SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 29
Baixar para ler offline
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 1
บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ได้มีครอบครัวผู้อพยบประมาณ ๓ ครอบครัวได้อพยบเดินทางรอนแรมมาจาก
อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคามเพื่อหาทาเลที่ตั้งในการลงหลักปักฐานสร้างที่อยู่
และที่ทามาหากินแห่งใหม่โดยได้เดินทางรอนแรมมาถึงบริเวณที่ตั้งของหมู่บ้าน
หนองเต่าในปัจจุบัน โดยในสมัยนั้นมีหนองน้าขนาดใหญ่ซึ่งเป็นที่กล่าวนามใน
สมัยนี้ว่าหนองน้าหนองเต่า จึงได้ตกลงปรงใจพากันปักหลักปักฐานอยู่ที่นี้และได้
ถางป่าทาที่อยู่อาศัยและทาการเกษตรใกล้กับหนองน้า เมื่อเด็กไปเล่นในหนอง
น้าและบังเอิญได้เจอเต่าจึงได้จับเต่ามาให้ผู้ใหญ่ดู โดยผู้สูงอายุได้ถามเด็กว่าไป
จับเต่ามาแต่ใหน พวกเด็กๆ จึงตอบว่าจับมาจากหนองน้า ซึ่งในหนองน้านั้นมี
เต่ามาก จึงเป็นที่มาให้ชาวบ้านกล่าวนามหนองน้านั้นว่า “หนองเต่า”
ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
30440
๑ ความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ตามคาบอกกล่าวของผู้สูงอายุในชุมชนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๗๔
แล้วตอนนี้ยังมีเต่าให้
เราเห็นอยู่ไหมค่ะ
อ่อตอนนี้เต่าที่อยู่ในหนองเต่าได้สูญพันธุ์
หมดแล้ว เหลือก็แต่เต่าที่ชาวบ้านเอามา
ปล่อยไว้เท่านั้นแหละจ๊ะ และก็มีรูปปั่น
เต่าที่ชาวและวัดบ้านหนองเต่าได้ปั่นขึ้น
เพื่อเป็นอนุสรณ์ไว้ที่วัดบ้านหนองเต่าจ๊ะ
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 2
บ้านหนองเต่า
จะเรียกว่าหมู่บ้านแล้วจึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านตามชื่อหนองน้าประจาหมู่บ้านนั้นว่า
หมู่บ้านหนองเต่า และได้เรียกมาจนถึงปัจจุบัน (ปัจจุบันหมู่บ้านหนองเต่าตั้งอยู่
ที่ หมู่ที่ 9 ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา
ประเทศไทย 30440) จากนั้นมาทางหมู่บ้านหนองเต่าได้ทาการเลือกตั้งผู้นา
ชุมชน(ผู้ใหญ่บ้าน) มากปกครองหมู่บ้านปัญหามาจากจานวนประชากรที่เริ่มเพิ่ม
ขึ้นมามากเลื่อยๆ ซึ่งผู้ใหญ่บ้านคนแรกของหมู่บ้านหนองเต่ามีชื่อว่า นายเหมือน
(นามสกุลไม่ระบุไว้แน่ชัด) ต่อมาไม่นานทางราชการให้หมู่บ้านหนองเต่ามีวิทฐานะ
เป็นหมู่บ้านได้สมบูรณ์ ซึ่งหลายๆ ปีต่อมาได้มีผู้ใหญ่บ้านคนใหม่เข้ามารับ
ตาแหน่งหน้าที่จากผู้ใหญ่บ้านคนก่อน ตามลาดับดังนี้
ภาพที่ 1
หนองน้าหนองเต่า
ปัจจุบันตั้งอยู่ที่
บ้านหนองเต่า
ตาบลบึงพะไล
อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนครราชสีมา
ประเทศไทย
ต่อมาเมื่อมีประชากรเพิ่มขึ้นมาหลายๆ ครอบครัวแล้ว ชาวบ้านจึงคิดว่าถึงเวลาที่
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 3
บ้านหนองเต่า
๑.๒ ทานียบผู้ใหญ่บ้านบ้านหนองเต่า
นายเหมือน (นามสกุลไม่ระบุไว้แน่ชัด) นายฮาด วงษ์ชาลี
นายจันคาน บัวมาตร นายมา ปัดทุม
นายคามี คาประพันธ์ นายอูม ดวงสุพรรณ
ไม่มีรูปภาพชัดเจน
ไม่มีรูปภาพชัดเจน ไม่มีรูปภาพชัดเจน
ไม่มีรูปภาพชัดเจน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 4
บ้านหนองเต่า
นายทองดี พันชมพู นายคาภีร์ จันทรเสาวพักคร์
นายอานวย มีธรรม นายทองดี ธุระธรรม
(ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน)
ไม่มีรูปภาพชัดเจน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 5
บ้านหนองเต่า
๒ สัญลักษณ์ทางภูมิศาสตร์
๒.๑ ที่ตั้ง
บ้านหนองเต่าปัจจุบันตั่งอยู่ หมู่ที่ ๙ ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย รหัสไปรษณีย์ ๓0๔๔0
ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ 15°40'45.21" N 102°14'25.15" E
๒.๒ อานาเขตของหมู่บ้านหนองเต่า
ติดต่อกับหมู่บ้านหนองขามน้อย หมู่บ้านศาลาหนองขอน ตาบลบึงพะไล
อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดต่อกับ
หมู่บ้านหนองบัวกอง ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนคคราชสีมา ทิศเหนือติดต่อกับหมู่บ้านหัวหนอง เทศบาลตาบลบึง
สาโรง อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ทิศเหนือติดต่อกับบ้านดง
บัง ตาบลห้วยยาง อาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา
หมู่บ้านหนองเต่า อยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการอาเภอแก้งสนามนาง
มีระยะทางห่างจากที่ว่าการอาเภอแก้งสนามนาง ประมาณ ๙ กิโลเมตร
แล้วคนสมัยก่อนใช้อะไรเขียน
หรือเรียนหนังสือครับ
สมัยก่อนชาวบ้านเขาก็ใช้ก้อนถ่าน
เขียนไงจ๊ะ ส่วนหนังสือเรียนก็
เรียนจากหนังสือใบลานไงจ๊ะ
บ้าหนองเต่ามีอานาเขตติดต่อกับหลายหมู่บ้าน ดังนี้ ทิสตะวันออก
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 6
บ้านหนองเต่า
๓.๑ อาชีพ
ชาวบ้านหนองเต่า ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนครราชสีมา ส่วนใหญ่มีอาชีพ ทาไร่-ทานา บางครอบครัวก็ได้ไปใช้
แรงงานอยู่ที่เมืองหลวง แต่สมัยนี้ค่านิยมของการประกอบอาชีพของชาวบ้านก็
เริ่มที่จะหายไปกับทุนนิยม โดยต่างก็พากันขายไร่-ขายนา หรือทิ้งไร่-ทิ้งนา
ไปทางานหรือไปค้าขายในเมืองหลวงหากบางครอบครัวมีลูกเด็กเล็กแดงก็จะฝาก
ลูกฝากหลานไว้กับ ตา-ยาย กว่าจะเห็นหน้ากันก็จะเห็นในงานเทศกาลต่างๆ
ของชาวหรือในปีใหม่เท่านั้น
๓.๒ การศึกษา
าวบ้านหนองเต่า ส่วนใหญ่สมัยก่อนไม่ค่อยได้รับการศึกษา เป็นเหตุ
มาจากไม่มีสถานที่เรียนหนังสือหรือสถานที่เรียนหนังอยู่ห่างไกลจากหมู่จึงไม่ค่อย
มีคนสนใจที่จะศึกษา แต่ปัญหานี้ก็เริ่มหายไปหลังจากที่ชาวบ้านและผู้นาชุมได้
จัดตั้งโรงเรียนแห่งแรกประจาหมู่บ้านขึ้นอยู่ที่ศาลาวัดบ้านหนองเต่า เปิดสอนถึง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พอชาวบ้านส่วนจบการศึกษาจากชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
แล้ว ก็ไม่ได้รับการศึกษาอีกเลยจากนั้นไม่นาน นายอาเภอบัวใหญ่
ลืมบอกไปบ้านหนองเต่ายังมี
อากาศที่ดีมาก และชาวก็มีความ
เป็นกันเองมากด้วยคับ/ค่ะ
ช
ช
๓ ลักษณะทางวัฒนธรรม
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 7
บ้านหนองเต่า
จังหวัดนครราชสีมา ในสมัยนั้นได้ให้ความสาคัญแก่การศึกษาเป็นอย่างมากจึงได้
จัดตั้งโรงเรียนใกล้บ้านให้กับบ้านหนองเต่า โดยตั้งชื่อตามชื่อหมู่บ้านว่า
โรงเรียนบ้านหนองเต่า ชาวบ้านจึงได้รับการศึกษาอีกครั้ง ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนบ้าน
หนองเต่าเปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดอยู่ที่สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 6 กระทรวงศึกษาธิการ
