคล้องกับสภาวการณ์ทางเศราฐกิจ
และสังคมที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
สิทธิของผู้ถือหุ้น
อานวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นทุกรายได้รับสิทธิพื้นฐานต่างๆ
ทั้งในฐานะนักลงทุในหลักทรัพย์และในฐานะเจ้าของบริษัท
ด้วยวิธีการและมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับ และเชื่อถือได้
ความเท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้น
สร้างเครื่องมือที่ช่วยให้เกิดความเท่าเทียมกันอย่างแท้จริงด้วยการ
กาหนดให้กรรมการอิสระเป็นผู้มีหน้าที่ดูแลผู้ถือหุ้นส่วนน้อยตลอ
ดจนมีมาตรการดูแลการใช้ข้อมูลภายในด้วยการกาหนดช่วงเวลา
การห้ามซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทก่อนมีการเปิดเผยงบการเงิน
18
บทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย
คณะกรรมการบริษัทได้กากับดูแลให้มีระบบการบริหารจัดการที่เชื่อมั่น
ได้ว่า บริษัทรับรู้สิทธิของผู้มีส่วนได้เสียต่างๆ
ทั้งที่ได้กาหนดไว้ในกฎหมาย
และที่ได้กาหนดแยวทางไว้เป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน
ในหลักบรรษัทภิบาลและจรรยาบรรณ
รวมทั้งรับผิดชอบดูแลให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายมั่นใจได้ว่า
สิทธิดังกล่าวได้รับการคุ้มครองและปฎิบัติอย่างเป็นธรรม
การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส
ควบคุม และกาหนดมาตรการในการเปิดเผยสารสนเทศ
ให้มีสาระสาคัญครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา
ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยยึดถือปฎิบัติตามกฎหมาย กฎเกณฑ์
ข้อบังคับต่างๆ ของ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์ฯ
และหน่วยงานอื่นของรัฐอย่างเคร่งครัด
โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท
ดาเนินการให้การปฎิบัติงานของคณะกรมการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภา
พ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์
รวมทั้งสนับสนุนให้การดาเนินการในเรื่องต่างๆ ระหว่างกรรมการบริษัท
และฝ่ายจัดการเป็นไปอย่างราบรื่น
โดยได้แบ่งแยกหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการกับฝ่ายจัด
การอย่างชัดเจน
เอสซีจีเชื่อมั่นว่าระบบการกากับดูแลตามหลักบรรษัทภิบาลของคณะกรร
มการบริษัทที่มีประสิทธิภาพจะส่งเสริมให้องค์กรมีศักยภาพในการแข่งขั
นที่ดี ทั้งนี้ในระยะสั้นและระยะยาว
เพราะจะช่วยเสริมสร้างความเชื่อมั่นให้นักลงทุน สถาบันการเงิน
และพันธมิตรธุรกิจ ในการดาเนินธุรกิจร่วมกัน
อันนาไปสู่การเพิ่มมูลค่าให้ผู้ถือหุ้น และประโยชน์ที่สมดุลร่วมกัน
ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายรวมถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม
นโยบายการกากับดูแลกิจการ
เอสซีจี
ดาเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบและเป็นธรรมโดยยึดมั่นในอุดมการณ์
ซึ่งได้ถือปฎิบัติสืบเนื่องกันมาเป็นเวลานาน
ภายใต้กรอบของจรรยาบรรณที่ได้มีการพัฒนาให้เหมาะสมกับการเปลี่ย
นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม
บนพื้นฐานแห่งประโยชน์สุขอย่างสมดุลและยั่งยืน
เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางข้างต้น โดยอ่านเพิ่มเติมได้จาก
 นโยบายการกากับดูแลกิจการ
