SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 82
บทที่ 1

ความสำาคัญของห้องสมุดและ
       แหล่งเรียนรู้
ความหมายของห้องสมุด

• ห้ อ งสมุ ด คือ สถานที่รวบรวมสรรพ
  วิทยาการต่าง ๆ ซึ่งได้บนทึกไว้ในรูปของ
                             ั
  หนังสือ วารสาร ต้นฉบับตัวเขียน สิ่งตีพิมพ์
  อื่น ๆ หรือโสตทัศนวัสดุ และมีการจัดอย่างมี
  ระเบียบเพื่อบริการแก่ผู้ใช้ ในอันที่จะส่งเสริม
  การเรียนรู้และความจรรโลงใจตามความสนใจ
  และความต้องการของแต่ละบุคคล โดยมี
  บรรณารักษ์เป็นผูจัดหาและจัดเตรียมให้
                   ้
ความสำาคัญของห้องสมุด
• ห้ อ งสมุ ด เป็ น ที ่ ร วมวิ ท ยาการต่ า ง             ๆ ที ่ ม ี
  ความสำ า คั ญ ต่ อ การเรี ย นการสอน
• ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง สารนิ เ ทศที ่ ม ี ค วามสำ า คั ญ
  ต่ อ การค้ น คว้ า วิ จ ั ย การเลื อ กอ่ า นหนั ง สื อ
• ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง สารนิ เ ทศที ่ เ ปิ ด โอกาสให้
  ทุ ก คนเลื อ กศึ ก ษาค้ น คว้ า อย่ า งอิ ส ระ
• ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ล ที ่ ส ่ ง เสริ ม การอ่ า น
  และการค้ น คว้ า ด้ ว ยตนเอง
• ห้ อ งสมุ ด เป็ น สถานที ่ ส ำ า หรั บ การพั ฒ นา
  คุ ณ ภาพชี ว ิ ต
• ห้ อ งสมุ ด เป็ น สถานที ่ ส ่ ง เสริ ม และอนุ ร ั ก ษ์
  วั ฒ นธรรมอั น ดี ง าม
• ห้ อ งสมุ ด จะเป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ล ที ่ ผ ู ้ อ ่ า นสามารถ
วัตถุประสงค์ของห้องสมุด
     •   เพื ่ อ การศึ ก ษา
     •   เพื ่ อ ให้ ค วามรู ้ แ ละข่ า วสาร
     •   เพื ่ อ การค้ น คว้ า วิ จ ั ย
     •   เพื ่ อ ให้ ค วามจรรโลงใจ
     •   เพื ่ อ นั น ทนาการ
องค์ประกอบของห้องสมุด
1. สิ ่ ง ตี พ ิ ม พ์ ได้ แ ก่ หนั ง สื อ วารสาร
  หนั ง สื อ พิ ม พ์ เอกสาร จุ ล สาร ในสาขา
  วิ ช าต่ า ง ๆ หนั ง สื อ ที ่ เ ป็ น ความรู ้ ท ั ่ ว ไป
  หนั ง สื อ ที ่ ม ี ค ุ ณ ค่ า ถาวรและหนั ง สื อ
  อ้ า งอิ ง
2. หนั ง สื อ ตั ว เขี ย น ได้ แ ก่ สมุ ด ข่ อ ย
  หนั ง สื อ ลาน และต้ น ฉบั บ ที ่ เ ขี ย นด้ ว ย
  ลายมื อ อื ่ น ๆ
3. โสตทั ศ นวั ส ดุ ได้ แ ก่ ภาพยนตร์
  สารคดี ฟิ ล ์ ม สคริ ป สไลด์ แถบเสี ย ง
ประเภทของห้องสมุดและ
     แหล่งเรียนรู้
     • ห้ อ งสมุ ด
     • ศู น ย์ บ ริ ก ารสารนิ เ ทศ
     • สถานที ่ ท ี ่ เ ป็ น แหล่ ง การเรี ย น
       รู ้ ส ารนิ เ ทศ
     • แหล่ ง สารนิ เ ทศประเภทบุ ค คล
     • แหล่ ง สารนิ เ ทศประเภทเครื อ
       ข่ า ย
บริการของห้องสมุด
•   ห้ อ งสมุ ด ที ่ ด ี จ ะปรากฏลั ก ษณะเด่ น ให้
    มองเห็ น คื อ มี ว ั ส ดุ ต ่ า ง ๆ ในห้ อ ง
    สมุ ด ไว้ บ ริ ก ารตลอดเวลา มี
    บรรณารั ก ษ์ เ ป็ น ผู ้ ม ี ค วามรู ้ มี ช ั ้ น เปิ ด
    (Open Shelf) เป็ น ที ่ เ ก็ บ หนั ง สื อ เพื ่ อ
    ให้ ผ ู ้ ใ ช้ ห ้ อ งสมุ ด ได้ ค ้ น หาได้ ส ะดวก
    มี อ าคารสถานที ่ ถ ู ก ลั ก ษณะ อากาศ
    ถ่ า ยเทได้ ด ี มี แ สงสว่ า งเพี ย งพอ วั ส ดุ
    ต่ า ง ๆ ในห้ อ งสมุ ด จั ด ไว้ เ ป็ น ระเบี ย บ
    เป็ น หมวดหมู ่ มี บ ริ ก ารดี เช่ น
    บริ ก ารช่ ว ยค้ น คว้ า และตอบ
•   คำ า ถาม บริ ก ารหนั ง สื อ สำ า รอง บริ ก าร
ภาคผนวกห้องสมุด
        ประชาชน
• ในมิ ่ ง มงคลสมั ย ที ่ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ
  ดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงเจริ ญ พระ-
  ชนมายุ 36 พรรษา เมื ่ อ ปี พ ุ ท ธศั ก ราช 2534
  กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ได้ ร ั บ พระราชทาน
      พระราชานุ ญ าตให้ ด ำ า เนิ น โครงการจั ด ตั ้ ง
  ห้ อ งสมุ ด ประชาชน “เฉลิ ม ราชกุ ม ารี ”
  เพื ่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ แ ละเพื ่ อ สนองแนวทาง
  พระราชดำ า ริ ใ นการส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาสำ า หรั บ
  ประชาชนที ่ ไ ด้ ท รงแสดงในโอกาสต่ า ง ๆ ใน
  โอกาสที ่ ท รงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ ค ุ ณ เสด็ จ เป็ น
  องค์ ป ระธานในการประชุ ม สมั ช ชาสากลว่ า
  ด้ ว ยการศึ ก ษาผู ้ ใ หญ่ เมื ่ อ วั น ที ่ 12 มกราคม
  2533 ได้ ท รงพระราชทานลายพระหั ต ถ์ เชิ ญ
  ชวนให้ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ และภาคเอกชนให้
บทที่ 2

ประเภทและความสำาคัญของ
    ข้อมูลสารสนเทศ
ความหมายของสารสนเทศ
     กับสารนิเทศ
• สารนิ เ ทศ คื อ ความรู ้ เรื ่ อ งราว ข้ อ มู ล
  ข่ า วสาร ซึ ่ ง มี ก ารบั น ทึ ก และจั ด การตามหลั ก
  วิ ช าการเพื ่ อ เผยแพร่ และเพื ่ อ ใช้ ป ระโยชน์
  ในการพั ฒ นาด้ า นต่ า งๆ ทั ้ ง ในส่ ว นบุ ค คลและ
  สั ง คม
• สารสนเทศ ก็ ค ื อ ผลสรุ ป ที ่ ไ ด้ จ ากการนำ า
  ข้ อ มู ล มาประมวลด้ ว ยวิ ธ ี ก ารต่ า งๆ เช่ น การ
  สรุ ป ทางสถิ ต ิ การเปรี ย บเที ย บ การจำ า แนก
  หรื อ จั ด กลุ ่ ม ฯลฯ ดั ง นั ้ น ในวงการ
  คอมพิ ว เตอร์ จ ึ ง ถื อ ว่ า ระบบสารสนเทศ คื อ
  ระบบจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ในด้ า นต่ า งๆ เอาไว้ แล้ ว
  นำ า ข้ อ มู ล มาประมวลให้ เ ป็ น สารสนเทศเพื ่ อ ส่ ง
  ให้ ผ ู ้ ใ ช้ ระบบสารสนเทศที ่ ร ู ้ จ ั ก กั น ดี ก ็ ค ื อ
  ระบบสารสนเทศเพื ่ อ การจั ด การ
ความสำาคัญของข้อมูล
      สารสนเทศ
• การให้ บ ริ ก ารสารสนเทศต่ า ง ๆ เป็ น สิ ่ ง
  จำ า เป็ น ต่ อ การพั ฒ นาหน่ ว ยงานทุ ก
  หน่ ว ยซึ ่ ง มี ผ ลต่ อ การพั ฒ นาประเทศ
  ชาติ มี ค ำ า กล่ า วที ่ ว ่ า “ ความรู ้ ค ื อ
  อำ า นาจ ” หรื อ “ สารสนเทศคื อ
  อำ า นาจ ” (Information is Power)
  ใครมี ข ้ อ มู ล มากผู ้ น ั ้ น ย่ อ มมี อ ำ า นาจมาก
  คำ า ดั ง กล่ า วสามารถพิ ส ู จ น์ ไ ด้ ด ี ใ น
  วงการธุ ร กิ จ หรื อ อุ ต สาหกรรม บริ ษ ั ท
  ใดมี ข ้ อ มู ล ทางเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ย่ อ ม
  ได้ เ ปรี ย บกว่ า บริ ษ ั ท ที ่ ไ ม่ ม ี ก ารพั ฒ นา
  เทคโนโลยี ศู น ย์ ส ารสนเทศต่ า ง ๆ จึ ง
คุณค่าของสารนิเทศ

   •   ความถู ก ต้ อ ง
   •   สะดวก รวดเร็ ว ตรงตาม
       ความต้ อ งการ
   •   มี ค วามสมบู ร ณ์ ครบถ้ ว น
   •   ความน่ า สนใจ
   •   ต่ อ เนื ่ อ งสั ม พั น ธ์ ก ั น
ประโยชน์และความสำาคัญ
    ของสารสนเทศ
  •   เพื ่ อ การศึ ก ษา (Education)
  •   เพื ่ อ ให้ ค วามรู ้ (Information)
  •   เพื ่ อ การค้ น คว้ า (Research)
  •   เพื ่ อ ความจรรโลงใจ (Inspiration)
  •   เพื ่ อ ความบั น เทิ ง (Recreation)
บทบาทของสารสนเทศใน
     ด้านต่าง ๆ
  • บทบาทของสารสนเทศต่ อ การ
    พั ฒ นาประเทศ
  • บทบาทของสารสนเทศด้ า นการค้ า
  • บทบาทของสารสนเทศทางด้ า นการ
    ศึ ก ษา
  • บทบาทของสารสนเทศด้ า น
    การเมื อ งการปกครอง
  • บทบาทของสารสนเทศด้ า น
    อุ ต สาหกรรม
แหล่งสารสนเทศหรือแหล่ง
        ค้นคว้า
  • การจำาแนกลักษณะของแหล่งสารสนเทศ
    ตามประเภทของที่มา
  • การจำาแนกลักษณะของแหล่งสารสนเทศ
    ตามลักษณะการใช้
แหล่งสารสนเทศที่สำาคัญ

      • ห้ อ งสมุ ด
      • ศู น ย์ เ อกสารหรื อ ศู น ย์
        ข้ อ มู ล
      • แหล่ ง สารสนเทศอื ่ น ๆ
ประเภททรัพยากร
   สารสนเทศ
  1. วั ส ดุ ต ี พ ิ ม พ์ (Printed
    Materials)
  2. วั ส ดุ ไ ม่ ต ี พ ิ ม พ์ (Non
    Printed Materials)
การเลือกใช้และการระวังรักษา
        ทรัพยากรสารสนเทศ
•    รั ก ษาทรั พ ยากรสารสนเทศให้ อ ยู ่ ใ น
     สภาพเดิ ม ที ่ ส ามารถใช้ ง านได้
•    ไม่ ฉ ี ก ตั ด หรื อ ทำ า ลายทรั พ ยากร
     สารสนเทศ เพราะจะทำ า ให้ ผ ู ้ ม าใช้
     ที ห ลั ง ไม่ ส ามารถใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้
•    ยื ม และคื น ตามกำ า หนดทรั พ ยากร
     สารสนเทศเพื ่ อ ให้ ผ ู ้ อ ื ่ น ได้ ใ ช้
     ประโยชน์
บทที่   3