๓.๓ ศาสนา
ชาวบ้านหนองเต่านับถือศาสนาพุทธ ประมาณ 99.9 เปอร์เซ้นต์ และ
นับถือศาสนาคริสต์ ประมาณ 0.1 เปอร์เซ้นต์
๓.๔ ประเพณีและความเชื่อ
๓.๔.๑ ความเชื่อ นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้านหนองเต่ามา ชาวบ้านจะมักจะมี
ความเชื่อกับสิ่งที่ไม่มีตัวตนหรือไม่สามารถสัมผัสได้ อาทิเช่น เชื่อในเรื่องไสย
ศาสตร์ เชื่อในเรื่องเครื่องรางของขลัง และอื่นอีมากมาย ชาวบ้านหนองเต่ายังมี
ความเชื่อที่แปลกมากมายและไม่สารมารถสัมผัสได้
หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
๓.๔.๑ ประเพณีสาคัญของหมู่บ้านหนองเต่า
ประเพณีบุญเดือนหก(บุญบังไฟ) ชาวบ้านหนองเต่าเชื่อกันว่าเมื่อปีใดฝน
แล้งหรือสภาพอากาศไม่ดีชาวบ้านมักจะจุดบังไฟขอฝนจากพญาแทน ซึ่งมีการ
จัดเป็นทุกๆ ปี
อาคารหลังแรก
ของโรงเรียน
บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 8
บ้านหนองเต่า
ประเพณีบวงสรวงปู่ตาเจ้าหนองหนองเต่า(หรือที่เรียกกันว่พิธีบวงสรวงสิ่ง
ศักดิ์ศิษย์ประจาหมู่บ้านหนองเต่า) การบวงสรวงปู่ตาเจ้าหนองหนองเต่าหรือสิ่ง
ศักดิ์ศิษย์ประจาหมู่บ้านมีการประเพณีปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยโบราณ ชึ่งชาวบ้าน
มีความเชื่อว่าสิ่งศักดิ์ศิษย์จะช่วยปกป้องคุ้มครองภัยให้กับตนเองและหมู่บ้าน
หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
ประเพณีบุญมหาชาติ บุญมหาชาติมีชื่อเรียกอีอย่างหนึ่งว่าบุญพระเวชสันดร
บุญมหาชาติของหมู่บ้านหนองเต่าถือได้ว่าเป็นบุญประจาปีที่ทุกคนต้องเข้าวัด
เพื่อฟังเทศมหาชาติและทาบุญตักบาตร ซึ่งบุญมหาชาตินี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ
เรื่องราวสมัยพุทธกาล โดยมีจุดประสงค์ของการจัดประเพณีบุญมหาชาตินี้ คือ
การได้บริจาคสิ่งของหรือถวายสิ่งของให้กับศาสนา และชาวบ้านหนองเต่าเชื่อ
อีกว่าการได้บริจาคสิ่งของในประเพณีบุญมหาชาตินี้จะทาให้ได้เป็นส่วนหนึ่งกับ
องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
ประเพณีบุญกระยาสาท คือ บุญประจาปีประจาหมู่บ้าน เพื่อเป็นการอุทิศ
ส่วนบุญส่วนกุศลให้กับ บิดา-มารดา หรือญาติ ผู้ล่วงลับไปแล้วและมีความเชื่อ
อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นการปลดปล่อยวิญาณให้ไปสู่สุคติ
หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 9
บ้านหนองเต่า
๕ สภาพเศรษฐกิจภายในชุมชนของหมู่บ้านหนองเต่า
บ้านหนองเต่าเป็นบ้านที่มีสถานะเศรษฐกิจในระดับปานกลางถึงดีหรือดี
มาก โดยมีเพียงส่วนน้อยที่ไม่มีกินหรือไม่มีที่อยู่เลย หรืออาจหาไม่ได้ในหมู่บ้าน
หนองเต่าเลย
๖ การคมนาคม
๖.๑ การเดินทาง
ชาวบ้านหนองเต่าในสมัยก่อนใช้เกวียนเป็นภาหนะที่ใช้ในการสันจร
ไป-มา โดยใช้ โค – กระบือ ในการลากหรือใช้ในการขับเคลื่อน แต่สมัย
นี้ชาวบ้านได้เปลี่ยนค่านิยมในการใช้ภาหนะในการสันจรใหม่ เป็นการใช้
รถยนต์หรือรถกระบะแทนการใช้เกวียนเพราะมีความคล่องตัวสูงและ
เคลื่อนที่ได้เร็วกว่าเกวียน
๔ สภาพความเป็นอยู่ทั่วไปและจุดเด่นของชาวบ้านหนองเต่า
ชาวบ้านหนองเต่ามีความเป็นอยู่ที่เป็นปานกลางคือไม่ดีมากหรือลาบากจนเกินไป
ส่วนใหญ่ชาวบ้านหนองจะมีครอบครัวที่ใหญ่มีญาติมิตรหรือเป็นพี่เป็นน้องกันทั้งหมู่บ้านจึง
ทาให้ชาวบ้านหนองเต่ามีความสะดวกสบายในด้านต่างๆ ไม่ว่า อาหารการกิน ของใช้
เบ็ดเตล็ดต่างๆ และมากเป็นกว่านั้นการมีน้าใจของชาวบ้าน ก็คือเมื่อเวลาชาวบ้านใกล้
เรือนเคียงมีการจัดงานอุปสมบทหรืองานมงคลต่างๆ ก็จะมีชาวบ้านอีกส่วนที่เป็นทั้งญาติ
และคนใกล้มาช่วยงานกันอย่างคับคลัง โดยที่เป็นจาเป็นต้องมีคนเรียกมาช่วยงานแต่
ชาวบ้านทุกคนมาช่วยงานด้วยความเต็มถึงแม้จะต้องเสียเวลาในการทามาหากินชาวบ้าน
หนองเต่าก็ไม่เคยบ่นว่าเลยหรือและถึงแม้จะมีรางวัลตอบแทนใดๆ ให้กับชาวบ้านแต่ก็ไม่
เรื่องสาคญสาหรับชาวบ้านเพราะชาวบ้านยึดคาว่า “การมีน้าใจเพื่อนมนุษย์และความ
เสียสละ” ดังนั้นเมื่อมีชาวบ้านต่างถิ่นหรือแขกเข้ามาเยี่ยมชมหมู่บ้านคาแรกที่เขากล่าว
ก่อนกลับส่วนใหญ่มักจะกล่าวคาว่า “ชาวบ้านหนองเต่าเป็นคนที่มีมิตรไมตรีเป็นเลิศจริงๆ
และมีน้าใจมาก”
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 10
บ้านหนองเต่า
๖.๒ เส้นทางการติดต่อ
ชาวบ้านหนองเต่าติดต่อค้าขายและสันจรไปมา โดยเดินทางผ่าน
การเดินทางทางบก เหตุผลที่ต้องเดินติดต่อค้าขายบกก็คือ
ชาวบ้านหนองเต่าไม่มีทางเลือในการเลือกใช้ทางสันจร เพราะเป็นหมู่บ้านที่
อยู่ห่างไกลจากแม่น้าหรือลาครองต่างๆ มีก็แต่ห้วยน้าเล็กใช้สาหรับทามา
หากินเท่านั้นไม่สามารถใช้เป็นเส้นทางการติอต่อค้าขายหรือสัรจรได้
๗ ปราชญ์ชาวบ้าน(ภูมิปัญญาท้องถิ่น)
นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้านหนองเต่าขึ้นมา ชาวบ้านก็มีความคิดริเริ่มที่จะ
สร้างสรรค์สิ่งของต่างๆ เพื่อนามาใช้ในชีวิตประจาวัน จึงเกิดเป็นภูมิปัญญาประจา
ท้องถิ่นของหมู่บ้านหนองเต่า
การทาอุปกรณ์ต่างๆ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ทามาหากิน อาทิเช่น อุปกรณ์ที่ใช้ใน
การจับปลา จนไปถึงยาสมุนไพรของชาวบ้าน ที่นาเอาพืชชนิดต่างมาสกัดเป็นยา
รักษาโรค ซึ่งพืชที่เป็นตัวยานั้นก็สามารถหาได้ง่ายตามท้องถิ่น
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 11
บ้านหนองเต่า
ดังนั้นก็จะสามารถสรุปได้ว่าชาวบ้านหนองเต่ามีความเชียวชาญในด้านการ
สร้างสรรค์อุปกรณ์ทามาหากินและการนาพืชมาสกัดเป็นยาสมุนไพรรักษาโรค
โดยที่ไม่ต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีที่สินเปลือง
๘ แหล่งน้า/ทรัพยากรธรรมชาติ
บ้านหนองเต่ามีแหล่งน้าอยู่หลายแห่งด้วยกันทั้งที่เป็นแหล่งน้าที่ใช้เป็น
แหล่งน้าสาหรับอุปโภคบริโภคและแหล่งน้าที่ใช้สาหรับทามาหากินก็หลายแห่ง
เช่นกัน ชาวบ้านหนองเต่าอาศัยน้าเพื่อที่ใช้อุปโภคบริโภคโดยอาศัยน้าจาก
หนองน้าหนองเต่า เพราะมีน้าใสสะอาดไม่เหมือนหนองน้าอื่นๆ ที่เป็นแหล่งน้า
ทามาหากินก็มีสีน้าที่ขุ่นมาก
สรุปได้ว่าแหล่งประจาหมู่บ้านหนองเต่านั้นมีอยู่หลายแห่ง และมีแหล่งน้าที่
สาคัญ ๆ ชื่อว่าหนองน้าหนองเต่า ซึ่งเป็นหนองน้าที่ใช้เป็นแห่งอุปโภคบริโภค
๙ จานวนประชากร
บ้านหนองเต่ามีจานวนครัวเรือนประชากรทั้งหมด 147 ครัวเรือน
มีประชากรทั้งหมด 759 คน แบ่งเป็น
ชาย 388 คน
หญิง 371 คน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 12
บ้านหนองเต่า
ภาคผนวก
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 13
บ้านหนองเต่า
๑0 การเปลี่ยนและการพัฒนาของหมู่บ้านหนองเต่า