หากต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมโปรดติดต่อสานักงานเลขานุการ
บริษัทปูนซิเมนต์ไทยจากัด(มหาชน)
1 ถนนปูนซิเมนต์ไทย บางซื่อ กรุงเทพฯ 10800 โทรศัพท์ 0 2586
3016 e-mail: corporate@scg.co.th
19
ด้านเศรษฐกิจ
การพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านเศรษฐกิจ
เป้าหมายสูงสุดของการดาเนินธุรกิจ คือ สร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้า
พนักงาน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างสมดุล
โดยมีผลกาไรเป็นเสมือนทางผ่านไปสู่ประโยชน์สุขร่วมกันของทุกฝ่าย
ในการที่จะเติบโตอย่างยั่งยืนไปพร้อมๆ กัน
รักษาความเป็นเลิศในการดาเนินงาน
มุ่งเน้นกลยุทธ์เพื่อเสริมจุดแข็งในการเป็นผู้นาด้านคุณภาพและการบริห
ารต้นทุนสาหรับสินค้าพื้นฐาน (Basic Products)
โดยใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
และการพัฒนากระบวนการทางาน
การควบคุมกระบวนการผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
รวมทั้งปรับกลยุทธ์การดาเนินธุรกิจด้วยความรอบคอบ อย่างเหมาะสม
บริหารความเสี่ยงอย่างรัดกุม เพื่อเจริญเติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืน
ลงทุนวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างสินค้าและบริการที่มีมูลค่าเพิ่ม
มุ่งเน้นวิจัยและพัฒนา (Research and Development)
สินค้าและบริการใหม่ๆ ที่มีมูลค่าเพิ่ม (High-Value Added Products
and Services) มีความหลากหลาย ครบวงจร และคุณภาพเยี่ยม
เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่ไม่หยุดนิ่ง
ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสังคมที่ยั่งยืน
เสริมสร้างความแข็งแกร่งในตลาดปัจจุบันและขยายสู่ตลาดใหม่
เสริมสร้างความแข็งแกร่งให้ระบบเครือข่ายการกระจายสินค้า
(Distribution Network) และขยายธุรกิจไปยังตลาดใหม่ๆ
โดยเฉพาะประเทศในอาเซียนที่มีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและคว
ามต้องการผลิตภัณฑ์ในระดับสูง นอกจากนี้
ยังมีสานักงานการค้าต่างประเทศ รวม 35 แห่ง ใน 21 ประเทศ
เพื่อรองรับการขยายฐานการตลาดของสินค้าไปมากกว่า 100
ประเทศทั่วโลก
ตอกย้าคุณภาพผ่านตราสินค้า
รวมตราสินค้า (Brand) ที่หลากหลายให้มีรูปแบบเดียวกัน ในนาม
"ตราช้าง" และยังได้ออกฉลาก "SCG eco value"
เพื่อรองรับสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่องสิ่งแวดล้อม
โดยอ้างอิงตามมาตรฐานฉลากสิ่งแวดล้อมสากล ISO 14021
เพื่อให้ผู้บริโภคมั่นใจได้ว่าสินค้าและบริการที่ใช้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
และช่วยสนับสนุนการเติบโตอย่างยั่งยืน
20
ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์อย่างรวดเร็ว เพื่อสอดคล้องกับสถานการณ์
ปรับตัวอย่างรวดเร็ว
เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและปัจจัยความไม่แน่นอน เช่น
การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก
ผลกระทบจากปัญหาทางการเมืองในประเทศ
โดยบริหารธุรกิจอย่างรอบคอบ โดยเฉพาะด้านการเงิน
และบริหารกระจายความเสี่ยง
โดยเพิ่มความหลากหลายของตลาดและสินค้า ส่งผลให้ปี 2552
แม้ว่ายอดขายจะลดลง แต่เอสซีจีกลับมีผลกาไรดีกว่าปี 2551
และมีฐานะทางการเงินที่แข็งแกร่งและมั่งคงยิ่งขึ้น
พัฒนาบุคลากร เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม
มุ่งพัฒนาพนักงานและปลูกฝังวัฒนธรรมการเป็นองค์กรนวัตกรรมโดยก
ารสร้างบรรยากาศให้พนักงานทุกระดับ คิดนอกกรอบ
กล้าแสดงความคิดเห็น เปิดใจรับฟัง
ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา
รวมทั้งกล้ารับความเสี่ยงในการทดลองสิ่งใหม่ๆ
เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเปลี่ยนแปลง
ในทางที่เป็นประโยชน์สาหรับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นลูกค้า
คู่ค้า ผู้ถือหุ้น ชุมชน
รวมทั้งพนักงานเพื่อสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน
สนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน
เอสซีจีมีนโยบายว่าจ้างคนในชุมชนซึ่งอยู่ในพื้นที่ที่ตั้งโรงงานเป็นพนัก
งาน ผู้รับเหมา และร่วมสนับสนุนชุมชน
ให้มีรายได้เพิ่มขึ้นโดยใช้ผลิตภัณฑ์ สินค้าที่ผลิตโดยชุมชน เช่น
อาหาร เครื่องดื่ม วัสดุในโรงงาน นอกจากนั้น
ยังช่วยส่งเสริมอาชีพของชุมชนให้มีความแข็งแกร่ง
ด้วยการให้ความรู้ในการจัดทาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นให้มีคุณค่าเพิ่มมากขึ้น
เช่น การปรับปรุงคุณภาพสินค้า การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การตลาด
และนาไปสู่การรวมกลุ่มกันในรูปแบบ ของชมรมสหกรณ์หมู่บ้าน
ซึ่งเป็นการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน
21
ด้านสิ่งแวดล้อม
ธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เอสซีจีมุ่งมั่นสู่การเป็นธุรกิจที่เป็นมิตรต่องสิ่งแวดล้อมหรือ Green
Business ด้วย 2 กลยุทธ์หลัก คือ
1. กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Process)
เลือกใช้เทคโนโลยีในการผลิตที่ดีที่สุดและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ประกอบหลักการ 3R (Reduce, Reuse/Recycle และ Replenish)
เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
และลดการก่อให้เกิดของเสียและมลพิษ นอกจากนี้
ยังมีการกาหนดเป้าหมายที่จะไม่มีการนาวัสดุเหลือใช้จากกระบวนการผ
ลิตไปฝังกลบหรือ Zero Waste to Landfill ภายใน 2555
จากผลกระทบของก๊าซเรือนกระจก
และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เอสซีจีจึงได้กาหนดเป้าหมาย
ในการลดก๊าซเรือนกระจกลงร้อยละ 10 ภายในปี 2563 จากปีฐาน
2550 โดยพัฒนาอุปกรณ์เครื่องจักรให้สามารถ ใช้พลังงาน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น และศึกษาวิจัยการใช้เชื่อเพลิงทดแทน
โดยในปี 2553 เอสซีจีสามารถใช้พลังงานทดแทน ได้ร้อยละ 14
นอกจากนี้ เอสซีจี ซิเมนต์
ยังได้นาลมร้อนเหลือใช้ในกระบวนการผลิตปูนซีเมนต์กลับมาใช้ผลิตไ
ฟฟ้าด้วยระบบ Waste Heat Power Generator ทุกสายการผลิต
ทาให้ก๊าซเรือนกระจกลดลงปีละประมาณ300,000ตัน
เอสซีจีเป็นองค์กรแรกในประเทศไทยที่กาหนดนโยบายการจัดซื้อที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อมมาตั้งแต่ปี 2547 เพื่อให้เกิดแรงกระตุ้น
ในการผลักดันการประกอบธุรกิจบนพื้นฐาน
ของความตระหนักต่อผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดทั้งห่วงโซ่คุณค่า
(Value Chain) โดยในปี 2553 มีสินค้าใน
รายการจัดซื้อที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสิ้น 340 รุ่น
และสามารถขยายเครือข่ายคู่ค้าที่เป้นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมได้ถึง 37 ราย
2. การวิจัยและพัฒนาสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(Green Products)
เอสซีจีมุ่งมั่นทุ่มเทในงานวิจัยและพัฒนาสาหรับสินค้า
และบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้ฉลาก "SCG eco value"
เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่ให้ความสาคัญ
ในการเลือกซื้อสินค้าที่ไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในปี 2553
มีผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการรับรองฉลาก "SCG eco value" แล้วทั้งสิ้น 270
รายการ นอกจากนี้ ยังแสวงหาโอกาสในธุรกิจใหม่ๆ อาทิ
พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสนับสนุนอาคารประหยัดพลังงาน
และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
22
การสร้างจิตสานึกด้านสิ่งแวดล้อม
เอสซีจีสร้างจิตสานึก
กระตุ้นพฤติกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมตามแนวทาง 3R
ให้กับพนักงานรวมถึงประชาชนทั่วไป นอกจากนั้นยังได้ริเริ่มโครงการ
"เอสซีจีรักษ์น้าเพื่ออนาคต" ด้วยการอนุรักษ์บาบัดน้าอย่างครบวงจร
ทั้งน้าขาด น้าเกิน น้าเสีย ซึ่งมีกิจกรรมหลักคือ
การร่วมกับชุมชนสร้างฝายชะลอน้าแบบผสมผสานตั้งแต่ปี 2546
เพื่อสร้างความชุ่มชื่นและคืนความสมดุลให้ผืนป่า โดยสร้างไปแล้ว
26,000 ฝาย มีผู้ร่วมสร้างกว่า 35,000 คน ก่อให้เกิด
"กระบวนการสร้างฝายในใจคน" รวมทั้งตั้ง
"ศูนย์ข้อมูลการเรียนรู้เรื่องฝายชะลอน้า"
เพื่อเป็นต้นแบบให้กับชุมชนอื่นๆ ได้นาไปประยุกต์ใช้
ด้านสังคม
เอสซีจีได้ร่วมสร้างสรรค์สังคมและพัมนาศักยภาพของคนในด้านต่
างๆ ทั้งสิ่งแวดล้อม การศึกษา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี กีฬา
และศิลปวัฒนธรรม ทั้งในประเทศไทย และประเทศที่เข้าไปดาเนินธุรกิจ
ส่งผลให้เอสซีจีเติบโตคู่กับสังคมไทยอย่างยั่งยืน
การพัฒนาศักยภาพเยาวชน
มุ่งพัฒนาขีดความสามารถของเยาวชน
เพื่อเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ
Thailand Rescue Robot Championship
จัดการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยชิงชนะเลิศแห่งประเทศไทย
เพื่อค้นหาแชมป์ประเทศไทยไปแข่งขัน World Robocup
Rescue ที่ต่างประเทศ
และทีมไทยได้เป็นแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยติดต่อกันเป็นปีที่ 6 (ปี
2549-2554)
เอสซีจีแบดมินตัน
จัดแข่งขันกีฬาแบดมินตันอย่างต่อเนื่องและครบวงจรมากว่า 30 ปี
ตั้งแต่ระดับเยาวชน ระดับประเทศ และระดับนานาชาติ
รวมทั้งก่อตั้งสถาบัน SCG Badminton Academy
เพื่อพัฒนาทักษะ
ความสามารถนักแบดมินตันเยาวชนอย่างเต็มรูปแบบและครบวงจ
รเป็นแห่งแรกในประเทศ
23
SCG Sharing the Dream
มอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในประเทศเวียดน
าม และฟิลิปปินส์ ตั้งแต่ปี 2549 รวมประมาณ 2,100 คน
นอกจากนี้ยังมอบทุนการศึกษาประเภทต่างๆ
ให้แก่เยาวชนในอาเซียนรวมปีละกว่า 5,000 ทุน
มอบทุนสนับสนุนมูลนิธิและองค์กรการกุศล
ปีละ 100 ล้านบาท
เพื่อช่วยเหลือและปันโอกาสให้ผู้ด้อยโอกาสในสังคมให้มีชีวิตที่ดี
ขึ้น
ค่ายวิทยาศาสตร์SCG Sci-Camp
สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
เพื่อส่งเสริมให้ศึกษาต่อด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยจัดต่อเนื่องเป็นรุ่นที่ 20 มีผู้เข้าร่วมโครงการกว่า 2,000 คน