การใช้สารสนเทศและ
   หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง
• หนั ง สื อ อ้ า งอิ ง (Reference Books)
  คื อ หนั ง สื อ ที ่ ร วมข้ อ เท็ จ จริ ง ซึ ่ ง
  รวบรวมมาจากแหล่ ง ต่ า ง ๆ นำ า มา
  เรี ย บเรี ย งเข้ า ด้ ว ยกั น เพื ่ อ ใช้ ไ ด้
  อย่ า งรวดเร็ ว เป็ น หนั ง สื อ ที ่ ผ ู ้ ใ ช้ จ ะ
  อ่ า นเฉพาะตอนที ่ ต ้ อ งการ ไม่
  จำ า เป็ น ต้ อ งอ่ า นทั ้ ง เล่ ม หนั ง สื อ
  อ้ า งอิ ง จะจั ด เรี ย งลำ า ดั บ อั ก ษร หรื อ
  ตามลำ า ดั บ ปี        หรื อ มิ ฉ ะนั ้ น จะมี
ลักษณะทั่วไปของหนังสือ
       อ้างอิง
•   เป็ น หนั ง สื อ ที ่ ม ุ ่ ง ให้ ข ้ อ เท็ จ จริ ง และความรู ้ เ ป็ น
    สำ า คั ญ
•   รวบรวมความรู ้ ใ นสาขาวิ ช าต่ า ง ๆ มี ข อบเขต
    กว้ า งขวางเพื ่ อ ใช้ ต อบปั ญ หาทั ่ ว ๆ ไป
•   เขี ย นโดยผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ ห ลาย ๆ ท่ า นในสาขา
    วิ ช านั ้ น ๆ โดยเฉพาะ
•   จั ด เรี ย บเรี ย งเนื ้ อ เรื ่ อ งไว้ อ ย่ า งมี ร ะเบี ย บ เพื ่ อ
    ให้ ใ ช้ ไ ด้ ส ะดวกและรวดเร็ ว
•   มั ก มี ข นาดแตกต่ า งจากหนั ง สื อ ธรรมดา เช่ น มี
    ขนาดใหญ่ ก ว่ า มี ค วามยาว อาจพิ ม พ์ เ ป็ น ชุ ด
    ๆ ละหลาย ๆ เล่ ม
•   ไม่ จ ำ า เป็ น ต้ อ งอ่ า นตลอดทั ้ ง เล่ ม ต้ อ งการทราบ
ลักษณะของหนังสืออ้างอิง
        ที่ดี
     •   ผู ้ แ ต่ ง หรื อ ผู ้ ร วบรวม
     •   ขอบเขตของหนั ง สื อ
     •   วิ ธ ี เ ขี ย น
     •   การเรี ย งลำ า ดั บ
     •   รู ป เล่ ม
     •   บรรณานุ ก รม
     •   ลั ก ษณะพิ เ ศษอื ่ น ๆ
การใช้เครื่องมือช่วยค้นอย่าง
      รวดเร็วในหนังสืออ้างอิง
•   อั ก ษรนำ า เล่ ม
•   ดรรชนี ร ิ ม หน้ า กระดาษหรื อ ดรรชนี ล ั ก ษณะ
    เป็ น ครึ ่ ง วงกลมที ่ ร ิ ม หน้ า กระดาษ
•   คำ า นำ า ทาง
•   ส่ ว นโยง
•   ภาคผนวก
•   ดรรชนี
•   ดรรชนี ร วม
•   สารบั ญ
ประเภทของหนังสืออ้างอิง

   •   หนั ง สื อ อ้ า งอิ ง ที ่ ใ ห้ ส ารสนเทศ
       ได้ โ ดยตรง
   •   หนั ง สื อ อ้ า งอิ ง ชี ้ แ หล่ ง ข้ อ มู ล
บทที่ 4

  การสืบค้นข้อมูล
สารสนเทศห้องสมุด
ความหมายของการจัดหมู่
      หนังสือ
• การจัดหมู่หนังสือ หมายถึง การจัด
  หนังสือที่มเนื้อเรื่อง หรือแบบการ
             ี
  ประพันธ์อย่างเดียวกันไว้ดวยกัน และ
                               ้
  ใช้สัญลักษณ์แทนประเภทของ
  หนังสือเหล่านั้น เมือห้องสมุดทำาการ
                        ่
  จัดหมูหนังสือแล้วจะเขียนสัญลักษณ์
        ่
  แทนประเภทของหนังสือไว้ที่สน    ั
  หนังสือ สัญลักษณ์ ก็คอเลขหมู่
                           ื
  หนังสือ หนังสือทีอยู่ในสาขาวิชา
                      ่
ประโยชน์ของการจัดหมู่
      หนังสือ
1. ผู้ใช้หองสมุดหรือสื่อสารสนเทศและเจ้าหน้าที่
           ้
   ห้องสมุด สามารถค้นหาข้อมูลจากสารสนเทศที่
   ต้องการได้ง่ายและประหยัดเวลา
2. หนังสือและสื่อที่มเนือหาวิชาอย่างเดียวกันหรือ
                         ี ้
   คล้ายคลึงกันจะรวมอยู่ในหมวดหมูเดียวกัน ช่วย
                                        ่
   ให้ผู้ใช้หองสมุดมีโอกาสเลือกหนังสือและสื่อที่มี
             ้
   เนือเรืองตามต้องการได้จากหนังสือหลาย ๆ เล่ม
       ้ ่
   และจากสื่ออืน ๆ ได้อย่างรวดเร็ว
                   ่
3. หนังสือที่มเนื้อเรืองเกี่ยวเนืองกัน หรือสัมพันธ์กน
                 ี     ่         ่                  ั
   จะอยู่ใกล้ ๆ กัน ซึ่งจะช่วยให้ ผู้อ่านสามารถหา
   หนังสือที่มเรื่องราวเหมือนกันมาประกอบเนื้อหา
               ี
   ให้สมบูรณ์ยิ่งขึน ้
4. ช่วยให้ทราบว่ามีจำานวนหนังสือในแต่ละหมวด
   มากน้อยเท่าใด
5. เมื่อได้หนังสือใหม่หรือสื่อสารสนเทศใหม่เข้ามา
ลักษณะของระบบจัดหมู่
     หนังสือที่ดี
1. การจัดหมูหนังสือโดยการให้เลขหมู่
              ่
  หนังสืออย่างกว้าง ๆ (Broad
  Classification) หมายถึง การจัดหมู่
  หนังสือโดยเลือกใช้เฉพาะหมวดและหมู่
  ใหญ่เท่านั้น รายละเอียดในหมู่ย่อยไม่นำา
  มาใช้
2. การจัดหมูหนังสืออย่างละเอียด (Close
                ่
  Classification) หมายถึง การจัดหมู่
  หนังสือโดยให้เลขหมู่อย่างละเอียดและ
ระบบทศนิยมดิวอี้
• การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้
  (Dewey Decimal Classification)
  เรียกย่อ ๆ ว่า “ระบบการจัดหมู่หนังสือดิ
  วอี้” หรือระบบ D.D.C. หรือ D.C. เป็น
  ระบบที่ใช้ ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์แทน
  ประเภทหนังสือ เป็นระบบการจัดหมู่
  หนังสือที่ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey)
  บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เป็นผู้คิดขึนใน
                                      ้
  ปี ค.ศ. 1873 และเป็นระบบที่ได้รับความ
ระบบหอสมุดรัฐสภา
         อเมริกัน
• ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of
  Congress Classification) เป็นระบบการ
  จัดหมู่หนังสือโดยใช้ตัวอักษรผสมกับ
  ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ ดรงเฮอร์เบอร์ด พุ
  ทนัม บรรณารักษ์หอสมุดรัฐสภาเป็นผู้
  คิดค้นขึนในปี ค.ศ. 1899 นิยมใช้ในห้อง
          ้
  สมุดมหาวิทยาลัยและห้องสมุดเฉพาะ
  โดยใช้อักษร A-Z หรือ ก-ฮ แทนเนื้อหา
  หนังสือ ซึ่งแบ่งออกเป็น 20 หมวดใหญ่
การจัดหมู่โสตทัศนวัสดุ
• การจัดหมู่วสดุไม่ตพิมพ์ ใช้เลขทะเบียนอักษรย่อ
              ั     ี
  แทนวัสดุแต่ละประเภท ดังนี้
•      MA        ย่อมาจาก         Map
  (แผนที) ่
•      S    ย่อมาจาก        Slide      (ภาพ
  นิง)
    ่
•      FS ย่อมาจาก          Filmstrips (ภาพ
  เลื่อน)
•      F    ย่อมาจาก        Film
  (ภาพยนตร์)
•      MIC       ย่อมาจาก         Microfilm
การจัดหมู่หนังสือด้วย
     สัญลักษณ์
• หนังสือบางประเภทผู้อ่านให้ความสนใจใน
  ด้านการใช้ภาษา ตลอดจนวิธการดำาเนิน
                              ี
  เรื่องมากกว่าสาระทางวิชาการ ห้องสมุด
  จึงใช้อักษรย่อของคำาที่บอกประเภท
  หนังสือนั้น ๆ แทนการให้เลขหมู่หนังสือ
  แต่ละเล่ม ซึ่งห้องสมุดแต่ละแห่งอาจจะ
  ใช้ตัวอักษรย่อแตกต่างกันสำาหรับหนังสือ
  ประเภทเดียวกัน เช่น
• น,นว แทน นวนิยาย
• F,FIC แทน Fiction
• ร.ส. แทน รวมเรื่องสั้น
การใช้เลขเรียกหนังสือ (Call
        Number)
• เลขเรียกหนังสือ คือ สัญลักษณ์ที่ห้องสมุด
  กำาหนดขึ้นใช้แทนเนื้อหาหนังสือแต่ละเล่ม
  เพือบอกที่อยู่ของหนังสือ จะปรากฏที่สัน
     ่
  หนังสือเป็นสำาคัญ เลขเรียกหนังสือประกอบ
  ด้วย เลขหมู่หนังสืออักษรตัวแรก ของชือผู้
                                        ่
  แต่งสำาหรับหนังสือภาษาไทย และอักษรตัว
  แรกของชือสกุลสำาหรับผู้แต่งในภาษาต่าง
            ่
  ประเทศ เลขผู้แต่ง และอักษรตัวแรกของชือ   ่
  หนังสือ นอกจากนีอาจปรากฏ อักษร ฉ.1, ฉ.
                    ้
  2... หรือ C.1, C.2 ... ถ้าหนังสือนันมีหลาย
                                     ้
การใช้อักษรประกอบเลข
         หมู่
• อักษรประกอบเลขหมูจะใช้เติมเหนือ
                        ่
  เลขหมู่ หรือเลขเรียกหนังสือเพื่อ
  บอกให้ทราบประเภทของหนังสือ เช่น
  หนังสืออ้างอิง หนังสือแบบเรียน
  เป็นต้น อักษรที่ใช้ประกอบเลขหมู่มี
  ดังนี้ คือ
• หนังสืออ้างอิง ใช้ อ สำาหรับหนังสือ
  ไทย
เลขเรียกหนังสือ
 1. เลขหมู่หนังสือ (Class
  Number)
 2. เลขผูแต่ง (Author
         ้
  Number)
 3. อักษรชื่อเรื่อง (Work
  Mark)
การเรียงหนังสือบนชั้น
1. เรียงหนังสือทุกเล่มตามเลขเรียกหนังสือ
2. เรียงหนังสือจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง
3. การเรียง ถ้าเป็นการจัดหมู่หนังสือระบบ
  ทศนิยมแบบดิวอี้ ต้องเรียงจากน้อยไปหามาก
4. ส่วนการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภา
  อเมริกัน จะเรียงตามลำาดับอักษร A-Z ถ้า
  อักษรตัวแรกซำ้ากัน เรียงตามลำาดับอักษรตัวที่
  2 ถ้าอักษรสองตัวแรกซำ้ากันเรียงตามเลขที่อยู่
  ถัดมาจากเลขน้อยไปหาเลขมาก
การจัดเรียงและการให้บริการ
        หนังสือพิมพ์ วารสาร
• ห้องสมุดจะทำา หนังสือพิมพ์ ใส่ไม้หนีบและวางไว้บน
  ที่วางหนังสือพิมพ์โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์แต่ละฉบับจะ
  บริการให้อ่าน 2 วัน จากนั้นจะเก็บไว้ตางหาก ถ้าผูอ่าน
                                            ่         ้
  ต้องการจะค้นหาข้อมูลย้อนหลังก็สามารถยืมพิเศษจาก
  เจ้าหน้าที่ได้
•      วารสาร ห้องสมุดจะมีชั้นเรียงสำาหรับวางวารสาร
  โดยเฉพาะ การจัดวางวารสารเข้าชันจะจัดตามลำาดับตัว
                                        ้
  อักษรชือวารสารจากซ้ายไปขวา เช่นเดียวกับการจัด
          ่
  หนังสือวารสารเล่มปัจจุบันจะวางอยูบนชันเอียง ส่วน
                                          ่   ้
  ฉบับล่วงเวลา 1 ฉบับแล้ว อยู่บนชันตรง ซึงอยู่ใต้
                                      ้         ่
  วารสาร นั้น ๆ ส่วนบนชันวารสารจะมีป้ายกำากับชื่อ
                           ้
  วารสารไว้ให้สังเกตง่ายอีกด้วย
•      ส่วนฉบับที่ล่วงมาแล้ว เมื่อเกิน 2 อาทิตย์ จะนำาไป
  เก็บไว้ที่เก็บวารสาร ซึงแยกตามฉบับที่ ปีที่ บางเล่มก็
                         ่
การจัดเรียงและการให้บริการ
      หนังสืออ้างอิง
• การจัดเรียงและการให้บริการหนังสืออ้างอิง
• หนังสืออ้างอิงหรือหนังสืออุเทศ ห้องสมุดจะ
  จัดแยกไว้ต่างหากจากหนังสือทั่วไป อาจแยก
  ชันหรือแยกห้องไว้โดยเฉพาะ เพราะเป็น
    ้
  หนังสือที่ไม่ให้ยืมออกจากห้องสมุด จะสังเกต
  ง่ายเพราะจะมีอักษรย่อ “อ” หรือ “R” หรือ
  “Ref” ที่สันหนังสือ การเรียงหนังสืออ้างอิง ก็
  จัดเรียงลำาดับเช่นเดียวกันกับหนังสือทั่วไป
การจัดเก็บและการให้
        บริการจุลสาร
•   ลงทะเบียนเฉพาะจุลสารที่ได้รบแจก หรือแลกเปลี่ยน
                                      ั
    จำานวนทั้งหมดกี่เล่ม
•   ใช้ตราห้องสมุดประทับลงบนหน้าปก หน้าชื่อเรื่อง และ
    หน้าอื่น ๆ ซึ่งทางห้องสมุดกำาหนดเช่นดียวกับหนังสือ
•   ระบุหัวเรื่องโดยพิจารณาจากเนื้อเรื่องของจุลสารเช่น
    เดียวกับการให้หัวเรื่องหนังสือเขียนไว้ส่วนตั้ง ส่วนยื่น
    ของแฟ้มหรือหัวแฟ้ม
•   จัดเก็บไว้ในแฟ้มตามหัวเรื่อง แล้วจัดเรียงตามลำาดับตาม
    อักษรของหัวเรืองไว้ในตู้เก็บจุลสาร
                     ่
•   จัดทำาบัตรรายการ เพื่อให้ผู้ใช้บริการห้องสมุดค้นหาเรื่อง
    ที่ต้องการได้โดยสะดวก
•   เมือต้องการจะค้นคว้าเรื่องใดก็ไปเปิดดูที่ตู้บัตรรายการ
       ่
    บัตรหัวเรื่อง ถ้ามีเรื่องที่ต้องการจะบอกให้ดูเพิ่มเติมที่
    จุลสาร ผู้ใช้ก็ไปเปิดตู้จลสารตามลำาดับอักษร เมื่อพบแฟ้ม
                              ุ
    หัวเรื่อง นั้นให้ยกออกมาทั้งแฟ้มเปิดดูตามต้องการ เสร็จ
การจัดทำากฤตภาค
• สิงพิมพ์ที่เอามาตัดทำากฤตภาค คือ
    ่
  หนังสือพิมพ์ฉบับที่ล่วงไปแล้วอย่างน้อย 7 วัน
  วารสารหรือนิตยาสารเก่า ๆ ที่ชำารุดแล้ว หรือ
  นิตยสารที่ไม่มีคุณค่าควรเย็บเล่ม แต่บางเรื่อง
  ดีมีคณค่าหาจากที่อื่นไม่ได้ หรือสิงพิมพ์อื่น ๆ
       ุ                            ่
  ที่สามารถตัดทำาเป็นกฤตภาคได้ คุณค่าของ ก
  ฤตภาคอยู่ที่ผู้จัดทำามีวิจารณญาณในการคัด
  เลือกข่าวต่าง ๆ
บทที่ 5