บ้านหนองเต่าได้แยกออกเป็นหมู่บ้านอีกหลายหมุ่บ้านดังนี้ แยกออกเป็นหมู่บ้าน
หนองโพธิ์ หมู่ที่ 10 และบ้านหนองเต่าพัฒนาหรือบ้านหนองเต่าใหม่ หมู่ที่ 15
อันเป็นผลมาจากประชากรในหมู่บ้านมีจานวนมากขึ้นเป็นหลายเท่าตัวของคน
สมัยก่อนและที่อยู่อาศัยมีจานวนน้อยไม่พอกับการอยู่อาศัยจึงต้องมีการเพิ่ม
จานวนของที่อยู่อาศัยพอจานวนที่อยาอาศัยมีจานวนมากขึ้นแล้วทางผู้ใหญ่จึงมี
ข้อตกลงกันว่าจาเป็นต้องแยกหมู่บ้านเพิ่มขึ้น
๑๑ สถานที่ท่องเที่ยวไกล้หมู่บ้านหนองเต่า
๑ ทุ้งดอกจานบาน เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงออนุรักษ์ที่อยู่ม่ไกล้ไม่ไกล
จากหมู่บ้านมากเท่าไรนัก ทุ่งดอกจานตั้งอยู่ที่ อาเภอแก้งสนามนาง
จังหวัดนครราชสีมา
๒ ประสาทหินพิมาย ประสาทหินพิมายเป็นสถานที่ที่มีความสาคัญตั้งแต่
สมัยโบราณและได้ถือว่าเป็นมรกดกโลกอีกอย่างหนึ่ง ประสาทหินพิมายตั้งอยู่ที่
อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา
การเปลี่ยนแปลงของหมู่บ้าหนองเต่าตั้งแต่เริ่มสร้างหมู่บ้านจนถึงปัจจุบัน
สถานที่ท่องเที่ยวไกล้หมู่บ้าหนองเต่ามีดังนี้
ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/409257
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 14
บ้านหนองเต่า
๑๒ บุคคลสาคัญและบุคคลตัวอย่างในชุใชน
บุคคลที่สร้างชื่อเสียงให้กับหมู่บ้านหนองเต่ามีอยู่หลายคนหลายอาชีพ
ดังจะยกตัวอย่างดังต่อไปนี้
๑ ส.ส.สุชาติ ภิญโญ
๒ สจ.สมชาย ภิญโญ
๑๓ แหล่งเรียนรู้/สถานที่อบรมขัดเกลาอุปนิสัย
หมู่บ้านหนองเต่ามีแหล่งเรียนรู้และสถานที่อบรมขัดเกลาอุปนิสัย
อยู่ด้วยกันหลายแห่งเช่นกัน อาทิ
๑๓.๑ วัด วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านและเป็นที่ขัดเกลา
อุปนิสัยของชาวบ้านและในสมัยก่อนวัดบ้านหนองเต่าได้เป็นทั้งสถานที่
ศึกษา รวททั้งสถานที่พักอาศัยของชาวในยามวิกาล และยังเป็นสถานที่ที่ใช้
จัดงานสาคัญๆได้งานตามความจาเป็น
๑๓..๒ โรงเรียน บ้านหนองเต่าในสถานะปัจจุบันได้มีการจัดตั้ง
โรงเรียนบ้านหนองเต่า เป็นโรงเรียนประจาหมู่บ้านแทนโรงเรียนแห่งเดิมที่
อาศัยศาลาการเปรียนของวัดบ้านหนองเต่าเป็นสถานที่ใช้เรียนหนังสือ โดย
ในปัจจุบันโรงเรียนบ้านหนองเต่าได้เปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็น
โรงเรียนขยายอาสทางการศึกษาที่พรั่งพร้อมไปด้วยบุคลลากรและอาคาร
สถานที่ต่างๆ
๑๓.๓ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านหนองเต่า
-บ้านหนองโพธิ์-บ้านหนองเต่าพัฒนา ศูนย์พัฒนาเด็กฯเป็นสถานที่อีกแห่ง
หนึ่งที่ช่วยอบรมและขัดเกลาอุปนิส้ย โดยเป็นความรวมมือระหว่าหมู่บ้าน
หนองเต่าและองค์การบริหารส่วนตาบลบึงพะไลในการจัดตั้งขึ้น โดยมี
จุดประสงค์ในการก่อตั้งคือช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง และช่วยอบรมและ
ขัดเกลาอุปนิสัยของเด็กก่อนที่จะได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในระดับชั้นต่อไป
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 15
บ้านหนองเต่า
๑๔ ภาพบรรยากาศต่างๆของหมู่บ้าหนองเต่า
ภาพที่ 2 ภาพการทามาหากินของชาวบ้านหนองเต่า
แล้วบ้านหนองเต่ามี
สวนธารณะประหมู่บ้าน
ไหมครับ
มีสิจ๊ะน้อง บ้าน
หนองเต่าก็มี
สวนธารณะประจา
หมู่บ้านเหมือนกัน
ดีจังคับ คงจะอากาศ
ร่มรืนดีมากนะครับ
ใช่จ๊ะ
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 16
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 3-4 ภาพทางเข้าหมู่บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 17
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 5 การเลี้ยงสัตว์เพื่อการขาย ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งของชาวบ้าน
ภาพที่ 6 บรรยากาศตอนเย็นๆ ที่ริมหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 18
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 6 อาคารหลังแรกของโรงเรียนบ้านหนองเต่า(โรงเรียนแห่งปัจจุบัน)
ภาพที่ 7 บรรยากาศทุ่งนาตอนชาวที่บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 19
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 8 สบาพเรือนของคนในชุมชน
ภาพที่ 9 ชาวบ้านยังคงใช้รถไถนาเดินตามเป็นภาหนะสันจรไปมาเหมือนยังสมัยก่อน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 20
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 10 ภาพจาลองอาคารหลังแรกของโรงเรียนบ้านหนองเต่าที่อาศัย
ศาลาวัดบ้าหนองเต่าเป็นอาคารสาหรับทาการเรียนการสอน
ภาพที่ 11 ภาพบรรยากาศของชาวบ้านที่พาลูกหลานเป็นไหนมาไหนด้วยซึ่ง
แสดงว่าพ่อแม่ไม่เคยทอดทิ้งลูกและนี่ก็เป็นอีกอย่างที่ชาวบ้านหนองเต่าทาเป็น
ประจา
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 21
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 12 ป่าไม้อันร่มรื่นของบ้านหนองเต่าซึ่งเป็นป่าไม้ที่ชาวบ้านอนุรักษ์
ไว้ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
ภาพที่ 13 ภาพการทานาขอชาวบ้านหนองเต่าในปัจจุบัน ยังยึดหลักวิถี
การทานาเหมือนสมัยก่อน
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 22
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 14 ภาพการทานาเป็นอาชีพหลักในงานทามาหากินของชาวบ้าน
หนองเต่าในปัจจุบัน
ภาพที่ 15 สภาพบ้านเรือนของชาวบ้านหนองเต่า เมื่อ 2 ปีที่แล้ว
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 23
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 16 พระอาทิตย์ตกที่ริมหนองเต่า : ถ่ายโดย สิทธิชัย ปุริมาโน
ภาพที่ 17 ท้องฟ้าสวยเหนือริมน้าหนองเต่า :ถ่ายที่บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 24
บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 18 แผนที่อย่างไม่เป็นทางการของหมู่บ้านหนองเต่า
ภาพที่ 19 ภาพถ่ายทางอากาศของผมู่บ้านหนองเต่า จ.นครราชสีมา
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 25
บ้านหนองเต่า
บอกเล่าเรื่องเต่า
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 26
บ้านหนองเต่า
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 27
บ้านหนองเต่า
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 28
บ้านหนองเต่า
บรรณานุกรม
ขอบคุณข้อมูลบ้าหนองเต่า
ผู้ใหญ่บ้านหนองเต่าคนปัจจุบัน
ผู้ใหญ๋บ้านหนองโพธิ์คนปัจจุบัน
ผู้ใหญ่บ้านหนองเต่าพัฒนา
ขอบคุณภาพถ่ายจาก ด.ช.สิทธิชัย ปุริมาโน และด.ญ.นันทิดา ปัดทุม
บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 29
บ้านหนองเต่า