เทศกาลนิทานในสวน
มูลนิธิซิเมนต์ไทยรณรงค์ให้พ่อแม่ที่มีลูกอยู่ในช่วงปฐมวัย
(แรกเกิด-6ปี) ตระหนักถึงความสาคัญของช่วงวัยนี้
และนาเอากระบวนการเล่านิทาน
อ่านหนังสือไปใช้พัฒนาลุกน้อยเป็นประจา
จนกลายเป็นวัฒนธรรมการเลี้ยงลูก
ด้วยหนังสืออย่างยั่งยืนในสังคมไทย
โดยจัดเทศกาลนิทานในสวนมาแล้ว 7 ปี ในกรุงเทพมหานคร และ
2 ปี ในจังหวัดเชียงใหม่ มีผู้ร่วมงานกว่า 9,000 คน ต่อปี
ด้านสาธารณประโยชน์
มุ่งช่วยเหลือชุมชนให้ความเป็นอยู่และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ปันโอกาสวาดอนาคต
เปิดโอกาสให้พนักงานรวมกลุ่มกันตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป
ทาโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
โดยมูลนิธิซิเมนต์ไทยเป็นผู้สนับสนุนค่าใช้จ่าย อาทิ ฝึกสอน
สร้างอาชีพให้ชุมชน ปรับปรุงห้องน้า
และห้องสมุดให้โรงเรียนท้องถิ่นธุรกันดารี
กองทุนสัมมาชีพ
เป็นรางวัลเชิดชูผู้บาเพ็ญประโยชน์สาธารณะซึ่งรางวัลจะออกมาในรูป
กองทุนหมุนเวียน ให้ผู้บาเพ็ญประโยชน์สาธารณะ
นาไปประกอบอาชีพส่วนตัวรายย่อย
เพื่อเป็นการตอบแทนคุณงามความดีและเติมเต็มกาลังใจ
ในการทางานทางสังคม จากการมีหลักประกันที่ดีให้กับครอบครัว
ทาให้สามารถทางานทางสังคมได้อย่างเต็มที่
24
การช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ
มูลนิธิซิเมนต์ไทยให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติในหลากหลาย
รูปแบบ อาทิ จัดส่งถุงยังชีพ สุขากระดาษ รวมถึงบริจาคเงิน สิ่งของ
ยาและเวชภัณฑ์ ผ่านทางเครือข่ายอาสาสมัคร
เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนระยะเร่งด่วนและร่วมมือกับหน่วยงานต่า
งๆทาการฟื้นฟูหลังเหตุการณ์สงบ พร้อมจัดสรรงบประมาณ 50
ล้านบาท ซ่อมแซมโรงเรียน
อันเป็นสถานที่ที่มีความสาคัญอย่างยิ่งสาหรับเด็ก เยาวชน และอีก 10
ล้านบาท สาหรับก่อสร้างบ้านเรือนประชาชน
โดยใช้แบบบ้านของมูลนิธิซิเมนต์ไทย
เอสซีจีห่วงใยและเอาใจใส่ดูแลสุขภาพอนามัย
และความปลอดภัยในการทางาน
เรื่องความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยเป็นสิ่งที่มีคุณค่ายิ่งของการทางา
นเอสซีจีมีความห่วงใยและปรารถนาอย่างสูงสุดที่จะให้พนักงานและคู่ธุ
รกิจทางานอย่างปลอดภัย
ปราศจากการบาดเจ็บและการเจ็บป่วยจากการทางาน
การดาเนินงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
ทาให้สถิติการเกิดอุบัติเหตุจากการทางานมีแนวโน้มลดลงอย่างชัดเจน
25
เอสซีจีเชื่อมั่นว่าการดาเนินงานด้านความปลอดภัยจะสาเร็จและยั่งยืนไ
ด้จะต้องมีการจัดการที่เป็นระบบ
และสร้างให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัยในการทางาน อาทิ
1. โครงการประเมินประสิทธิผลการดาเนินงานด้านความปลอดภัย
(SCG Safety Performance Assessment Program, SPAP)
พัฒนา SCG Safety Framework
โดยอ้างอิงกฎหมายและมาตรฐานสากล
เพื่อเป็นแนวทางให้ทุกบริษัทนาไปปฎิบัติให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศ
ทางเดียวกัน เพื่อยกระดับการดูแลสุขภาพ และความปลอดภัย
ให้เทียบเท่ามาตรฐานความปลอดภัยขององค์กรชั้นนาของโลก
2. โครงการจัดทาระบบการให้การรับรองความปลอดภัยคู่ธุรกิจ (SCG
Subcontractor Safety Certification System-SCS)
ให้ความช่วยเหลือคู่ธุรกิจจัดทาระบบการจัดการ