  เครื่องมือและวิธีการใช้
         เครืองมือ
             ่
ในการค้นข้อมูลสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศ
• การสื บ ค้ น สารสนเทศ
  (Information Retrieval) หมายถึง
  วิธการเข้าถึงสารสนเทศ (Information
     ี
   Access) เพือให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่
                ่
  ตรงกับความต้องการ โดยใช้เครื่องมือ
  ช่วยค้นที่แหล่งสารสนเทศจัดทำาขึ้น
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
      ด้วยระบบมือ
   ก. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศด้วยบัตร
   ข. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศด้วย
     หนังสือ
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
     ด้วยเทคโนโลยี
   • การสื บ ค้ น สารสนเทศใน
     สั ง คมสารสนเทศ
   • วิ ธ ี ก ารสื บ ค้ น
วิธีการสืบค้นข้อมูลด้วย
  เทคโนโลยีสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
การสืบค้นข้อมูลด้วยแผ่น CD-ROM
การสืบค้นข้อมูลด้วยการชมโทรทัศน์จากจานรับส
การสืบค้นข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ต
บทที่ 6

การสืบค้นข้อมูลจาก
   อินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของ
  อินเทอร์เน็ต
• อินเทอร์เน็ตเริ่มต้นขึ้นในปี 1969
• ในปี 1983 การทำางานบนระบบเน็ต
  เวอร์ก
ระบบการทำางานของ
      อินเทอร์เน็ต
• ระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต จะทำ า งานส่ ง และรั บ ข้ อ มู ล
  จากคอมพิ ว เตอร์ เ ครื ่ อ งอื ่ น ๆ ในลั ก ษณะชิ ้ น
  ส่ ว นขนาดเล็ ก หลาย ๆ กลุ ่ ม เรี ย กว่ า แพ็ ก
  เกจ (Packets) แต่ ล ะแพ็ ก เกจจะมี ท ี ่ อ ยู ่ ข องผู ้
  ส่ ง และผู ้ ร ั บ ขนาดสู ง สุ ด ของแพ็ ก เกจจะ
  เปลี ่ ย นไปตามเครื อ ข่ า ย แต่ โ ดยปกติ จ ะ
  อนุ ญ าตให้ ม ี ข นาดระหว่ า ง 200 - 2,000
  Octets (1 Octet บน Internet คื อ 1 Bite
  หรื อ 1 ตั ว อั ก ษร) ขนาดทั ่ ว ไป ที ่ ใ ช้ ก ั น อยู ่
  คื อ 1,536 Octets ข้ อ มู ล ใดที ่ ม ี ข นาดใหญ่
  กว่ า 1 แพ็ ก เกจ จะต้ อ งแยกส่ ง ไปเป็ น หลาย
  แพ็ ก เกจ ข้ อ มู ล จะถู ก ส่ ง ไปหลายเส้ น ทางผ่ า น
วิธีการเข้าสู่ระบบ
           อินเทอร์เน็ต
• วิ ธ ี ก ารพื ้ น ฐานที ่ ผ ู ้ ใ ช้ จ ะเข้ า สู ่ Internet มี 2
  ทาง คื อ การเข้ า สู ่ Internet โดยตรง
  (Direct Access) และการเข้ า สู ่ Internet
  โดยผ่ า นอุ ป กรณ์ แ ปลงสั ญ ญาณต่ อ เชื ่ อ ม
  ระหว่ า งสายโทรศั พ ท์ ก ั บ เครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์
  ของผู ้ ใ ช้ ท ี ่ เ รี ย กว่ า โมเด็ ม (Modem)
• การเข้ า สู ่ Internet โดยตรง ผู ้ ใ ช้ จ ะเข้ า ได้
  เร็ ว กว่ า วิ ธ ี ก ารใช้ โ มเด็ ม และการเข้ า ถึ ง
  Internet ด้ ว ยวิ ธ ี น ี ้ จ ะทำ า ให้ ผ ู ้ ใ ช้ ส ามารถ
  เรี ย กดู ข ้ อ มู ล ที ่ เ ป็ น กราฟฟิ ก ซึ ่ ง มี ท ั ้ ง
  ข้ อ ความ เสี ย ง ภาพ ภาพและข้ อ ความ
  เคลื ่ อ นไหวได้ ร วดเร็ ว มาก ด้ ว ยวิ ธ ี น ี ้ ผ ู ้ ใ ช้
บริการบนอินเทอร์เน็ต
•   ไปรษณี ย ์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-Mail)
•   สนทนาแบบออนไลน์
•   “กระดานข่ า ว” หรื อ บู เ ลติ น บอร์ ด บนเครื อ
    ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต
•   Ftp (File Transfer Protocol) บริ ก ารโอนย้ า ย
    ไฟล์ ข ้ อ มู ล หรื อ ไฟล์ โ ปรแกรมต่ า ง ๆ
•   Telnet
•   Archie
•   Gopher
•   Hytelnet
•   WAIS (Wide Area Information Service)
•   บริ ก ารความสะดวกอื ่ น ๆ
การสืบค้นข้อมูลจาก
       อินเทอร์เน็ต
• WWW เป็ น การทำ า งานของเครื ่ อ ง
  คอมพิ ว เตอร์ ใ นลั ก ษณะที ่ เ ชื ่ อ มโยงกั น
  ผู ้ ท ี ่ ท ำ า ให้ Internet เป็ น ที ่ ร ู ้ จ ั ก กั น แพร่
  หลาย คื อ Dr.Tim Berners-Lee โดย
  ในปี ค.ศ.1990 ขณะที ่ เ ขา เป็ น นั ก
  ฟิ ส ิ ก ส์ อ ยู ่ ท ี ่ ห ้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ก ารอนุ ภ าค
  ฟิ ส ิ ก ส์ ณ กรุ ง เจนี ว า ประเทศ
  สวิ ส เซอร์ แ ลนด์ เขามี ค วามคิ ด ว่ า งาน
  ของเขาจะง่ า ยขึ ้ น ถ้ า เขาและเพื ่ อ นร่ ว ม
  งานสามารถเชื ่ อ มโยงเครื ่ อ ง
  คอมพิ ว เตอร์ แ ต่ ล ะเครื ่ อ งเข้ า ด้ ว ยกั น
การเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต
           เวิลด์ไวด์เว็บ

 • เชื่อมต่อกับโฮสต์ โดยใช้มาตรฐาน
   TCP/IP หรือเชื่อมต่อกับ ISP ด้วย
   โปรโตคอล PPP (Point-to-Point
   Protocol)
 • สมัครเข้าเป็นสมาชิก ISP หรือ
   สถานศึกษาของตนเองในกรณีที่เป็น
   นักศึกษา ซึงจะได้ชื่อผู้ใช้ (User
               ่
   Account) และรหัสผ่าน (Passwor
การเชื่อมต่อไปยังผูให้บริการ
                    ้
        อินเทอร์เน็ต
 • เครื ่ อ งมื อ ในการค้ น ข้ อ มู ล บน WWW.
   (Browser Programs)
 • โปรแกรม Internet Explorer
 • การใช้ เ มนู ต ่ า งๆ ในโปรแกรม
   Internet Explorer
การค้นหาข้อมูลในเวิลด์
       ไวด์เว็บ
•   Search Engine เป็นเว็บไซต์ค้นหา
    ข้อมูลที่ใช้โปรแกรมอัตโนมัติรวบรวม
    ข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ต่าง ๆ โดย
    ละเอียด เหมาะกับการหาข้อมูลแบบ
    เฉพาะเจาะจง Search Engine ที่ได้รับ
    ความนิยม คือ Google, Catcha และ
    Sanook
•   Search Directories เป็นเว็บไซต์ค้นหา
    ข้อมูลโดยจัดเป็นหมวดหมู่ทเหมาะสม
                                 ี่
    แต่ปริมาณข้อมูลอาจไม่ครอบคลุมทุก
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์
  (Electronic Mail)
     • อีเมล์
     • ตู ้ จ ดหมาย
     • อีเมล์ แอ็ดเดรส
หน้าที่และรูปแบบของโปรแกรม
          รับ-ส่งอีเมล์

    • วิธการใช้โปรแกรมรับ-ส่งอีเมล์
         ี
    • การค้ น ข้ อ มู ล ในระบบ
      Internet
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ
         บน WWW
1. การตั ้ ง หรื อ กำ า หนดคำ า ถามและขอบเขตของ
    คำ า ถามนั ้ น
2. การจำ า แนกแนวคิ ด ในคำ า ถามนั ้ น ๆ
3. การกำ า หนดคำ า ค้ น หรื อ การแปลคำ า ถามที ่ ต ้ อ งการ
    สื บ ค้ น ออกมาเป็ น คำ า ค้ น ให้ ถ ู ก ต้ อ ง
4. การเชื ่ อ มคำ า
5. การเลื อ กใช้
6. ทำ า การสื บ ค้ น และประเมิ น ผลข้ อ มู ล ที ่ ไ ด้ ร ั บ ปกติ
    ผลจะให้ แ ตกต่ า งกั น ไป แต่ ค วร
ตรวจสอบไม่ เ กิ น 50 อั น ดั บ แรกที ่ ส ่ ง มาให้ อาจ
แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นด้วยระบบ
         โอแพค (OPAC)

1. การสื บ ค้ น ทรั พ ยากรสารสนเทศของ
  ห้ อ งสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์
2. การสื บ ค้ น ทรั พ ยากรสารสนเทศ ของ
  สถาบั น วิ ท ยบริ ก ารจุ ฬ าลงกรณ์
  มหาวิ ท ยาลั ย ด้ ว ย Web OPAC
3. ระบบสื บ ค้ น สารสนเทศของสำ า นั ก หอ
  สมุ ด กลางมหาวิ ท ยาลั ย
  ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒประสานมิ ต ร
บทที่ 7