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
A-NKR Ning
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
Aon Narinchoti
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
Thiranan Suphiphongsakorn
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
thnaporn999
 

Mais procurados (20)

โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษีโครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
โครงงานการบำบัดน้ำเสียด้วยต้นธูปฤาษี
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 

Destaque

ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
Kruorawan Kongpila
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 
งานนำเสนอ1สารนี
งานนำเสนอ1สารนีงานนำเสนอ1สารนี
งานนำเสนอ1สารนี
narinpang
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
Sambushi Kritsada
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
jeerawan_l
 
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
Watcharin Chongkonsatit
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
Siriluk Singka
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
Suradet Sriangkoon
 

Destaque (16)

ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDocใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
ใบควารู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นDoc
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
งานนำเสนอ1สารนี
งานนำเสนอ1สารนีงานนำเสนอ1สารนี
งานนำเสนอ1สารนี
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
4
44
4
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
5 เครื่องชี้วัดการจัดการสาธารณสุขในชุมชน
 
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาดโครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
โครงงานคอมวิถีชีวิตของชาวหมู่บ้านแม่ขนาด
 
ทดสอบเด็กป2
ทดสอบเด็กป2ทดสอบเด็กป2
ทดสอบเด็กป2
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
2
22
2
 
3
33
3
 
5
55
5
 

Semelhante a ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า

เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
loveonlyone
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
fufee
 