ด้านความปลอดภัยและประเมินผล
เพื่อให้การรับรองคู่ธุรกิจที่มีระบบการจัดการที่ดี
ซึ่งเป็นการพัฒนาศักยภาพและยกระดับความปลอดภัยและสุขอนามัย
ในการทางานของคู่ธุรกิจให้ดีขึ้น
3. โครงการเสริมสร้างวัมนธรรมและพฤติกรรมความปลอดภัย (Safety
Culture)
สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยทั่งทั้งองค์กร (Total Safety Culture)
ซึ่งทุกคนทุกระดับต้องช่วยกัน มีส่วนร่วมในการลดอุบัติเหตุ
และเห็นว่าเรื่องของความปลอดภัยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสาคัญ
4. โครงการ Think Safe, Work Safe คิดก่อนทาเราปลอดภัย
รณรงค์ความปลอดภัยในการทางานเน้นปลูกฝังจิตสานึกความปลอดภัย
ให้ผู้ปฎิบัติงานคิดและคาดการณ์ถึงอันตราย ที่อาจจะเกิดขึ้น
และหากพบว่าไม่ปลอดภัย
ให้การทาการแก้ไขปรับปรุงก่อนลงมือทางาน
5. โครงการ Driving Safety และ โครงการ Safety Transportation
การสร้างความปลอดภัยในการขับขี่และการขนส่งสินค้าและบริการ
เป้นการลดความเสี่ยงและส่งเสริมความปลอดภัย ให้กับผู้ใช้รถใช้ถนน
ทั้งภายในโรงงานและชุมชนภายนอก
โดยจัดทาระบบในการคัดเลือกบุคลากร ที่มีความรู้ความสามารถสูง
จัดทาหลักสูตรการอบรม พร้อมสร้างระบบในการติดตามตรวจสอบ
เพื่อลดความเสี่ยงจากการขับขี่
26
การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน
เครือซิเมนต์ไทย (SCG)
ได้ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารโดยแต่งตั้งคณะกรรม
การการพัฒนาสู่ความยั่งยืน
ขึ้นมาทดแทน
คณะกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
เพื่อให้การดาเนินงานครอบคลุมและ
สอดคล้องกับแนวทางของการพัฒนาสู่ความยั่งยืน
คณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน
ประกอบด้วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ของธุรกิจซิเมนต์เ
ป็นประธาน
และกรรมการผู้จัดการใหญ่ของทุกธุรกิจเป็นกรรมการ
นอกจากนี้ยังมีคณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน
ทั้งในระดับธุรกิจ และระดับบริษัท
เพื่อให้มั่นใจว่านโยบายและแผนการดาเนินงานต่างๆ
มีการนาไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผล ดังนี้
A)
กรรมการผู้จัดการใหญ่ของธุรกิจเป็นประธานและกรร
มการผู้จัดการทุกบริษัทเป็นกรรมการ
B)
กรรมการผู้จัดการบริษัทเป็นประธานและผู้อานวยการ
ฝ่ายหรือผู้จัดการส่วนเป็นกรรมการ
แนวปฏิบัติการพัฒนาสู่ความยั่งยืน
27
วัตถุประสงค์: เป็นต้นแบบของธุรกิจในด้านสิ่งแวดล้อม
ความปลอดภัย สุขอนามัย และการสนับสนุนสังคม
นโยบาย:
1. รักษาสภาพแวดล้อม
ออกแบบกระบวนการผลิต เครื่องจักร อุปกรณ์
และผลิตภัณฑ์ที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ควบคุมและลดมลพิษต่างๆรวมทั้งสิ่งปนเปื้อนที่จะออกสู่สภาพแวดล้อมภ
ายนอกลดการเกิดของเสียทิ้งจากกระบวนการผลิตและการใช้งานทั่วไป
โดยของเสียที่ต้องจากัด
ให้ดาเนินการด้วยวิธีที่ถูกต้องสาหรับการฝังกลบให้ใช้เป็นทางเลือก
สุดท้าย รวมทั้งหาแนวทางเพื่อลดการส่งของเสียออกไปกาจัดภายนอก
SCG ให้มากที่สุด
2. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการผลิต เครื่องจักรและเทคโนโลยี
เพื่อลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
หาแนวทางนาของเสียต่างๆ กลับมาใช้ประโยชน์ โดยการ
Reuse/Recycle
หรือเป็นพลังงานและวัตถุดิบทดแทนฟื้นฟูและปรับปรุงทรัพยากรธรรมช
าติเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
เมื่อมีการนทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในการผลิตโดยตรง
3. การพัฒนาความปลอดภัยและสุขอนามัย
ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อผู้ใช้ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทาง
านให้มีความปลอดภัยและเป็นไปตามหลักการยศาสตร์
(การปรับปรุงสภาพการทางานให้เหมาะกับคน)กาหนดแนวทางในการ
ป้องกันและควบคุมไม่ให้เกิดอุบัติเหตุจากการดาเนินงาน ทั้งพนักงาน
ผู้รับเหมาและบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องส่งเสริมและสร้างจิตสานึกในกา
รดูแลสุขภาพของพนักงานและครอบครัว
4. รับผิดชอบต่อสังคม
ให้ความร่วมมือในการดาเนินการตามมาตรฐานหรือข้อตกลงในร
ะดับสากลที่จัดทาขึ้นเพื่อช่วยป้องกันหรือลดผลกระทบด้านสิ่งแวด
ล้อมให้การสนับสนุนสังคมและชุมชนโดยเฉพาะที่อยู่รอบโรงงาน
โดยผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อให้มีการพัฒนา
อย่างยั่งยืนจัดให้มีระบบที่เปิดโอกาสให้ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้
องมีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็นสาหรับโครงการต่างๆที่อาจส่งผ
ลกระทบต่อชุมชนรวมทั้งการเสนอความเห็นหรือข้อร้องเรียนต่าง
ๆที่เป็นผลมาจากการดาเนินงานของโรงงานเผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
รวมทั้งผลการดาเนินงานในเรื่องต่างๆ
ที่เกี่ยวข้องต่อสาธารณะอย่างสม่าเสมอ
28
การดาเนินงานตามแผนคณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน
คณะกรรมการการพัฒนาสู่ความยั่งยืน
ได้กาหนดแผนการดาเนินงานตามแนวปฏิบัติการพัฒนาสู่ความยั่งยืน
โดยทุกธุรกิจใน SCG
ได้นาไปปฏิบัติจนสามารถบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้คิดเป็นร้อยละ
94 ของแผนงานทั้งหมด
และมีบางส่วนที่อยู่ระหว่างการดาเนินงานซึ่งเป็นแผนงานเกี่ยวกับการฟื้
นฟูธรรมชาติและระบบนิเวศ
นโยบาย แผนงาน
ผลการ
ดาเนินงา
น
รักษาสภาพแวดล้อม
ลดปริมาณของเสียจากอุตสาหกรร
ม
และเพิ่มสัดส่วการนากลับมาใช้ซ้า
ควบคุมและลดมลพิษ
ช่วยเหลือคู่ธรุกิจในการจัดการและ
ดูแลสิ่งแวดล้อม
จัดซื้อสินค้าและบริการที่เป็นมิตรต่
องสิ่งแวดล้อม
การจัดการขยะในสานักงาน
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรม
ชาติ
ลดการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ น้า
และพลังงาน
การฟื้นฟูธรรมชาติและระบบนิเวศ
พัฒนาความปลอดภัยแ
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศหน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศให้รัก นำทาง
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์พัน พัน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
โครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมโครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมI'am Jimmy
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลให้รัก นำทาง
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค Terapong Piriyapan
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2KruPa Jggdd
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มeeii
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 