การเลือกใช้และรวบรวม
  ข้อมูลสารสนเทศ
พัฒนาการของสารสนเทศ

   • คลื ่ น ยุ ค ที ่ 1 ยุ ค ปฏิ ว ั ต ิ ท าง
     เกษตรกรรม
   • คลื ่ น ยุ ค ที ่ 2 ยุ ค ปฏิ ว ั ต ิ ท าง
     อุ ต สาหกรรม
   • คลื ่ น ยุ ค ที ่ 3 ยุ ค เทคโนโลยี ร ะดั บ
     สู ง
พัฒนาการของงาน
             สารสนเทศ
• จากพั ฒ นาการในการใช้ ส ื ่ อ สารสนเทศประเภท
 สิ ่ ง พิ ม พ์ ที ่ ท ำ า ให้ ป ริ ม าณของสิ ่ ง พิ ม พ์ มี
 จำ า นวนมาก จึ ง ทำ า ให้ เ กิ ด สถาบั น ส่ ง เสริ ม การ
 ศึ ก ษาค้ น คว้ า ซึ ่ ง เป็ น จุ ด กำ า เนิ ด ของวิ ช า
  สารนิ เ ทศศาสตร์ (Information Science) ใน
 ปี ค.ศ. 1895 พอล ออทเล็ ท (Paul Otlet) และ
       เฮ็ น รี ลา ฟองเทน (Henri La Fontain) ได้
 ก่ อ ตั ้ ง สถาบั น บรรณานุ ก รมระหว่ า งประเทศ
 (Institute International de Bibliographie)
 ในกรุ ง บรั ส เซล ประเทศเบลเยี ่ ย ม ซึ ่ ง เป็ น
 สถาบั น ที ่ ผ ลิ ต สิ ่ ง พิ ม พ์ “ บรรณานุ ก รมสำ า หรั บ
 ค้ น สารสนเทศวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ”
 ขึ ้ น มาเป็ น เล่ ม แรกในปี ค.ศ. 1904 นั บ ว่ า เป็ น
การจัดการกับสารสนเทศ
      มากเกินไป
• ปั จ จุ บ ั น ผู ้ บ ริ ห ารต่ า งยอมรั บ ว่ า          สารสนเทศ                    เป็ น
  ทรั พ ยากรที ่ ส ำ า คั ญ อย่ า งหนึ ่ ง ที ่ ม ี ต ่ อ    การบริ ห ารจั ด การ
  ของหน่ ว ยงาน จนกลายเป็ น “ ทรั พ ยากรสำ า คั ญ อั น ดั บ สี ่
  ขององค์ ก ร ” ต่ อ จาก Man, Machine และ Money ผู ้
  บริ ห ารจะต้ อ งคอยฟั ง ข่ า วสารอยู ่ ต ลอดเวลา                          เพื ่ อ สแกน
  ข่ า วหาเรื ่ อ งที ่ น ่ า สนใจจากหนั ง สื อ พิ ม พ์             รั บ ฟั ง ข่ า วทาง
  วิ ท ยุ อ่ า นรายงานที ่ ม ี ผ ู ้ จ ั ด เตรี ย มเสนอให้ ต ั ด สิ น ใจ รวม
  ทั ้ ง พบปะกั บ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง อื ่ น         ๆ          เพื ่ อ ให้ ข ้ อ มู ล
  ข่ า วสาร               การเปิ ด คอมพิ ว เตอร์ ด ู จ ดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์
  ถ้ า ผู ้ บ ริ ห ารเหล่ า นี ้ ไ ม่ ไ ด้ ร ั บ สารสนเทศที ่ จ ำ า เป็ น อย่ า งพอ
  เพี ย งแล้ ว            จะไม่ ส ามารถบริ ห ารจั ด การหน่ ว ยงานของตน
  ให้ ด ำ า เนิ น ไปได้ อ ย่ า งราบรื ่ น แต่ ป ั จ จุ บ ั น ผู ้ บ ริ ห ารเหล่ า
  นี ้                 กลั บ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ สถานการณ์ ต รงข้ า มจากการ
  ไม่ ม ี ส ารสนเทศที ่ จ ะตั ด สิ น ใจ คื อ เขากำ า ลั ง ประสบปั ญ หา
  เรื ่ อ งการรั บ สารสนเทศมากเกิ น ไป                               (Information
  Overload) เกิ น ความจำ า เป็ น เขาได้ ร ั บ ข่ า วสารที ่ ไ ม่ เ ป็ น
สภาพกระแสสารสนเทศ
     ท่วมท้น
  •   ปั ญ หาในการคั ด เลื อ ก
  •   ปั ญ หาในการจั ด หาวั ส ดุ
      สารสนเทศ
  •   ปั ญ หาเรื ่ อ งสถานที ่ เ ก็ บ
  •   ปั ญ หาทางการจั ด หมวดหมู ่ แ ละ
      การจั ด ทำ า รายการ
  •   ปั ญ หาทางด้ า นบริ ก าร
  •   ปั ญ หาทางด้ า นอนุ ร ั ก ษ์ ว ั ส ดุ
      สารสนเทศ
  •
อิทธิพลของคอมพิวเตอร์และ
     เทคโนโลยีโทรคมนาคม
• คอมพิ ว เตอร์ ไ ด้ เ ข้ า มาช่ ว ยลดการ
  ทำ า งานด้ า นเทคนิ ค การค้ น หาข้ อ มู ล ที ่
  ซั บ ซ้ อ น
• ด้ า นบุ ค ลากร
• การสร้ า งข่ า ยงานระหว่ า งห้ อ งสมุ ด
• โครงสร้ า งองค์ ก ารและการบริ ห ารงาน
  ห้ อ งสมุ ด
• ด้ า นบริ ก ารสารสนเทศห้ อ งสมุ ด
• การสร้ า งกระบวนวิ ช าที ่ เ บี ่ ย งเบนจาก
  บรรณารั ก ษศาสตร์ แ บบเดิ ม
อิทธิพลของเทคโนโลยีโทรคมนาคม
       ต่องานสารสนเทศ

       • การจั ด หาและรวบรวมวั ส ดุ
         สารสนเทศ
       • การกระจายสารสนเทศ
       • การบริ ห ารหน่ ว ยงาน
แนวทางใหม่ในการจัดการกับ
       สารสนเทศ
 • กระบวนการพื ้ น ฐานในการจั ด การ
   กั บ สารสนเทศ
 • แนวทางใหม่ ส ำ า หรั บ จั ด การกั บ
   สารสนเทศท่ ว มท้ น
การเลือกใช้สอสารสนเทศหรือวัสดุทให้
            ื่                 ี่
         บริการในห้องสมุด
          1. สื ่ อ สารสนเทศลายลั ก ษณ์ อ ั ก ษร
          2. สารสนเทศไม่ ต ี พ ิ ม พ์
          3. วั ส ดุ แ ผนที ่
          4. สไลด์
          5. ฟิ ล ์ ม สตริ ป
          6. ภาพยนตร์
          7. วั ส ดุ บ ั น ทึ ก เสี ย งและภาพ
          8. ชุ ด การสอน
          9. ตู ้ อ ั น ตรทั ศ น์
          10.แผ่ น โปร่ ง ใส
          11.หุ ่ น จำ า ลอง
          12.ของตั ว อย่ า ง
          13.สารสนเทศย่ อ ส่ ว น
สารสนเทศโทรคมนาคม
     1. โทรเลข
     2. วิ ท ยุ
     3. โทรพิ ม พ์
     4. โทรศั พ ท์
     5. โทรทั ศ น์
     6. โทรสารหรื อ โทรภาพ
     7. โทรประชุ ม
สารสนเทศของจริง
   •   วั ต ถุ (Object)
   •   ของตั ว อย่ า ง (Specimens)
   •   ซากสิ ่ ง ต่ า ง ๆ (Remains)
   •   สิ ่ ง ที ่ ป รากฏชั ด
       (Evidences)
   •   งานศิ ล ปะ (Artefacts)
   •   บุ ค คล (People)
ฐานข้อมูล CD-ROM
1. ฐานข้ อ มู ล ERIC
2. ฐานข้ อ มู ล DAO
3. ฐานข้ อ มู ล Library Literature
 a Info Science Fulltext
4. ฐานข้ อ มู ล ABI/INFORM
บทที่ 8

การศึกษาค้นคว้าและการ
    เขียนรายงาน
ความหมายของรายงานและ
    การค้นคว้าวิจัย
• รายงาน (Report) คือ ผลสรุปของการ
  ค้นคว้าหาข้อมูลสารสนเทศ แล้วทำาการ
  รวบรวม สรุปผลออกมาเพื่อนำาเสนอให้ผที่   ู้
  เกี่ยวข้อได้รับทราบ ด้วยการทำาเป็นเอกสารที่
  ง่ายต่อความเข้าใจ รายงานส่วนใหญ่มักนำา
  มาใช้ในทางวิชาการและในทางธุรกิจ
• การค้นคว้าวิจัย หมายถึง การค้นหาข้อเท็จ
  จริงอย่างจริงจัง รอบคอบ และมีระบบ เพื่อที่
  จะได้ข้อมูลอย่างสมจริงในเรื่องนั้นๆ และนำา
  มาวิเคราะห์เพื่อให้เกิดความรู้อย่างสมบูรณ์
วัตถุประสงค์และลักษณะของ
         รายงาน
•   เพื ่ อ ฝึ ก ให้ น ั ก ศึ ก ษามี โ อกาสและสามารถ
    ศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง ซึ ่ ง จะช่ ว ยให้ เ ห็ น แนวทาง
    ในการศึ ก ษาวิ ช าการหนึ ่ ง ๆ ได้ ห ลาย
    แนวทาง
•   เพื ่ อ ให้ น ั ก ศึ ก ษาได้ ศ ึ ก ษาอย่ า งกว้ า งขวาง
    และลึ ก ซึ ้ ง ยิ ่ ง ขึ ้ น โดยการศึ ก ษาจากตำ า รา
    หลาย ๆ เล่ ม และจากแหล่ ง สารสนเทศต่ า ง
    ๆ
•   เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ น ั ก ศึ ก ษารู ้ จ ั ก คิ ด อย่ า งมี
    ระบบ มี เ หตุ ผ ล รู ้ จ ั ก วางแผน และประเมิ น
    ผลที ่ ไ ด้ จ ากข้ อ มู ล ที ่ ค ้ น คว้ า
•   เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ น ั ก ศึ ก ษาเกิ ด ความสามารถ
    ในการใช้ ภ าษา รวบรวม และเรี ย บเรี ย ง
    ความรู ้ ค วามคิ ด อย่ า งเป็ น ระบบ
•   เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ น ั ก ศึ ก ษามี ค วามสามั ค คี ใ น
ลักษณะของรายงานที่ดี
1. ระลึ ก ถึ ง ผู ้ อ ่ า นเป็ น หลั ก โดยรายงานในสิ ่ ง ที ่
      ผู ้ ร ั บ รายงานต้ อ งการหรื อ ควรทราบ
2. ควรเขี ย นตรงเป้ า หมายหรื อ หั ว เรื ่ อ งข้ อ เรื ่ อ ง
3. มี เ นื ้ อ หาสาระดี น่ า สนใจ ไม่ ก ล่ า วสิ ่ ง ที ่ เ กิ น
      ความจริ ง
4. ข้ อ ความกะทั ด รั ด ไม่ ก ำ า กวม
5. รายละเอี ย ดสำ า คั ญ แจ่ ม แจ้ ง
6. มี ล ั ก ษณะจู ง ใจให้ ต ิ ด ตามอ่ า น
7. ประหยั ด เวลาผู ้ อ ่ า น โดยใช้ ภ าษาที ่ เ ข้ า ใจ
      ง่ า ย ตรงไปตรงมา
วัตถุประสงค์และประโยชน์ของ
       การค้นคว้าวิจัย
•   เพื ่ อ ให้ เ กิ ด ความรู ้ ใ หม่ ๆ หรื อ เกิ ด
    ความเข้ า ใจอย่ า งสมบู ร ณ์ ใ นเรื ่ อ งนั ้ น
    ๆ
•   เพื ่ อ ให้ ม ี พ ั ฒ นาการทางวิ ช าการใน
    ด้ า นนั ้ น ๆ
•   เพื ่ อ นำ า ผลการวิ จ ั ย มาใช้ แ ก้ ป ั ญ หา
    หรื อ ปรั บ ปรุ ง งานนั ้ น ๆ
•   เพื ่ อ ใช้ ผ ลการวิ จ ั ย เป็ น แนวทางในการ
    วางแผนงานที ่ ร ิ เ ริ ่ ม ขึ ้ น ใหม่ หรื อ
ประเภทของรายงานทาง
      วิชาการ

   • รายงานการค้ น คว้ า
   • ภาคนิ พ นธ์
   • รายงานการวิ จ ั ย
ประเภทของรายงานทาง
       ธุรกิจ
1. รายงานแบบธรรมดา (Routine
  Report or Regular Report) คือ
  รายงานที่ทำาตามเวลาที่กำาหนดไว้โดย
  สมำ่าเสมอ เช่น รายชั่วโมง รายวัน ราย
  สัปดาห์ รายเดือน หรือรายปี เช่น รายงาน
  การปฏิบัติงานของฝ่ายสินเชือ  ่   รายงาน
  ประจำาปีของบริษัทหรือธนาคาร เป็นต้น
2. รายงานแบบพิ เ ศษ (Special Report)
  เป็นรายงานที่จัดทำาเป็นครั้งคราวตามความ
  ต้องการและความจำาเป็น วัตถุประสงค์เพื่อ
วิธีการเสนอรายงาน

 • การเสนอรายงานโดยปากเปล่ า
 • การเสนอรายงานโดยลายลั ก ษณ์
   อั ก ษร
ขั้นตอนการเขียนรายงาน
   1. การเลื อ กหั ว เรื ่ อ งที ่ จ ะทำ า รายงาน
   2.
      รู ้ จ ั ก แหล่ ง ในการค้ น คว้ า และการรวบ
   3.
      อ่ า นข้ อ มู ล ของเนื ้ อ หารายงานที ่ จ ะเข
   4. การทำ า โครงเรื ่ อ ง
   5. การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล จากเอกสาร
      อ้ า งอิ ง
   6. การเรี ย บเรี ย งเนื ้ อ เรื ่ อ งรายงาน
รูปแบบของรายงานทาง
      วิชาการ
   1. ส่ ว นประกอบตอนต้ น หรื อ ส่ ว น
     หน้ า
   2. ส่ ว นประกอบตอนกลางหรื อ ส่ ว น
     เนื ้ อ เรื ่ อ ง
   3. ส่ ว นประกอบตอนท้ า ยหรื อ ส่ ว น
     อ้ า งอิ ง
วิธีการอ้างอิงข้อมูล

   1. การเขี ย นเชิ ง อรรถ
   2. การเขี ย นบรรณานุ ก รม
วิธีการเขียนบรรณานุกรม
    1. บรรณานุ ก รมของหนั ง สื อ
    2. บรรณานุ ก รมบทความในหนั ง สื อ ภาษาไทย
    3. บรรณานุ ก รมหนั ง สื อ พิ ม พ์
    4. บรรณานุ ก รมของสารานุ ก รม
    5. บรรณานุ ก รมบทวิ จ ารณ์ ห นั ง สื อ ในวารสาร
    6. บรรณานุ ก รมวิ ท ยานิ พ นธ์
    7. บรรณานุ ก รมของการสั ม ภาษณ์
    8. บรรณานุ ก รมของเอกสารแปล
    9. บรรณานุ ก รมจากกฎหมายที ่ ป ระกาศใน
         ราชกิ จ จานุ เ บกษา
    10. บรรณานุ ก รมจากโสตทั ศ นวั ส ดุ
    11. บรรณานุ ก รมจากรายการวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์
    12. บรรณานุ ก รมจากสื ่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์krujee
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดSupaporn Khiewwan
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate materialPloykarn Lamdual
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดPloykarn Lamdual
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือSupaporn Khiewwan
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.DocxSupaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดพัน พัน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือsutthirat
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด25462554
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดLibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดPloykarn Lamdual
 