หมู่ 6ส
หมู่ 6สหมู่ 6ส
หมู่ 6ส
bawtho
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
Tum Meng
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ดุซงญอ ตำบล
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
Jariya Bankhuntod
 

Semelhante a ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า (15)

File
FileFile
File
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
ประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการประกาศคุณูปการ
ประกาศคุณูปการ
 
7
77
7
 
หมู่ 6ส
หมู่ 6สหมู่ 6ส
หมู่ 6ส
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญเล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
เล่มที่ 1 บ้านโนนเจริญ
 
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
 
พระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้องพระสามพี่น้อง
พระสามพี่น้อง
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
 
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญเล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
เล่มที่ 8 บุคคลสำคัญ
 
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัวหนังสือธรรมะใกล้ตัว
หนังสือธรรมะใกล้ตัว
 

ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า

  • 1. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 1 บ้านหนองเต่า ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า ได้มีครอบครัวผู้อพยบประมาณ ๓ ครอบครัวได้อพยบเดินทางรอนแรมมาจาก อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคามเพื่อหาทาเลที่ตั้งในการลงหลักปักฐานสร้างที่อยู่ และที่ทามาหากินแห่งใหม่โดยได้เดินทางรอนแรมมาถึงบริเวณที่ตั้งของหมู่บ้าน หนองเต่าในปัจจุบัน โดยในสมัยนั้นมีหนองน้าขนาดใหญ่ซึ่งเป็นที่กล่าวนามใน สมัยนี้ว่าหนองน้าหนองเต่า จึงได้ตกลงปรงใจพากันปักหลักปักฐานอยู่ที่นี้และได้ ถางป่าทาที่อยู่อาศัยและทาการเกษตรใกล้กับหนองน้า เมื่อเด็กไปเล่นในหนอง น้าและบังเอิญได้เจอเต่าจึงได้จับเต่ามาให้ผู้ใหญ่ดู โดยผู้สูงอายุได้ถามเด็กว่าไป จับเต่ามาแต่ใหน พวกเด็กๆ จึงตอบว่าจับมาจากหนองน้า ซึ่งในหนองน้านั้นมี เต่ามาก จึงเป็นที่มาให้ชาวบ้านกล่าวนามหนองน้านั้นว่า “หนองเต่า” ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย 30440 ๑ ความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า ตามคาบอกกล่าวของผู้สูงอายุในชุมชนพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๗๔ แล้วตอนนี้ยังมีเต่าให้ เราเห็นอยู่ไหมค่ะ อ่อตอนนี้เต่าที่อยู่ในหนองเต่าได้สูญพันธุ์ หมดแล้ว เหลือก็แต่เต่าที่ชาวบ้านเอามา ปล่อยไว้เท่านั้นแหละจ๊ะ และก็มีรูปปั่น เต่าที่ชาวและวัดบ้านหนองเต่าได้ปั่นขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์ไว้ที่วัดบ้านหนองเต่าจ๊ะ
  • 2. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 2 บ้านหนองเต่า จะเรียกว่าหมู่บ้านแล้วจึงได้เรียกชื่อหมู่บ้านตามชื่อหนองน้าประจาหมู่บ้านนั้นว่า หมู่บ้านหนองเต่า และได้เรียกมาจนถึงปัจจุบัน (ปัจจุบันหมู่บ้านหนองเต่าตั้งอยู่ ที่ หมู่ที่ 9 ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย 30440) จากนั้นมาทางหมู่บ้านหนองเต่าได้ทาการเลือกตั้งผู้นา ชุมชน(ผู้ใหญ่บ้าน) มากปกครองหมู่บ้านปัญหามาจากจานวนประชากรที่เริ่มเพิ่ม ขึ้นมามากเลื่อยๆ ซึ่งผู้ใหญ่บ้านคนแรกของหมู่บ้านหนองเต่ามีชื่อว่า นายเหมือน (นามสกุลไม่ระบุไว้แน่ชัด) ต่อมาไม่นานทางราชการให้หมู่บ้านหนองเต่ามีวิทฐานะ เป็นหมู่บ้านได้สมบูรณ์ ซึ่งหลายๆ ปีต่อมาได้มีผู้ใหญ่บ้านคนใหม่เข้ามารับ ตาแหน่งหน้าที่จากผู้ใหญ่บ้านคนก่อน ตามลาดับดังนี้ ภาพที่ 1 หนองน้าหนองเต่า ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ บ้านหนองเต่า ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ต่อมาเมื่อมีประชากรเพิ่มขึ้นมาหลายๆ ครอบครัวแล้ว ชาวบ้านจึงคิดว่าถึงเวลาที่
  • 3. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 3 บ้านหนองเต่า ๑.๒ ทานียบผู้ใหญ่บ้านบ้านหนองเต่า นายเหมือน (นามสกุลไม่ระบุไว้แน่ชัด) นายฮาด วงษ์ชาลี นายจันคาน บัวมาตร นายมา ปัดทุม นายคามี คาประพันธ์ นายอูม ดวงสุพรรณ ไม่มีรูปภาพชัดเจน ไม่มีรูปภาพชัดเจน ไม่มีรูปภาพชัดเจน ไม่มีรูปภาพชัดเจน
  • 4. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 4 บ้านหนองเต่า นายทองดี พันชมพู นายคาภีร์ จันทรเสาวพักคร์ นายอานวย มีธรรม นายทองดี ธุระธรรม (ผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน) ไม่มีรูปภาพชัดเจน