Mais procurados (20)

หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศหน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วย1 การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ทฤษฎีองค์การ
 ทฤษฎีองค์การ  ทฤษฎีองค์การ
ทฤษฎีองค์การ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
โครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติมโครงงานไม้ไอติม
โครงงานไม้ไอติม
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูลหน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
หน่วย2 ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
หน่วยที่ 3 การคุ้มครองผู้บริโภค
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 

Destaque

บริษัทเครือซีเมนต์ไทย
บริษัทเครือซีเมนต์ไทยบริษัทเครือซีเมนต์ไทย
บริษัทเครือซีเมนต์ไทยploypilin chaisimma
 
Burma trade and investment handbook
Burma trade and investment handbookBurma trade and investment handbook
Burma trade and investment handbooksiep
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ DrDanai Thienphut
 
กรณีศึกษา SCG ECO Value
กรณีศึกษา SCG ECO Value กรณีศึกษา SCG ECO Value
กรณีศึกษา SCG ECO Value NstdaAcademy Nstda
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยThanawat Spdf Wongnang
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3Prachyanun Nilsook
 
คู่มืออบรม Krutube
คู่มืออบรม Krutubeคู่มืออบรม Krutube
คู่มืออบรม KrutubeTeemtaro Chaiwongkhot
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaNattakorn Sunkdon
 
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน)
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย  จำกัด(มหาชน)บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย  จำกัด(มหาชน)
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน)PhennaphaCH
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานaragamammy
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐTotsaporn Inthanin
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58Supaporn Khiewwan
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 

Destaque (20)

บริษัทเครือซีเมนต์ไทย
บริษัทเครือซีเมนต์ไทยบริษัทเครือซีเมนต์ไทย
บริษัทเครือซีเมนต์ไทย
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
Burma trade and investment handbook
Burma trade and investment handbookBurma trade and investment handbook
Burma trade and investment handbook
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
 
Sar5 255
Sar5 255Sar5 255
Sar5 255
 
กรณีศึกษา SCG ECO Value
กรณีศึกษา SCG ECO Value กรณีศึกษา SCG ECO Value
กรณีศึกษา SCG ECO Value
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
 
หน้าปก2
หน้าปก2หน้าปก2
หน้าปก2
 
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 
การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3การเขียนรายงานการวิจัย3
การเขียนรายงานการวิจัย3
 
คู่มืออบรม Krutube
คู่มืออบรม Krutubeคู่มืออบรม Krutube
คู่มืออบรม Krutube
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpaตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำSpa
 
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน)
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย  จำกัด(มหาชน)บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย  จำกัด(มหาชน)
บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด(มหาชน)
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Key onetm3 53
Key onetm3 53Key onetm3 53
Key onetm3 53
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 

Semelhante a รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7

Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศOperations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศmaruay songtanin
 
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECงานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECPatteera Somsong
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007wutichai
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11Amp Tiparat
 
ผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
ผลกระทบคุณภาพงบการเงินผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
ผลกระทบคุณภาพงบการเงินKetsaraphornSaleenak
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยPunyapon Tepprasit
 
The integrated management system 2015
The integrated management system 2015The integrated management system 2015
The integrated management system 2015maruay songtanin
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจPrakaywan Tumsangwan
 

Semelhante a รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7 (20)

Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศOperations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
Operations from role models การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
 
Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09
 
BIS16_G7 SCM PRESENT
BIS16_G7 SCM PRESENTBIS16_G7 SCM PRESENT
BIS16_G7 SCM PRESENT
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
Sepo 54
Sepo 54Sepo 54
Sepo 54
 
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AECงานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
งานบรรยาย HR North Forum ครั้งที่ 5 HR for AEC
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
KM Project present by Tiparat KU  MSIT11KM Project present by Tiparat KU  MSIT11
KM Project present by Tiparat KU MSIT11
 
ผลกระทบ
ผลกระทบผลกระทบ
ผลกระทบ
 
ผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
ผลกระทบคุณภาพงบการเงินผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
ผลกระทบคุณภาพงบการเงิน
 
ผลกระทบ
ผลกระทบผลกระทบ
ผลกระทบ
 
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
การประยุกต์ใช้แนวทางการประเมินผลการดำเนินงานด้านการจัดการโลจิสติกส์ของบริษัท ...
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
 
The integrated management system 2015
The integrated management system 2015The integrated management system 2015
The integrated management system 2015
 
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจบทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
บทที่ 5 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
 

รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7