Mais procurados (20)

เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือแบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
แบบทดสอบ เลขเรียกหนังสือ
 
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือและสิ่งพิมพ์
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุดแบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
แบบทดสอบเรื่อง ประวัติห้องสมุด
 
ประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุดประวัติห้องสมุด
ประวัติห้องสมุด
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุดบทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
บทที่ 1 เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับห้องสมุด
 
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือเฉลยเลขเรียกหนังสือ
เฉลยเลขเรียกหนังสือ
 
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docxแบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
แบบฝึกวิเคราะห์หมวดหมู่.Docx
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
ความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุดความหมายของห้องสมุด
ความหมายของห้องสมุด
 
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิงเฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
เฉลยแบบฝึกหัดหนังสืออ้างอิง
 
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
ห้องสมุดและการจัดหมวดหมู่หนังสือ
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
วิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุดวิชางานห้องสมุด
วิชางานห้องสมุด
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุดLibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
LibJu - 1.4 ระเบียบการใช้งานห้องสมุดและกิจกรรมห้องสมุด
 

Destaque

จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
E library
E libraryE library
E libraryangsuma
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58Supaporn Khiewwan
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Narinthip Wakuram
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำNan Su'p
 
Alan Showecker's TED evaluation Presentation
Alan Showecker's TED evaluation PresentationAlan Showecker's TED evaluation Presentation
Alan Showecker's TED evaluation PresentationAlanShowecker
 
I Can Convert
I Can ConvertI Can Convert
I Can ConvertSvenAas
 
מצגת לסטודנטים 2013
מצגת לסטודנטים 2013מצגת לסטודנטים 2013
מצגת לסטודנטים 2013gilnatan1
 
Super Granny, By Nikkita
Super Granny, By NikkitaSuper Granny, By Nikkita
Super Granny, By NikkitaRāwhiti School
 
Job seekers with a in spm english but can
Job seekers with a in spm english but canJob seekers with a in spm english but can
Job seekers with a in spm english but canSharon Chien
 
2012 una nueva era (2) oroginal
2012 una nueva era (2) oroginal2012 una nueva era (2) oroginal
2012 una nueva era (2) oroginalgerman029
 
Ken meter cashasta12.1
Ken meter cashasta12.1Ken meter cashasta12.1
Ken meter cashasta12.1oursmartfarms
 
Spokane biz opp presentation
Spokane biz opp presentationSpokane biz opp presentation
Spokane biz opp presentationdonyonnasmith
 

Destaque (20)

จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
E library
E libraryE library
E library
 
การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58การเขียนรายงาน58
การเขียนรายงาน58
 
ปก สารบัญ คำนำ
ปก สารบัญ คำนำปก สารบัญ คำนำ
ปก สารบัญ คำนำ
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
How to write an essay
How to write an essayHow to write an essay
How to write an essay
 
Socamp2012
Socamp2012Socamp2012
Socamp2012
 
Alan Showecker's TED evaluation Presentation
Alan Showecker's TED evaluation PresentationAlan Showecker's TED evaluation Presentation
Alan Showecker's TED evaluation Presentation
 
I Can Convert
I Can ConvertI Can Convert
I Can Convert
 
Super S
Super SSuper S
Super S
 
מצגת לסטודנטים 2013
מצגת לסטודנטים 2013מצגת לסטודנטים 2013
מצגת לסטודנטים 2013
 
Super Granny, By Nikkita
Super Granny, By NikkitaSuper Granny, By Nikkita
Super Granny, By Nikkita
 
Job seekers with a in spm english but can
Job seekers with a in spm english but canJob seekers with a in spm english but can
Job seekers with a in spm english but can
 
2012 Annual Meeting Presentation
2012 Annual Meeting Presentation2012 Annual Meeting Presentation
2012 Annual Meeting Presentation
 
2011 Annual Meeting Presentation
2011 Annual Meeting Presentation2011 Annual Meeting Presentation
2011 Annual Meeting Presentation
 
2012 una nueva era (2) oroginal
2012 una nueva era (2) oroginal2012 una nueva era (2) oroginal
2012 una nueva era (2) oroginal
 
Ken meter cashasta12.1
Ken meter cashasta12.1Ken meter cashasta12.1
Ken meter cashasta12.1
 
Spokane biz opp presentation
Spokane biz opp presentationSpokane biz opp presentation
Spokane biz opp presentation
 

Semelhante a ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ

Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecturesupimon1956
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีteerasak04
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardBoonlert Aroonpiboon
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงvru.ac.th
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยBeeby Bicky
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศsupimon1956
 

Semelhante a ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ (20)

Chapter4 lecture
Chapter4 lectureChapter4 lecture
Chapter4 lecture
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดี
 
1
11
1
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
11
1111
11
 
Digital Content and Website Standard
Digital Content and Website StandardDigital Content and Website Standard
Digital Content and Website Standard
 
Uint1
Uint1Uint1
Uint1
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Digital Library for Thailand
Digital Library for ThailandDigital Library for Thailand
Digital Library for Thailand
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศกระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
กระบวนการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการสารสนเทศ
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 