  • 5. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 5 บ้านหนองเต่า ๒ สัญลักษณ์ทางภูมิศาสตร์ ๒.๑ ที่ตั้ง บ้านหนองเต่าปัจจุบันตั่งอยู่ หมู่ที่ ๙ ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย รหัสไปรษณีย์ ๓0๔๔0 ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ 15°40'45.21" N 102°14'25.15" E ๒.๒ อานาเขตของหมู่บ้านหนองเต่า ติดต่อกับหมู่บ้านหนองขามน้อย หมู่บ้านศาลาหนองขอน ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ทิศตะวันตกติดต่อกับ หมู่บ้านหนองบัวกอง ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนคคราชสีมา ทิศเหนือติดต่อกับหมู่บ้านหัวหนอง เทศบาลตาบลบึง สาโรง อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ทิศเหนือติดต่อกับบ้านดง บัง ตาบลห้วยยาง อาเภอบัวใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา หมู่บ้านหนองเต่า อยู่ทางทิศใต้ของที่ว่าการอาเภอแก้งสนามนาง มีระยะทางห่างจากที่ว่าการอาเภอแก้งสนามนาง ประมาณ ๙ กิโลเมตร แล้วคนสมัยก่อนใช้อะไรเขียน หรือเรียนหนังสือครับ สมัยก่อนชาวบ้านเขาก็ใช้ก้อนถ่าน เขียนไงจ๊ะ ส่วนหนังสือเรียนก็ เรียนจากหนังสือใบลานไงจ๊ะ บ้าหนองเต่ามีอานาเขตติดต่อกับหลายหมู่บ้าน ดังนี้ ทิสตะวันออก
  • 6. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 6 บ้านหนองเต่า ๓.๑ อาชีพ ชาวบ้านหนองเต่า ตาบลบึงพะไล อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ส่วนใหญ่มีอาชีพ ทาไร่-ทานา บางครอบครัวก็ได้ไปใช้ แรงงานอยู่ที่เมืองหลวง แต่สมัยนี้ค่านิยมของการประกอบอาชีพของชาวบ้านก็ เริ่มที่จะหายไปกับทุนนิยม โดยต่างก็พากันขายไร่-ขายนา หรือทิ้งไร่-ทิ้งนา ไปทางานหรือไปค้าขายในเมืองหลวงหากบางครอบครัวมีลูกเด็กเล็กแดงก็จะฝาก ลูกฝากหลานไว้กับ ตา-ยาย กว่าจะเห็นหน้ากันก็จะเห็นในงานเทศกาลต่างๆ ของชาวหรือในปีใหม่เท่านั้น ๓.๒ การศึกษา าวบ้านหนองเต่า ส่วนใหญ่สมัยก่อนไม่ค่อยได้รับการศึกษา เป็นเหตุ มาจากไม่มีสถานที่เรียนหนังสือหรือสถานที่เรียนหนังอยู่ห่างไกลจากหมู่จึงไม่ค่อย มีคนสนใจที่จะศึกษา แต่ปัญหานี้ก็เริ่มหายไปหลังจากที่ชาวบ้านและผู้นาชุมได้ จัดตั้งโรงเรียนแห่งแรกประจาหมู่บ้านขึ้นอยู่ที่ศาลาวัดบ้านหนองเต่า เปิดสอนถึง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 พอชาวบ้านส่วนจบการศึกษาจากชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 แล้ว ก็ไม่ได้รับการศึกษาอีกเลยจากนั้นไม่นาน นายอาเภอบัวใหญ่ ลืมบอกไปบ้านหนองเต่ายังมี อากาศที่ดีมาก และชาวก็มีความ เป็นกันเองมากด้วยคับ/ค่ะ ช ช ๓ ลักษณะทางวัฒนธรรม
  • 7. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 7 บ้านหนองเต่า จังหวัดนครราชสีมา ในสมัยนั้นได้ให้ความสาคัญแก่การศึกษาเป็นอย่างมากจึงได้ จัดตั้งโรงเรียนใกล้บ้านให้กับบ้านหนองเต่า โดยตั้งชื่อตามชื่อหมู่บ้านว่า โรงเรียนบ้านหนองเต่า ชาวบ้านจึงได้รับการศึกษาอีกครั้ง ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนบ้าน หนองเต่าเปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดอยู่ที่สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมาเขต 6 กระทรวงศึกษาธิการ ๓.๓ ศาสนา ชาวบ้านหนองเต่านับถือศาสนาพุทธ ประมาณ 99.9 เปอร์เซ้นต์ และ นับถือศาสนาคริสต์ ประมาณ 0.1 เปอร์เซ้นต์ ๓.๔ ประเพณีและความเชื่อ ๓.๔.๑ ความเชื่อ นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้านหนองเต่ามา ชาวบ้านจะมักจะมี ความเชื่อกับสิ่งที่ไม่มีตัวตนหรือไม่สามารถสัมผัสได้ อาทิเช่น เชื่อในเรื่องไสย ศาสตร์ เชื่อในเรื่องเครื่องรางของขลัง และอื่นอีมากมาย ชาวบ้านหนองเต่ายังมี ความเชื่อที่แปลกมากมายและไม่สารมารถสัมผัสได้ หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน ๓.๔.๑ ประเพณีสาคัญของหมู่บ้านหนองเต่า ประเพณีบุญเดือนหก(บุญบังไฟ) ชาวบ้านหนองเต่าเชื่อกันว่าเมื่อปีใดฝน แล้งหรือสภาพอากาศไม่ดีชาวบ้านมักจะจุดบังไฟขอฝนจากพญาแทน ซึ่งมีการ จัดเป็นทุกๆ ปี อาคารหลังแรก ของโรงเรียน บ้านหนองเต่า
  • 8. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 8 บ้านหนองเต่า ประเพณีบวงสรวงปู่ตาเจ้าหนองหนองเต่า(หรือที่เรียกกันว่พิธีบวงสรวงสิ่ง ศักดิ์ศิษย์ประจาหมู่บ้านหนองเต่า) การบวงสรวงปู่ตาเจ้าหนองหนองเต่าหรือสิ่ง ศักดิ์ศิษย์ประจาหมู่บ้านมีการประเพณีปฏิบัติมาตั้งแต่สมัยโบราณ ชึ่งชาวบ้าน มีความเชื่อว่าสิ่งศักดิ์ศิษย์จะช่วยปกป้องคุ้มครองภัยให้กับตนเองและหมู่บ้าน หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน ประเพณีบุญมหาชาติ บุญมหาชาติมีชื่อเรียกอีอย่างหนึ่งว่าบุญพระเวชสันดร บุญมหาชาติของหมู่บ้านหนองเต่าถือได้ว่าเป็นบุญประจาปีที่ทุกคนต้องเข้าวัด เพื่อฟังเทศมหาชาติและทาบุญตักบาตร ซึ่งบุญมหาชาตินี้เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับ เรื่องราวสมัยพุทธกาล โดยมีจุดประสงค์ของการจัดประเพณีบุญมหาชาตินี้ คือ การได้บริจาคสิ่งของหรือถวายสิ่งของให้กับศาสนา และชาวบ้านหนองเต่าเชื่อ อีกว่าการได้บริจาคสิ่งของในประเพณีบุญมหาชาตินี้จะทาให้ได้เป็นส่วนหนึ่งกับ องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน ประเพณีบุญกระยาสาท คือ บุญประจาปีประจาหมู่บ้าน เพื่อเป็นการอุทิศ ส่วนบุญส่วนกุศลให้กับ บิดา-มารดา หรือญาติ ผู้ล่วงลับไปแล้วและมีความเชื่อ อีกอย่างหนึ่งว่าเป็นการปลดปล่อยวิญาณให้ไปสู่สุคติ หมายเหตุ โปรดใช้วิจารณญาณ์ในการอ่าน