ห้องสมุดกับการเรียนรู้สารสนเทศ

  • 2. ความหมายของห้องสมุด • ห้ อ งสมุ ด คือ สถานที่รวบรวมสรรพ วิทยาการต่าง ๆ ซึ่งได้บนทึกไว้ในรูปของ ั หนังสือ วารสาร ต้นฉบับตัวเขียน สิ่งตีพิมพ์ อื่น ๆ หรือโสตทัศนวัสดุ และมีการจัดอย่างมี ระเบียบเพื่อบริการแก่ผู้ใช้ ในอันที่จะส่งเสริม การเรียนรู้และความจรรโลงใจตามความสนใจ และความต้องการของแต่ละบุคคล โดยมี บรรณารักษ์เป็นผูจัดหาและจัดเตรียมให้ ้
  • 3. ความสำาคัญของห้องสมุด • ห้ อ งสมุ ด เป็ น ที ่ ร วมวิ ท ยาการต่ า ง ๆ ที ่ ม ี ความสำ า คั ญ ต่ อ การเรี ย นการสอน • ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง สารนิ เ ทศที ่ ม ี ค วามสำ า คั ญ ต่ อ การค้ น คว้ า วิ จ ั ย การเลื อ กอ่ า นหนั ง สื อ • ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง สารนิ เ ทศที ่ เ ปิ ด โอกาสให้ ทุ ก คนเลื อ กศึ ก ษาค้ น คว้ า อย่ า งอิ ส ระ • ห้ อ งสมุ ด เป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ล ที ่ ส ่ ง เสริ ม การอ่ า น และการค้ น คว้ า ด้ ว ยตนเอง • ห้ อ งสมุ ด เป็ น สถานที ่ ส ำ า หรั บ การพั ฒ นา คุ ณ ภาพชี ว ิ ต • ห้ อ งสมุ ด เป็ น สถานที ่ ส ่ ง เสริ ม และอนุ ร ั ก ษ์ วั ฒ นธรรมอั น ดี ง าม • ห้ อ งสมุ ด จะเป็ น แหล่ ง ข้ อ มู ล ที ่ ผ ู ้ อ ่ า นสามารถ
  • 4. วัตถุประสงค์ของห้องสมุด • เพื ่ อ การศึ ก ษา • เพื ่ อ ให้ ค วามรู ้ แ ละข่ า วสาร • เพื ่ อ การค้ น คว้ า วิ จ ั ย • เพื ่ อ ให้ ค วามจรรโลงใจ • เพื ่ อ นั น ทนาการ
  • 5. องค์ประกอบของห้องสมุด 1. สิ ่ ง ตี พ ิ ม พ์ ได้ แ ก่ หนั ง สื อ วารสาร หนั ง สื อ พิ ม พ์ เอกสาร จุ ล สาร ในสาขา วิ ช าต่ า ง ๆ หนั ง สื อ ที ่ เ ป็ น ความรู ้ ท ั ่ ว ไป หนั ง สื อ ที ่ ม ี ค ุ ณ ค่ า ถาวรและหนั ง สื อ อ้ า งอิ ง 2. หนั ง สื อ ตั ว เขี ย น ได้ แ ก่ สมุ ด ข่ อ ย หนั ง สื อ ลาน และต้ น ฉบั บ ที ่ เ ขี ย นด้ ว ย ลายมื อ อื ่ น ๆ 3. โสตทั ศ นวั ส ดุ ได้ แ ก่ ภาพยนตร์ สารคดี ฟิ ล ์ ม สคริ ป สไลด์ แถบเสี ย ง
  • 6. ประเภทของห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้ • ห้ อ งสมุ ด • ศู น ย์ บ ริ ก ารสารนิ เ ทศ • สถานที ่ ท ี ่ เ ป็ น แหล่ ง การเรี ย น รู ้ ส ารนิ เ ทศ • แหล่ ง สารนิ เ ทศประเภทบุ ค คล • แหล่ ง สารนิ เ ทศประเภทเครื อ ข่ า ย
  • 7. บริการของห้องสมุด • ห้ อ งสมุ ด ที ่ ด ี จ ะปรากฏลั ก ษณะเด่ น ให้ มองเห็ น คื อ มี ว ั ส ดุ ต ่ า ง ๆ ในห้ อ ง สมุ ด ไว้ บ ริ ก ารตลอดเวลา มี บรรณารั ก ษ์ เ ป็ น ผู ้ ม ี ค วามรู ้ มี ช ั ้ น เปิ ด (Open Shelf) เป็ น ที ่ เ ก็ บ หนั ง สื อ เพื ่ อ ให้ ผ ู ้ ใ ช้ ห ้ อ งสมุ ด ได้ ค ้ น หาได้ ส ะดวก มี อ าคารสถานที ่ ถ ู ก ลั ก ษณะ อากาศ ถ่ า ยเทได้ ด ี มี แ สงสว่ า งเพี ย งพอ วั ส ดุ ต่ า ง ๆ ในห้ อ งสมุ ด จั ด ไว้ เ ป็ น ระเบี ย บ เป็ น หมวดหมู ่ มี บ ริ ก ารดี เช่ น บริ ก ารช่ ว ยค้ น คว้ า และตอบ • คำ า ถาม บริ ก ารหนั ง สื อ สำ า รอง บริ ก าร
  • 8. ภาคผนวกห้องสมุด ประชาชน • ในมิ ่ ง มงคลสมั ย ที ่ ส มเด็ จ พระเทพรั ต นราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุ ม ารี ทรงเจริ ญ พระ- ชนมายุ 36 พรรษา เมื ่ อ ปี พ ุ ท ธศั ก ราช 2534 กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร ได้ ร ั บ พระราชทาน พระราชานุ ญ าตให้ ด ำ า เนิ น โครงการจั ด ตั ้ ง ห้ อ งสมุ ด ประชาชน “เฉลิ ม ราชกุ ม ารี ” เพื ่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ แ ละเพื ่ อ สนองแนวทาง พระราชดำ า ริ ใ นการส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาสำ า หรั บ ประชาชนที ่ ไ ด้ ท รงแสดงในโอกาสต่ า ง ๆ ใน โอกาสที ่ ท รงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ ค ุ ณ เสด็ จ เป็ น องค์ ป ระธานในการประชุ ม สมั ช ชาสากลว่ า ด้ ว ยการศึ ก ษาผู ้ ใ หญ่ เมื ่ อ วั น ที ่ 12 มกราคม 2533 ได้ ท รงพระราชทานลายพระหั ต ถ์ เชิ ญ ชวนให้ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ และภาคเอกชนให้
  • 10. ความหมายของสารสนเทศ กับสารนิเทศ • สารนิ เ ทศ คื อ ความรู ้ เรื ่ อ งราว ข้ อ มู ล ข่ า วสาร ซึ ่ ง มี ก ารบั น ทึ ก และจั ด การตามหลั ก วิ ช าการเพื ่ อ เผยแพร่ และเพื ่ อ ใช้ ป ระโยชน์ ในการพั ฒ นาด้ า นต่ า งๆ ทั ้ ง ในส่ ว นบุ ค คลและ สั ง คม • สารสนเทศ ก็ ค ื อ ผลสรุ ป ที ่ ไ ด้ จ ากการนำ า ข้ อ มู ล มาประมวลด้ ว ยวิ ธ ี ก ารต่ า งๆ เช่ น การ สรุ ป ทางสถิ ต ิ การเปรี ย บเที ย บ การจำ า แนก หรื อ จั ด กลุ ่ ม ฯลฯ ดั ง นั ้ น ในวงการ คอมพิ ว เตอร์ จ ึ ง ถื อ ว่ า ระบบสารสนเทศ คื อ ระบบจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ในด้ า นต่ า งๆ เอาไว้ แล้ ว นำ า ข้ อ มู ล มาประมวลให้ เ ป็ น สารสนเทศเพื ่ อ ส่ ง ให้ ผ ู ้ ใ ช้ ระบบสารสนเทศที ่ ร ู ้ จ ั ก กั น ดี ก ็ ค ื อ ระบบสารสนเทศเพื ่ อ การจั ด การ
  • 11. ความสำาคัญของข้อมูล สารสนเทศ • การให้ บ ริ ก ารสารสนเทศต่ า ง ๆ เป็ น สิ ่ ง จำ า เป็ น ต่ อ การพั ฒ นาหน่ ว ยงานทุ ก หน่ ว ยซึ ่ ง มี ผ ลต่ อ การพั ฒ นาประเทศ ชาติ มี ค ำ า กล่ า วที ่ ว ่ า “ ความรู ้ ค ื อ อำ า นาจ ” หรื อ “ สารสนเทศคื อ อำ า นาจ ” (Information is Power) ใครมี ข ้ อ มู ล มากผู ้ น ั ้ น ย่ อ มมี อ ำ า นาจมาก คำ า ดั ง กล่ า วสามารถพิ ส ู จ น์ ไ ด้ ด ี ใ น วงการธุ ร กิ จ หรื อ อุ ต สาหกรรม บริ ษ ั ท ใดมี ข ้ อ มู ล ทางเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ ย่ อ ม ได้ เ ปรี ย บกว่ า บริ ษ ั ท ที ่ ไ ม่ ม ี ก ารพั ฒ นา เทคโนโลยี ศู น ย์ ส ารสนเทศต่ า ง ๆ จึ ง
  • 12. คุณค่าของสารนิเทศ • ความถู ก ต้ อ ง • สะดวก รวดเร็ ว ตรงตาม ความต้ อ งการ • มี ค วามสมบู ร ณ์ ครบถ้ ว น • ความน่ า สนใจ • ต่ อ เนื ่ อ งสั ม พั น ธ์ ก ั น
  • 13. ประโยชน์และความสำาคัญ ของสารสนเทศ • เพื ่ อ การศึ ก ษา (Education) • เพื ่ อ ให้ ค วามรู ้ (Information) • เพื ่ อ การค้ น คว้ า (Research) • เพื ่ อ ความจรรโลงใจ (Inspiration) • เพื ่ อ ความบั น เทิ ง (Recreation)
  • 14. บทบาทของสารสนเทศใน ด้านต่าง ๆ • บทบาทของสารสนเทศต่ อ การ พั ฒ นาประเทศ • บทบาทของสารสนเทศด้ า นการค้ า • บทบาทของสารสนเทศทางด้ า นการ ศึ ก ษา • บทบาทของสารสนเทศด้ า น การเมื อ งการปกครอง • บทบาทของสารสนเทศด้ า น อุ ต สาหกรรม
  • 15. แหล่งสารสนเทศหรือแหล่ง ค้นคว้า • การจำาแนกลักษณะของแหล่งสารสนเทศ ตามประเภทของที่มา • การจำาแนกลักษณะของแหล่งสารสนเทศ ตามลักษณะการใช้
  • 16. แหล่งสารสนเทศที่สำาคัญ • ห้ อ งสมุ ด • ศู น ย์ เ อกสารหรื อ ศู น ย์ ข้ อ มู ล • แหล่ ง สารสนเทศอื ่ น ๆ
  • 17. ประเภททรัพยากร สารสนเทศ 1. วั ส ดุ ต ี พ ิ ม พ์ (Printed Materials) 2. วั ส ดุ ไ ม่ ต ี พ ิ ม พ์ (Non Printed Materials)
  • 18. การเลือกใช้และการระวังรักษา ทรัพยากรสารสนเทศ • รั ก ษาทรั พ ยากรสารสนเทศให้ อ ยู ่ ใ น สภาพเดิ ม ที ่ ส ามารถใช้ ง านได้ • ไม่ ฉ ี ก ตั ด หรื อ ทำ า ลายทรั พ ยากร สารสนเทศ เพราะจะทำ า ให้ ผ ู ้ ม าใช้ ที ห ลั ง ไม่ ส ามารถใช้ ป ระโยชน์ ไ ด้ • ยื ม และคื น ตามกำ า หนดทรั พ ยากร สารสนเทศเพื ่ อ ให้ ผ ู ้ อ ื ่ น ได้ ใ ช้ ประโยชน์
  • 19. บทที่ 3 การใช้สารสนเทศและ หนังสืออ้างอิง
  • 20. หนังสืออ้างอิง • หนั ง สื อ อ้ า งอิ ง (Reference Books) คื อ หนั ง สื อ ที ่ ร วมข้ อ เท็ จ จริ ง ซึ ่ ง รวบรวมมาจากแหล่ ง ต่ า ง ๆ นำ า มา เรี ย บเรี ย งเข้ า ด้ ว ยกั น เพื ่ อ ใช้ ไ ด้ อย่ า งรวดเร็ ว เป็ น หนั ง สื อ ที ่ ผ ู ้ ใ ช้ จ ะ อ่ า นเฉพาะตอนที ่ ต ้ อ งการ ไม่ จำ า เป็ น ต้ อ งอ่ า นทั ้ ง เล่ ม หนั ง สื อ อ้ า งอิ ง จะจั ด เรี ย งลำ า ดั บ อั ก ษร หรื อ ตามลำ า ดั บ ปี หรื อ มิ ฉ ะนั ้ น จะมี
  • 21. ลักษณะทั่วไปของหนังสือ อ้างอิง • เป็ น หนั ง สื อ ที ่ ม ุ ่ ง ให้ ข ้ อ เท็ จ จริ ง และความรู ้ เ ป็ น สำ า คั ญ • รวบรวมความรู ้ ใ นสาขาวิ ช าต่ า ง ๆ มี ข อบเขต กว้ า งขวางเพื ่ อ ใช้ ต อบปั ญ หาทั ่ ว ๆ ไป • เขี ย นโดยผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ ห ลาย ๆ ท่ า นในสาขา วิ ช านั ้ น ๆ โดยเฉพาะ • จั ด เรี ย บเรี ย งเนื ้ อ เรื ่ อ งไว้ อ ย่ า งมี ร ะเบี ย บ เพื ่ อ ให้ ใ ช้ ไ ด้ ส ะดวกและรวดเร็ ว • มั ก มี ข นาดแตกต่ า งจากหนั ง สื อ ธรรมดา เช่ น มี ขนาดใหญ่ ก ว่ า มี ค วามยาว อาจพิ ม พ์ เ ป็ น ชุ ด ๆ ละหลาย ๆ เล่ ม • ไม่ จ ำ า เป็ น ต้ อ งอ่ า นตลอดทั ้ ง เล่ ม ต้ อ งการทราบ
  • 22. ลักษณะของหนังสืออ้างอิง ที่ดี • ผู ้ แ ต่ ง หรื อ ผู ้ ร วบรวม • ขอบเขตของหนั ง สื อ • วิ ธ ี เ ขี ย น • การเรี ย งลำ า ดั บ • รู ป เล่ ม • บรรณานุ ก รม • ลั ก ษณะพิ เ ศษอื ่ น ๆ
  • 23. การใช้เครื่องมือช่วยค้นอย่าง รวดเร็วในหนังสืออ้างอิง • อั ก ษรนำ า เล่ ม • ดรรชนี ร ิ ม หน้ า กระดาษหรื อ ดรรชนี ล ั ก ษณะ เป็ น ครึ ่ ง วงกลมที ่ ร ิ ม หน้ า กระดาษ • คำ า นำ า ทาง • ส่ ว นโยง • ภาคผนวก • ดรรชนี • ดรรชนี ร วม • สารบั ญ
  • 24. ประเภทของหนังสืออ้างอิง • หนั ง สื อ อ้ า งอิ ง ที ่ ใ ห้ ส ารสนเทศ ได้ โ ดยตรง • หนั ง สื อ อ้ า งอิ ง ชี ้ แ หล่ ง ข้ อ มู ล
  • 25. บทที่ 4 การสืบค้นข้อมูล สารสนเทศห้องสมุด
  • 26. ความหมายของการจัดหมู่ หนังสือ • การจัดหมู่หนังสือ หมายถึง การจัด หนังสือที่มเนื้อเรื่อง หรือแบบการ ี ประพันธ์อย่างเดียวกันไว้ดวยกัน และ ้ ใช้สัญลักษณ์แทนประเภทของ หนังสือเหล่านั้น เมือห้องสมุดทำาการ ่ จัดหมูหนังสือแล้วจะเขียนสัญลักษณ์ ่ แทนประเภทของหนังสือไว้ที่สน ั หนังสือ สัญลักษณ์ ก็คอเลขหมู่ ื หนังสือ หนังสือทีอยู่ในสาขาวิชา ่