  • 9. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 9 บ้านหนองเต่า ๕ สภาพเศรษฐกิจภายในชุมชนของหมู่บ้านหนองเต่า บ้านหนองเต่าเป็นบ้านที่มีสถานะเศรษฐกิจในระดับปานกลางถึงดีหรือดี มาก โดยมีเพียงส่วนน้อยที่ไม่มีกินหรือไม่มีที่อยู่เลย หรืออาจหาไม่ได้ในหมู่บ้าน หนองเต่าเลย ๖ การคมนาคม ๖.๑ การเดินทาง ชาวบ้านหนองเต่าในสมัยก่อนใช้เกวียนเป็นภาหนะที่ใช้ในการสันจร ไป-มา โดยใช้ โค – กระบือ ในการลากหรือใช้ในการขับเคลื่อน แต่สมัย นี้ชาวบ้านได้เปลี่ยนค่านิยมในการใช้ภาหนะในการสันจรใหม่ เป็นการใช้ รถยนต์หรือรถกระบะแทนการใช้เกวียนเพราะมีความคล่องตัวสูงและ เคลื่อนที่ได้เร็วกว่าเกวียน ๔ สภาพความเป็นอยู่ทั่วไปและจุดเด่นของชาวบ้านหนองเต่า ชาวบ้านหนองเต่ามีความเป็นอยู่ที่เป็นปานกลางคือไม่ดีมากหรือลาบากจนเกินไป ส่วนใหญ่ชาวบ้านหนองจะมีครอบครัวที่ใหญ่มีญาติมิตรหรือเป็นพี่เป็นน้องกันทั้งหมู่บ้านจึง ทาให้ชาวบ้านหนองเต่ามีความสะดวกสบายในด้านต่างๆ ไม่ว่า อาหารการกิน ของใช้ เบ็ดเตล็ดต่างๆ และมากเป็นกว่านั้นการมีน้าใจของชาวบ้าน ก็คือเมื่อเวลาชาวบ้านใกล้ เรือนเคียงมีการจัดงานอุปสมบทหรืองานมงคลต่างๆ ก็จะมีชาวบ้านอีกส่วนที่เป็นทั้งญาติ และคนใกล้มาช่วยงานกันอย่างคับคลัง โดยที่เป็นจาเป็นต้องมีคนเรียกมาช่วยงานแต่ ชาวบ้านทุกคนมาช่วยงานด้วยความเต็มถึงแม้จะต้องเสียเวลาในการทามาหากินชาวบ้าน หนองเต่าก็ไม่เคยบ่นว่าเลยหรือและถึงแม้จะมีรางวัลตอบแทนใดๆ ให้กับชาวบ้านแต่ก็ไม่ เรื่องสาคญสาหรับชาวบ้านเพราะชาวบ้านยึดคาว่า “การมีน้าใจเพื่อนมนุษย์และความ เสียสละ” ดังนั้นเมื่อมีชาวบ้านต่างถิ่นหรือแขกเข้ามาเยี่ยมชมหมู่บ้านคาแรกที่เขากล่าว ก่อนกลับส่วนใหญ่มักจะกล่าวคาว่า “ชาวบ้านหนองเต่าเป็นคนที่มีมิตรไมตรีเป็นเลิศจริงๆ และมีน้าใจมาก”
  • 10. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 10 บ้านหนองเต่า ๖.๒ เส้นทางการติดต่อ ชาวบ้านหนองเต่าติดต่อค้าขายและสันจรไปมา โดยเดินทางผ่าน การเดินทางทางบก เหตุผลที่ต้องเดินติดต่อค้าขายบกก็คือ ชาวบ้านหนองเต่าไม่มีทางเลือในการเลือกใช้ทางสันจร เพราะเป็นหมู่บ้านที่ อยู่ห่างไกลจากแม่น้าหรือลาครองต่างๆ มีก็แต่ห้วยน้าเล็กใช้สาหรับทามา หากินเท่านั้นไม่สามารถใช้เป็นเส้นทางการติอต่อค้าขายหรือสัรจรได้ ๗ ปราชญ์ชาวบ้าน(ภูมิปัญญาท้องถิ่น) นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งหมู่บ้านหนองเต่าขึ้นมา ชาวบ้านก็มีความคิดริเริ่มที่จะ สร้างสรรค์สิ่งของต่างๆ เพื่อนามาใช้ในชีวิตประจาวัน จึงเกิดเป็นภูมิปัญญาประจา ท้องถิ่นของหมู่บ้านหนองเต่า การทาอุปกรณ์ต่างๆ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ทามาหากิน อาทิเช่น อุปกรณ์ที่ใช้ใน การจับปลา จนไปถึงยาสมุนไพรของชาวบ้าน ที่นาเอาพืชชนิดต่างมาสกัดเป็นยา รักษาโรค ซึ่งพืชที่เป็นตัวยานั้นก็สามารถหาได้ง่ายตามท้องถิ่น
  • 11. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 11 บ้านหนองเต่า ดังนั้นก็จะสามารถสรุปได้ว่าชาวบ้านหนองเต่ามีความเชียวชาญในด้านการ สร้างสรรค์อุปกรณ์ทามาหากินและการนาพืชมาสกัดเป็นยาสมุนไพรรักษาโรค โดยที่ไม่ต้องพึ่งพาอาศัยเทคโนโลยีที่สินเปลือง ๘ แหล่งน้า/ทรัพยากรธรรมชาติ บ้านหนองเต่ามีแหล่งน้าอยู่หลายแห่งด้วยกันทั้งที่เป็นแหล่งน้าที่ใช้เป็น แหล่งน้าสาหรับอุปโภคบริโภคและแหล่งน้าที่ใช้สาหรับทามาหากินก็หลายแห่ง เช่นกัน ชาวบ้านหนองเต่าอาศัยน้าเพื่อที่ใช้อุปโภคบริโภคโดยอาศัยน้าจาก หนองน้าหนองเต่า เพราะมีน้าใสสะอาดไม่เหมือนหนองน้าอื่นๆ ที่เป็นแหล่งน้า ทามาหากินก็มีสีน้าที่ขุ่นมาก สรุปได้ว่าแหล่งประจาหมู่บ้านหนองเต่านั้นมีอยู่หลายแห่ง และมีแหล่งน้าที่ สาคัญ ๆ ชื่อว่าหนองน้าหนองเต่า ซึ่งเป็นหนองน้าที่ใช้เป็นแห่งอุปโภคบริโภค ๙ จานวนประชากร บ้านหนองเต่ามีจานวนครัวเรือนประชากรทั้งหมด 147 ครัวเรือน มีประชากรทั้งหมด 759 คน แบ่งเป็น ชาย 388 คน หญิง 371 คน
  • 12. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 12 บ้านหนองเต่า ภาคผนวก
  • 13. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 13 บ้านหนองเต่า ๑0 การเปลี่ยนและการพัฒนาของหมู่บ้านหนองเต่า บ้านหนองเต่าได้แยกออกเป็นหมู่บ้านอีกหลายหมุ่บ้านดังนี้ แยกออกเป็นหมู่บ้าน หนองโพธิ์ หมู่ที่ 10 และบ้านหนองเต่าพัฒนาหรือบ้านหนองเต่าใหม่ หมู่ที่ 15 อันเป็นผลมาจากประชากรในหมู่บ้านมีจานวนมากขึ้นเป็นหลายเท่าตัวของคน สมัยก่อนและที่อยู่อาศัยมีจานวนน้อยไม่พอกับการอยู่อาศัยจึงต้องมีการเพิ่ม จานวนของที่อยู่อาศัยพอจานวนที่อยาอาศัยมีจานวนมากขึ้นแล้วทางผู้ใหญ่จึงมี ข้อตกลงกันว่าจาเป็นต้องแยกหมู่บ้านเพิ่มขึ้น ๑๑ สถานที่ท่องเที่ยวไกล้หมู่บ้านหนองเต่า ๑ ทุ้งดอกจานบาน เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงออนุรักษ์ที่อยู่ม่ไกล้ไม่ไกล จากหมู่บ้านมากเท่าไรนัก ทุ่งดอกจานตั้งอยู่ที่ อาเภอแก้งสนามนาง จังหวัดนครราชสีมา ๒ ประสาทหินพิมาย ประสาทหินพิมายเป็นสถานที่ที่มีความสาคัญตั้งแต่ สมัยโบราณและได้ถือว่าเป็นมรกดกโลกอีกอย่างหนึ่ง ประสาทหินพิมายตั้งอยู่ที่ อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา การเปลี่ยนแปลงของหมู่บ้าหนองเต่าตั้งแต่เริ่มสร้างหมู่บ้านจนถึงปัจจุบัน สถานที่ท่องเที่ยวไกล้หมู่บ้าหนองเต่ามีดังนี้ ภาพประกอบจากอินเทอร์เน็ต ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/409257
  • 14. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 14 บ้านหนองเต่า ๑๒ บุคคลสาคัญและบุคคลตัวอย่างในชุใชน บุคคลที่สร้างชื่อเสียงให้กับหมู่บ้านหนองเต่ามีอยู่หลายคนหลายอาชีพ ดังจะยกตัวอย่างดังต่อไปนี้ ๑ ส.ส.สุชาติ ภิญโญ ๒ สจ.สมชาย ภิญโญ ๑๓ แหล่งเรียนรู้/สถานที่อบรมขัดเกลาอุปนิสัย หมู่บ้านหนองเต่ามีแหล่งเรียนรู้และสถานที่อบรมขัดเกลาอุปนิสัย อยู่ด้วยกันหลายแห่งเช่นกัน อาทิ ๑๓.๑ วัด วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านและเป็นที่ขัดเกลา อุปนิสัยของชาวบ้านและในสมัยก่อนวัดบ้านหนองเต่าได้เป็นทั้งสถานที่ ศึกษา รวททั้งสถานที่พักอาศัยของชาวในยามวิกาล และยังเป็นสถานที่ที่ใช้ จัดงานสาคัญๆได้งานตามความจาเป็น ๑๓..๒ โรงเรียน บ้านหนองเต่าในสถานะปัจจุบันได้มีการจัดตั้ง โรงเรียนบ้านหนองเต่า เป็นโรงเรียนประจาหมู่บ้านแทนโรงเรียนแห่งเดิมที่ อาศัยศาลาการเปรียนของวัดบ้านหนองเต่าเป็นสถานที่ใช้เรียนหนังสือ โดย ในปัจจุบันโรงเรียนบ้านหนองเต่าได้เปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เป็น โรงเรียนขยายอาสทางการศึกษาที่พรั่งพร้อมไปด้วยบุคลลากรและอาคาร สถานที่ต่างๆ ๑๓.๓ ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนบ้านหนองเต่า -บ้านหนองโพธิ์-บ้านหนองเต่าพัฒนา ศูนย์พัฒนาเด็กฯเป็นสถานที่อีกแห่ง หนึ่งที่ช่วยอบรมและขัดเกลาอุปนิส้ย โดยเป็นความรวมมือระหว่าหมู่บ้าน หนองเต่าและองค์การบริหารส่วนตาบลบึงพะไลในการจัดตั้งขึ้น โดยมี จุดประสงค์ในการก่อตั้งคือช่วยแบ่งเบาภาระของผู้ปกครอง และช่วยอบรมและ ขัดเกลาอุปนิสัยของเด็กก่อนที่จะได้รับการศึกษาที่สูงขึ้นในระดับชั้นต่อไป
  • 15. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 15 บ้านหนองเต่า ๑๔ ภาพบรรยากาศต่างๆของหมู่บ้าหนองเต่า ภาพที่ 2 ภาพการทามาหากินของชาวบ้านหนองเต่า แล้วบ้านหนองเต่ามี สวนธารณะประหมู่บ้าน ไหมครับ มีสิจ๊ะน้อง บ้าน หนองเต่าก็มี สวนธารณะประจา หมู่บ้านเหมือนกัน ดีจังคับ คงจะอากาศ ร่มรืนดีมากนะครับ ใช่จ๊ะ
  • 16. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 16 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 3-4 ภาพทางเข้าหมู่บ้านหนองเต่า
  • 17. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 17 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 5 การเลี้ยงสัตว์เพื่อการขาย ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งของชาวบ้าน ภาพที่ 6 บรรยากาศตอนเย็นๆ ที่ริมหนองเต่า
  • 18. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 18 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 6 อาคารหลังแรกของโรงเรียนบ้านหนองเต่า(โรงเรียนแห่งปัจจุบัน) ภาพที่ 7 บรรยากาศทุ่งนาตอนชาวที่บ้านหนองเต่า
  • 19. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 19 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 8 สบาพเรือนของคนในชุมชน ภาพที่ 9 ชาวบ้านยังคงใช้รถไถนาเดินตามเป็นภาหนะสันจรไปมาเหมือนยังสมัยก่อน
  • 20. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 20 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 10 ภาพจาลองอาคารหลังแรกของโรงเรียนบ้านหนองเต่าที่อาศัย ศาลาวัดบ้าหนองเต่าเป็นอาคารสาหรับทาการเรียนการสอน ภาพที่ 11 ภาพบรรยากาศของชาวบ้านที่พาลูกหลานเป็นไหนมาไหนด้วยซึ่ง แสดงว่าพ่อแม่ไม่เคยทอดทิ้งลูกและนี่ก็เป็นอีกอย่างที่ชาวบ้านหนองเต่าทาเป็น ประจา
  • 21. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 21 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 12 ป่าไม้อันร่มรื่นของบ้านหนองเต่าซึ่งเป็นป่าไม้ที่ชาวบ้านอนุรักษ์ ไว้ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ภาพที่ 13 ภาพการทานาขอชาวบ้านหนองเต่าในปัจจุบัน ยังยึดหลักวิถี การทานาเหมือนสมัยก่อน
  • 22. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 22 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 14 ภาพการทานาเป็นอาชีพหลักในงานทามาหากินของชาวบ้าน หนองเต่าในปัจจุบัน ภาพที่ 15 สภาพบ้านเรือนของชาวบ้านหนองเต่า เมื่อ 2 ปีที่แล้ว
  • 23. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 23 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 16 พระอาทิตย์ตกที่ริมหนองเต่า : ถ่ายโดย สิทธิชัย ปุริมาโน ภาพที่ 17 ท้องฟ้าสวยเหนือริมน้าหนองเต่า :ถ่ายที่บ้านหนองเต่า
  • 24. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 24 บ้านหนองเต่า ภาพที่ 18 แผนที่อย่างไม่เป็นทางการของหมู่บ้านหนองเต่า ภาพที่ 19 ภาพถ่ายทางอากาศของผมู่บ้านหนองเต่า จ.นครราชสีมา
  • 25. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 25 บ้านหนองเต่า บอกเล่าเรื่องเต่า …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 26. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 26 บ้านหนองเต่า …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 27. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 27 บ้านหนองเต่า
  • 28. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 28 บ้านหนองเต่า บรรณานุกรม ขอบคุณข้อมูลบ้าหนองเต่า ผู้ใหญ่บ้านหนองเต่าคนปัจจุบัน ผู้ใหญ๋บ้านหนองโพธิ์คนปัจจุบัน ผู้ใหญ่บ้านหนองเต่าพัฒนา ขอบคุณภาพถ่ายจาก ด.ช.สิทธิชัย ปุริมาโน และด.ญ.นันทิดา ปัดทุม
  • 29. บ้ า น ห น อ ง เ ต่ า | 29 บ้านหนองเต่า