  • 27. ประโยชน์ของการจัดหมู่ หนังสือ 1. ผู้ใช้หองสมุดหรือสื่อสารสนเทศและเจ้าหน้าที่ ้ ห้องสมุด สามารถค้นหาข้อมูลจากสารสนเทศที่ ต้องการได้ง่ายและประหยัดเวลา 2. หนังสือและสื่อที่มเนือหาวิชาอย่างเดียวกันหรือ ี ้ คล้ายคลึงกันจะรวมอยู่ในหมวดหมูเดียวกัน ช่วย ่ ให้ผู้ใช้หองสมุดมีโอกาสเลือกหนังสือและสื่อที่มี ้ เนือเรืองตามต้องการได้จากหนังสือหลาย ๆ เล่ม ้ ่ และจากสื่ออืน ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ่ 3. หนังสือที่มเนื้อเรืองเกี่ยวเนืองกัน หรือสัมพันธ์กน ี ่ ่ ั จะอยู่ใกล้ ๆ กัน ซึ่งจะช่วยให้ ผู้อ่านสามารถหา หนังสือที่มเรื่องราวเหมือนกันมาประกอบเนื้อหา ี ให้สมบูรณ์ยิ่งขึน ้ 4. ช่วยให้ทราบว่ามีจำานวนหนังสือในแต่ละหมวด มากน้อยเท่าใด 5. เมื่อได้หนังสือใหม่หรือสื่อสารสนเทศใหม่เข้ามา
  • 28. ลักษณะของระบบจัดหมู่ หนังสือที่ดี 1. การจัดหมูหนังสือโดยการให้เลขหมู่ ่ หนังสืออย่างกว้าง ๆ (Broad Classification) หมายถึง การจัดหมู่ หนังสือโดยเลือกใช้เฉพาะหมวดและหมู่ ใหญ่เท่านั้น รายละเอียดในหมู่ย่อยไม่นำา มาใช้ 2. การจัดหมูหนังสืออย่างละเอียด (Close ่ Classification) หมายถึง การจัดหมู่ หนังสือโดยให้เลขหมู่อย่างละเอียดและ
  • 29. ระบบทศนิยมดิวอี้ • การจัดหมู่หนังสือระบบทศนิยมของดิวอี้ (Dewey Decimal Classification) เรียกย่อ ๆ ว่า “ระบบการจัดหมู่หนังสือดิ วอี้” หรือระบบ D.D.C. หรือ D.C. เป็น ระบบที่ใช้ ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์แทน ประเภทหนังสือ เป็นระบบการจัดหมู่ หนังสือที่ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เป็นผู้คิดขึนใน ้ ปี ค.ศ. 1873 และเป็นระบบที่ได้รับความ
  • 30. ระบบหอสมุดรัฐสภา อเมริกัน • ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classification) เป็นระบบการ จัดหมู่หนังสือโดยใช้ตัวอักษรผสมกับ ตัวเลขเป็นสัญลักษณ์ ดรงเฮอร์เบอร์ด พุ ทนัม บรรณารักษ์หอสมุดรัฐสภาเป็นผู้ คิดค้นขึนในปี ค.ศ. 1899 นิยมใช้ในห้อง ้ สมุดมหาวิทยาลัยและห้องสมุดเฉพาะ โดยใช้อักษร A-Z หรือ ก-ฮ แทนเนื้อหา หนังสือ ซึ่งแบ่งออกเป็น 20 หมวดใหญ่
  • 31. การจัดหมู่โสตทัศนวัสดุ • การจัดหมู่วสดุไม่ตพิมพ์ ใช้เลขทะเบียนอักษรย่อ ั ี แทนวัสดุแต่ละประเภท ดังนี้ • MA ย่อมาจาก Map (แผนที) ่ • S ย่อมาจาก Slide (ภาพ นิง) ่ • FS ย่อมาจาก Filmstrips (ภาพ เลื่อน) • F ย่อมาจาก Film (ภาพยนตร์) • MIC ย่อมาจาก Microfilm
  • 32. การจัดหมู่หนังสือด้วย สัญลักษณ์ • หนังสือบางประเภทผู้อ่านให้ความสนใจใน ด้านการใช้ภาษา ตลอดจนวิธการดำาเนิน ี เรื่องมากกว่าสาระทางวิชาการ ห้องสมุด จึงใช้อักษรย่อของคำาที่บอกประเภท หนังสือนั้น ๆ แทนการให้เลขหมู่หนังสือ แต่ละเล่ม ซึ่งห้องสมุดแต่ละแห่งอาจจะ ใช้ตัวอักษรย่อแตกต่างกันสำาหรับหนังสือ ประเภทเดียวกัน เช่น • น,นว แทน นวนิยาย • F,FIC แทน Fiction • ร.ส. แทน รวมเรื่องสั้น
  • 33. การใช้เลขเรียกหนังสือ (Call Number) • เลขเรียกหนังสือ คือ สัญลักษณ์ที่ห้องสมุด กำาหนดขึ้นใช้แทนเนื้อหาหนังสือแต่ละเล่ม เพือบอกที่อยู่ของหนังสือ จะปรากฏที่สัน ่ หนังสือเป็นสำาคัญ เลขเรียกหนังสือประกอบ ด้วย เลขหมู่หนังสืออักษรตัวแรก ของชือผู้ ่ แต่งสำาหรับหนังสือภาษาไทย และอักษรตัว แรกของชือสกุลสำาหรับผู้แต่งในภาษาต่าง ่ ประเทศ เลขผู้แต่ง และอักษรตัวแรกของชือ ่ หนังสือ นอกจากนีอาจปรากฏ อักษร ฉ.1, ฉ. ้ 2... หรือ C.1, C.2 ... ถ้าหนังสือนันมีหลาย ้
  • 34. การใช้อักษรประกอบเลข หมู่ • อักษรประกอบเลขหมูจะใช้เติมเหนือ ่ เลขหมู่ หรือเลขเรียกหนังสือเพื่อ บอกให้ทราบประเภทของหนังสือ เช่น หนังสืออ้างอิง หนังสือแบบเรียน เป็นต้น อักษรที่ใช้ประกอบเลขหมู่มี ดังนี้ คือ • หนังสืออ้างอิง ใช้ อ สำาหรับหนังสือ ไทย
  • 35. เลขเรียกหนังสือ 1. เลขหมู่หนังสือ (Class Number) 2. เลขผูแต่ง (Author ้ Number) 3. อักษรชื่อเรื่อง (Work Mark)
  • 36. การเรียงหนังสือบนชั้น 1. เรียงหนังสือทุกเล่มตามเลขเรียกหนังสือ 2. เรียงหนังสือจากซ้ายไปขวา จากบนลงล่าง 3. การเรียง ถ้าเป็นการจัดหมู่หนังสือระบบ ทศนิยมแบบดิวอี้ ต้องเรียงจากน้อยไปหามาก 4. ส่วนการจัดหมู่หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภา อเมริกัน จะเรียงตามลำาดับอักษร A-Z ถ้า อักษรตัวแรกซำ้ากัน เรียงตามลำาดับอักษรตัวที่ 2 ถ้าอักษรสองตัวแรกซำ้ากันเรียงตามเลขที่อยู่ ถัดมาจากเลขน้อยไปหาเลขมาก
  • 37. การจัดเรียงและการให้บริการ หนังสือพิมพ์ วารสาร • ห้องสมุดจะทำา หนังสือพิมพ์ ใส่ไม้หนีบและวางไว้บน ที่วางหนังสือพิมพ์โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์แต่ละฉบับจะ บริการให้อ่าน 2 วัน จากนั้นจะเก็บไว้ตางหาก ถ้าผูอ่าน ่ ้ ต้องการจะค้นหาข้อมูลย้อนหลังก็สามารถยืมพิเศษจาก เจ้าหน้าที่ได้ • วารสาร ห้องสมุดจะมีชั้นเรียงสำาหรับวางวารสาร โดยเฉพาะ การจัดวางวารสารเข้าชันจะจัดตามลำาดับตัว ้ อักษรชือวารสารจากซ้ายไปขวา เช่นเดียวกับการจัด ่ หนังสือวารสารเล่มปัจจุบันจะวางอยูบนชันเอียง ส่วน ่ ้ ฉบับล่วงเวลา 1 ฉบับแล้ว อยู่บนชันตรง ซึงอยู่ใต้ ้ ่ วารสาร นั้น ๆ ส่วนบนชันวารสารจะมีป้ายกำากับชื่อ ้ วารสารไว้ให้สังเกตง่ายอีกด้วย • ส่วนฉบับที่ล่วงมาแล้ว เมื่อเกิน 2 อาทิตย์ จะนำาไป เก็บไว้ที่เก็บวารสาร ซึงแยกตามฉบับที่ ปีที่ บางเล่มก็ ่
  • 38. การจัดเรียงและการให้บริการ หนังสืออ้างอิง • การจัดเรียงและการให้บริการหนังสืออ้างอิง • หนังสืออ้างอิงหรือหนังสืออุเทศ ห้องสมุดจะ จัดแยกไว้ต่างหากจากหนังสือทั่วไป อาจแยก ชันหรือแยกห้องไว้โดยเฉพาะ เพราะเป็น ้ หนังสือที่ไม่ให้ยืมออกจากห้องสมุด จะสังเกต ง่ายเพราะจะมีอักษรย่อ “อ” หรือ “R” หรือ “Ref” ที่สันหนังสือ การเรียงหนังสืออ้างอิง ก็ จัดเรียงลำาดับเช่นเดียวกันกับหนังสือทั่วไป
  • 39. การจัดเก็บและการให้ บริการจุลสาร • ลงทะเบียนเฉพาะจุลสารที่ได้รบแจก หรือแลกเปลี่ยน ั จำานวนทั้งหมดกี่เล่ม • ใช้ตราห้องสมุดประทับลงบนหน้าปก หน้าชื่อเรื่อง และ หน้าอื่น ๆ ซึ่งทางห้องสมุดกำาหนดเช่นดียวกับหนังสือ • ระบุหัวเรื่องโดยพิจารณาจากเนื้อเรื่องของจุลสารเช่น เดียวกับการให้หัวเรื่องหนังสือเขียนไว้ส่วนตั้ง ส่วนยื่น ของแฟ้มหรือหัวแฟ้ม • จัดเก็บไว้ในแฟ้มตามหัวเรื่อง แล้วจัดเรียงตามลำาดับตาม อักษรของหัวเรืองไว้ในตู้เก็บจุลสาร ่ • จัดทำาบัตรรายการ เพื่อให้ผู้ใช้บริการห้องสมุดค้นหาเรื่อง ที่ต้องการได้โดยสะดวก • เมือต้องการจะค้นคว้าเรื่องใดก็ไปเปิดดูที่ตู้บัตรรายการ ่ บัตรหัวเรื่อง ถ้ามีเรื่องที่ต้องการจะบอกให้ดูเพิ่มเติมที่ จุลสาร ผู้ใช้ก็ไปเปิดตู้จลสารตามลำาดับอักษร เมื่อพบแฟ้ม ุ หัวเรื่อง นั้นให้ยกออกมาทั้งแฟ้มเปิดดูตามต้องการ เสร็จ
  • 40. การจัดทำากฤตภาค • สิงพิมพ์ที่เอามาตัดทำากฤตภาค คือ ่ หนังสือพิมพ์ฉบับที่ล่วงไปแล้วอย่างน้อย 7 วัน วารสารหรือนิตยาสารเก่า ๆ ที่ชำารุดแล้ว หรือ นิตยสารที่ไม่มีคุณค่าควรเย็บเล่ม แต่บางเรื่อง ดีมีคณค่าหาจากที่อื่นไม่ได้ หรือสิงพิมพ์อื่น ๆ ุ ่ ที่สามารถตัดทำาเป็นกฤตภาคได้ คุณค่าของ ก ฤตภาคอยู่ที่ผู้จัดทำามีวิจารณญาณในการคัด เลือกข่าวต่าง ๆ
  • 41. บทที่ 5 เครื่องมือและวิธีการใช้ เครืองมือ ่ ในการค้นข้อมูลสารสนเทศ
  • 42. การสืบค้นสารสนเทศ • การสื บ ค้ น สารสนเทศ (Information Retrieval) หมายถึง วิธการเข้าถึงสารสนเทศ (Information ี Access) เพือให้ได้มาซึ่งสารสนเทศที่ ่ ตรงกับความต้องการ โดยใช้เครื่องมือ ช่วยค้นที่แหล่งสารสนเทศจัดทำาขึ้น
  • 43. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ ด้วยระบบมือ ก. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศด้วยบัตร ข. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศด้วย หนังสือ
  • 44. การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ ด้วยเทคโนโลยี • การสื บ ค้ น สารสนเทศใน สั ง คมสารสนเทศ • วิ ธ ี ก ารสื บ ค้ น
  • 45. วิธีการสืบค้นข้อมูลด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ การสืบค้นข้อมูลด้วยแผ่น CD-ROM การสืบค้นข้อมูลด้วยการชมโทรทัศน์จากจานรับส การสืบค้นข้อมูลในระบบอินเทอร์เน็ต
  • 47. ความเป็นมาของ อินเทอร์เน็ต • อินเทอร์เน็ตเริ่มต้นขึ้นในปี 1969 • ในปี 1983 การทำางานบนระบบเน็ต เวอร์ก
  • 48. ระบบการทำางานของ อินเทอร์เน็ต • ระบบอิ น เทอร์ เ น็ ต จะทำ า งานส่ ง และรั บ ข้ อ มู ล จากคอมพิ ว เตอร์ เ ครื ่ อ งอื ่ น ๆ ในลั ก ษณะชิ ้ น ส่ ว นขนาดเล็ ก หลาย ๆ กลุ ่ ม เรี ย กว่ า แพ็ ก เกจ (Packets) แต่ ล ะแพ็ ก เกจจะมี ท ี ่ อ ยู ่ ข องผู ้ ส่ ง และผู ้ ร ั บ ขนาดสู ง สุ ด ของแพ็ ก เกจจะ เปลี ่ ย นไปตามเครื อ ข่ า ย แต่ โ ดยปกติ จ ะ อนุ ญ าตให้ ม ี ข นาดระหว่ า ง 200 - 2,000 Octets (1 Octet บน Internet คื อ 1 Bite หรื อ 1 ตั ว อั ก ษร) ขนาดทั ่ ว ไป ที ่ ใ ช้ ก ั น อยู ่ คื อ 1,536 Octets ข้ อ มู ล ใดที ่ ม ี ข นาดใหญ่ กว่ า 1 แพ็ ก เกจ จะต้ อ งแยกส่ ง ไปเป็ น หลาย แพ็ ก เกจ ข้ อ มู ล จะถู ก ส่ ง ไปหลายเส้ น ทางผ่ า น
  • 49. วิธีการเข้าสู่ระบบ อินเทอร์เน็ต • วิ ธ ี ก ารพื ้ น ฐานที ่ ผ ู ้ ใ ช้ จ ะเข้ า สู ่ Internet มี 2 ทาง คื อ การเข้ า สู ่ Internet โดยตรง (Direct Access) และการเข้ า สู ่ Internet โดยผ่ า นอุ ป กรณ์ แ ปลงสั ญ ญาณต่ อ เชื ่ อ ม ระหว่ า งสายโทรศั พ ท์ ก ั บ เครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ของผู ้ ใ ช้ ท ี ่ เ รี ย กว่ า โมเด็ ม (Modem) • การเข้ า สู ่ Internet โดยตรง ผู ้ ใ ช้ จ ะเข้ า ได้ เร็ ว กว่ า วิ ธ ี ก ารใช้ โ มเด็ ม และการเข้ า ถึ ง Internet ด้ ว ยวิ ธ ี น ี ้ จ ะทำ า ให้ ผ ู ้ ใ ช้ ส ามารถ เรี ย กดู ข ้ อ มู ล ที ่ เ ป็ น กราฟฟิ ก ซึ ่ ง มี ท ั ้ ง ข้ อ ความ เสี ย ง ภาพ ภาพและข้ อ ความ เคลื ่ อ นไหวได้ ร วดเร็ ว มาก ด้ ว ยวิ ธ ี น ี ้ ผ ู ้ ใ ช้
  • 50. บริการบนอินเทอร์เน็ต • ไปรษณี ย ์ อ ิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-Mail) • สนทนาแบบออนไลน์ • “กระดานข่ า ว” หรื อ บู เ ลติ น บอร์ ด บนเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต • Ftp (File Transfer Protocol) บริ ก ารโอนย้ า ย ไฟล์ ข ้ อ มู ล หรื อ ไฟล์ โ ปรแกรมต่ า ง ๆ • Telnet • Archie • Gopher • Hytelnet • WAIS (Wide Area Information Service) • บริ ก ารความสะดวกอื ่ น ๆ
  • 51. การสืบค้นข้อมูลจาก อินเทอร์เน็ต • WWW เป็ น การทำ า งานของเครื ่ อ ง คอมพิ ว เตอร์ ใ นลั ก ษณะที ่ เ ชื ่ อ มโยงกั น ผู ้ ท ี ่ ท ำ า ให้ Internet เป็ น ที ่ ร ู ้ จ ั ก กั น แพร่ หลาย คื อ Dr.Tim Berners-Lee โดย ในปี ค.ศ.1990 ขณะที ่ เ ขา เป็ น นั ก ฟิ ส ิ ก ส์ อ ยู ่ ท ี ่ ห ้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ก ารอนุ ภ าค ฟิ ส ิ ก ส์ ณ กรุ ง เจนี ว า ประเทศ สวิ ส เซอร์ แ ลนด์ เขามี ค วามคิ ด ว่ า งาน ของเขาจะง่ า ยขึ ้ น ถ้ า เขาและเพื ่ อ นร่ ว ม งานสามารถเชื ่ อ มโยงเครื ่ อ ง คอมพิ ว เตอร์ แ ต่ ล ะเครื ่ อ งเข้ า ด้ ว ยกั น
  • 52. การเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต เวิลด์ไวด์เว็บ • เชื่อมต่อกับโฮสต์ โดยใช้มาตรฐาน TCP/IP หรือเชื่อมต่อกับ ISP ด้วย โปรโตคอล PPP (Point-to-Point Protocol) • สมัครเข้าเป็นสมาชิก ISP หรือ สถานศึกษาของตนเองในกรณีที่เป็น นักศึกษา ซึงจะได้ชื่อผู้ใช้ (User ่ Account) และรหัสผ่าน (Passwor
  • 53. การเชื่อมต่อไปยังผูให้บริการ ้ อินเทอร์เน็ต • เครื ่ อ งมื อ ในการค้ น ข้ อ มู ล บน WWW. (Browser Programs) • โปรแกรม Internet Explorer • การใช้ เ มนู ต ่ า งๆ ในโปรแกรม Internet Explorer
  • 54. การค้นหาข้อมูลในเวิลด์ ไวด์เว็บ • Search Engine เป็นเว็บไซต์ค้นหา ข้อมูลที่ใช้โปรแกรมอัตโนมัติรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ต่าง ๆ โดย ละเอียด เหมาะกับการหาข้อมูลแบบ เฉพาะเจาะจง Search Engine ที่ได้รับ ความนิยม คือ Google, Catcha และ Sanook • Search Directories เป็นเว็บไซต์ค้นหา ข้อมูลโดยจัดเป็นหมวดหมู่ทเหมาะสม ี่ แต่ปริมาณข้อมูลอาจไม่ครอบคลุมทุก
  • 55. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail) • อีเมล์ • ตู ้ จ ดหมาย • อีเมล์ แอ็ดเดรส
  • 56. หน้าที่และรูปแบบของโปรแกรม รับ-ส่งอีเมล์ • วิธการใช้โปรแกรมรับ-ส่งอีเมล์ ี • การค้ น ข้ อ มู ล ในระบบ Internet
  • 57. เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ บน WWW 1. การตั ้ ง หรื อ กำ า หนดคำ า ถามและขอบเขตของ คำ า ถามนั ้ น 2. การจำ า แนกแนวคิ ด ในคำ า ถามนั ้ น ๆ 3. การกำ า หนดคำ า ค้ น หรื อ การแปลคำ า ถามที ่ ต ้ อ งการ สื บ ค้ น ออกมาเป็ น คำ า ค้ น ให้ ถ ู ก ต้ อ ง 4. การเชื ่ อ มคำ า 5. การเลื อ กใช้ 6. ทำ า การสื บ ค้ น และประเมิ น ผลข้ อ มู ล ที ่ ไ ด้ ร ั บ ปกติ ผลจะให้ แ ตกต่ า งกั น ไป แต่ ค วร ตรวจสอบไม่ เ กิ น 50 อั น ดั บ แรกที ่ ส ่ ง มาให้ อาจ
  • 58. แหล่งสารสนเทศในการสืบค้นด้วยระบบ โอแพค (OPAC) 1. การสื บ ค้ น ทรั พ ยากรสารสนเทศของ ห้ อ งสมุ ด มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ 2. การสื บ ค้ น ทรั พ ยากรสารสนเทศ ของ สถาบั น วิ ท ยบริ ก ารจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิ ท ยาลั ย ด้ ว ย Web OPAC 3. ระบบสื บ ค้ น สารสนเทศของสำ า นั ก หอ สมุ ด กลางมหาวิ ท ยาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒประสานมิ ต ร
  • 60. พัฒนาการของสารสนเทศ • คลื ่ น ยุ ค ที ่ 1 ยุ ค ปฏิ ว ั ต ิ ท าง เกษตรกรรม • คลื ่ น ยุ ค ที ่ 2 ยุ ค ปฏิ ว ั ต ิ ท าง อุ ต สาหกรรม • คลื ่ น ยุ ค ที ่ 3 ยุ ค เทคโนโลยี ร ะดั บ สู ง
  • 61. พัฒนาการของงาน สารสนเทศ • จากพั ฒ นาการในการใช้ ส ื ่ อ สารสนเทศประเภท สิ ่ ง พิ ม พ์ ที ่ ท ำ า ให้ ป ริ ม าณของสิ ่ ง พิ ม พ์ มี จำ า นวนมาก จึ ง ทำ า ให้ เ กิ ด สถาบั น ส่ ง เสริ ม การ ศึ ก ษาค้ น คว้ า ซึ ่ ง เป็ น จุ ด กำ า เนิ ด ของวิ ช า สารนิ เ ทศศาสตร์ (Information Science) ใน ปี ค.ศ. 1895 พอล ออทเล็ ท (Paul Otlet) และ เฮ็ น รี ลา ฟองเทน (Henri La Fontain) ได้ ก่ อ ตั ้ ง สถาบั น บรรณานุ ก รมระหว่ า งประเทศ (Institute International de Bibliographie) ในกรุ ง บรั ส เซล ประเทศเบลเยี ่ ย ม ซึ ่ ง เป็ น สถาบั น ที ่ ผ ลิ ต สิ ่ ง พิ ม พ์ “ บรรณานุ ก รมสำ า หรั บ ค้ น สารสนเทศวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ” ขึ ้ น มาเป็ น เล่ ม แรกในปี ค.ศ. 1904 นั บ ว่ า เป็ น
  • 62. การจัดการกับสารสนเทศ มากเกินไป • ปั จ จุ บ ั น ผู ้ บ ริ ห ารต่ า งยอมรั บ ว่ า สารสนเทศ เป็ น ทรั พ ยากรที ่ ส ำ า คั ญ อย่ า งหนึ ่ ง ที ่ ม ี ต ่ อ การบริ ห ารจั ด การ ของหน่ ว ยงาน จนกลายเป็ น “ ทรั พ ยากรสำ า คั ญ อั น ดั บ สี ่ ขององค์ ก ร ” ต่ อ จาก Man, Machine และ Money ผู ้ บริ ห ารจะต้ อ งคอยฟั ง ข่ า วสารอยู ่ ต ลอดเวลา เพื ่ อ สแกน ข่ า วหาเรื ่ อ งที ่ น ่ า สนใจจากหนั ง สื อ พิ ม พ์ รั บ ฟั ง ข่ า วทาง วิ ท ยุ อ่ า นรายงานที ่ ม ี ผ ู ้ จ ั ด เตรี ย มเสนอให้ ต ั ด สิ น ใจ รวม ทั ้ ง พบปะกั บ ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง อื ่ น ๆ เพื ่ อ ให้ ข ้ อ มู ล ข่ า วสาร การเปิ ด คอมพิ ว เตอร์ ด ู จ ดหมายอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ถ้ า ผู ้ บ ริ ห ารเหล่ า นี ้ ไ ม่ ไ ด้ ร ั บ สารสนเทศที ่ จ ำ า เป็ น อย่ า งพอ เพี ย งแล้ ว จะไม่ ส ามารถบริ ห ารจั ด การหน่ ว ยงานของตน ให้ ด ำ า เนิ น ไปได้ อ ย่ า งราบรื ่ น แต่ ป ั จ จุ บ ั น ผู ้ บ ริ ห ารเหล่ า นี ้ กลั บ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ สถานการณ์ ต รงข้ า มจากการ ไม่ ม ี ส ารสนเทศที ่ จ ะตั ด สิ น ใจ คื อ เขากำ า ลั ง ประสบปั ญ หา เรื ่ อ งการรั บ สารสนเทศมากเกิ น ไป (Information Overload) เกิ น ความจำ า เป็ น เขาได้ ร ั บ ข่ า วสารที ่ ไ ม่ เ ป็ น
  • 63. สภาพกระแสสารสนเทศ ท่วมท้น • ปั ญ หาในการคั ด เลื อ ก • ปั ญ หาในการจั ด หาวั ส ดุ สารสนเทศ • ปั ญ หาเรื ่ อ งสถานที ่ เ ก็ บ • ปั ญ หาทางการจั ด หมวดหมู ่ แ ละ การจั ด ทำ า รายการ • ปั ญ หาทางด้ า นบริ ก าร • ปั ญ หาทางด้ า นอนุ ร ั ก ษ์ ว ั ส ดุ สารสนเทศ •
  • 64. อิทธิพลของคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีโทรคมนาคม • คอมพิ ว เตอร์ ไ ด้ เ ข้ า มาช่ ว ยลดการ ทำ า งานด้ า นเทคนิ ค การค้ น หาข้ อ มู ล ที ่ ซั บ ซ้ อ น • ด้ า นบุ ค ลากร • การสร้ า งข่ า ยงานระหว่ า งห้ อ งสมุ ด • โครงสร้ า งองค์ ก ารและการบริ ห ารงาน ห้ อ งสมุ ด • ด้ า นบริ ก ารสารสนเทศห้ อ งสมุ ด • การสร้ า งกระบวนวิ ช าที ่ เ บี ่ ย งเบนจาก บรรณารั ก ษศาสตร์ แ บบเดิ ม
  • 65. อิทธิพลของเทคโนโลยีโทรคมนาคม ต่องานสารสนเทศ • การจั ด หาและรวบรวมวั ส ดุ สารสนเทศ • การกระจายสารสนเทศ • การบริ ห ารหน่ ว ยงาน
  • 66. แนวทางใหม่ในการจัดการกับ สารสนเทศ • กระบวนการพื ้ น ฐานในการจั ด การ กั บ สารสนเทศ • แนวทางใหม่ ส ำ า หรั บ จั ด การกั บ สารสนเทศท่ ว มท้ น
  • 67. การเลือกใช้สอสารสนเทศหรือวัสดุทให้ ื่ ี่ บริการในห้องสมุด 1. สื ่ อ สารสนเทศลายลั ก ษณ์ อ ั ก ษร 2. สารสนเทศไม่ ต ี พ ิ ม พ์ 3. วั ส ดุ แ ผนที ่ 4. สไลด์ 5. ฟิ ล ์ ม สตริ ป 6. ภาพยนตร์ 7. วั ส ดุ บ ั น ทึ ก เสี ย งและภาพ 8. ชุ ด การสอน 9. ตู ้ อ ั น ตรทั ศ น์ 10.แผ่ น โปร่ ง ใส 11.หุ ่ น จำ า ลอง 12.ของตั ว อย่ า ง 13.สารสนเทศย่ อ ส่ ว น
  • 68. สารสนเทศโทรคมนาคม 1. โทรเลข 2. วิ ท ยุ 3. โทรพิ ม พ์ 4. โทรศั พ ท์ 5. โทรทั ศ น์ 6. โทรสารหรื อ โทรภาพ 7. โทรประชุ ม
  • 69. สารสนเทศของจริง • วั ต ถุ (Object) • ของตั ว อย่ า ง (Specimens) • ซากสิ ่ ง ต่ า ง ๆ (Remains) • สิ ่ ง ที ่ ป รากฏชั ด (Evidences) • งานศิ ล ปะ (Artefacts) • บุ ค คล (People)
  • 70. ฐานข้อมูล CD-ROM 1. ฐานข้ อ มู ล ERIC 2. ฐานข้ อ มู ล DAO 3. ฐานข้ อ มู ล Library Literature a Info Science Fulltext 4. ฐานข้ อ มู ล ABI/INFORM
  • 72. ความหมายของรายงานและ การค้นคว้าวิจัย • รายงาน (Report) คือ ผลสรุปของการ ค้นคว้าหาข้อมูลสารสนเทศ แล้วทำาการ รวบรวม สรุปผลออกมาเพื่อนำาเสนอให้ผที่ ู้ เกี่ยวข้อได้รับทราบ ด้วยการทำาเป็นเอกสารที่ ง่ายต่อความเข้าใจ รายงานส่วนใหญ่มักนำา มาใช้ในทางวิชาการและในทางธุรกิจ • การค้นคว้าวิจัย หมายถึง การค้นหาข้อเท็จ จริงอย่างจริงจัง รอบคอบ และมีระบบ เพื่อที่ จะได้ข้อมูลอย่างสมจริงในเรื่องนั้นๆ และนำา มาวิเคราะห์เพื่อให้เกิดความรู้อย่างสมบูรณ์
  • 73. วัตถุประสงค์และลักษณะของ รายงาน • เพื ่ อ ฝึ ก ให้ น ั ก ศึ ก ษามี โ อกาสและสามารถ ศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง ซึ ่ ง จะช่ ว ยให้ เ ห็ น แนวทาง ในการศึ ก ษาวิ ช าการหนึ ่ ง ๆ ได้ ห ลาย แนวทาง • เพื ่ อ ให้ น ั ก ศึ ก ษาได้ ศ ึ ก ษาอย่ า งกว้ า งขวาง และลึ ก ซึ ้ ง ยิ ่ ง ขึ ้ น โดยการศึ ก ษาจากตำ า รา หลาย ๆ เล่ ม และจากแหล่ ง สารสนเทศต่ า ง ๆ • เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ น ั ก ศึ ก ษารู ้ จ ั ก คิ ด อย่ า งมี ระบบ มี เ หตุ ผ ล รู ้ จ ั ก วางแผน และประเมิ น ผลที ่ ไ ด้ จ ากข้ อ มู ล ที ่ ค ้ น คว้ า • เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ น ั ก ศึ ก ษาเกิ ด ความสามารถ ในการใช้ ภ าษา รวบรวม และเรี ย บเรี ย ง ความรู ้ ค วามคิ ด อย่ า งเป็ น ระบบ • เพื ่ อ ส่ ง เสริ ม ให้ น ั ก ศึ ก ษามี ค วามสามั ค คี ใ น
  • 74. ลักษณะของรายงานที่ดี 1. ระลึ ก ถึ ง ผู ้ อ ่ า นเป็ น หลั ก โดยรายงานในสิ ่ ง ที ่ ผู ้ ร ั บ รายงานต้ อ งการหรื อ ควรทราบ 2. ควรเขี ย นตรงเป้ า หมายหรื อ หั ว เรื ่ อ งข้ อ เรื ่ อ ง 3. มี เ นื ้ อ หาสาระดี น่ า สนใจ ไม่ ก ล่ า วสิ ่ ง ที ่ เ กิ น ความจริ ง 4. ข้ อ ความกะทั ด รั ด ไม่ ก ำ า กวม 5. รายละเอี ย ดสำ า คั ญ แจ่ ม แจ้ ง 6. มี ล ั ก ษณะจู ง ใจให้ ต ิ ด ตามอ่ า น 7. ประหยั ด เวลาผู ้ อ ่ า น โดยใช้ ภ าษาที ่ เ ข้ า ใจ ง่ า ย ตรงไปตรงมา
  • 75. วัตถุประสงค์และประโยชน์ของ การค้นคว้าวิจัย • เพื ่ อ ให้ เ กิ ด ความรู ้ ใ หม่ ๆ หรื อ เกิ ด ความเข้ า ใจอย่ า งสมบู ร ณ์ ใ นเรื ่ อ งนั ้ น ๆ • เพื ่ อ ให้ ม ี พ ั ฒ นาการทางวิ ช าการใน ด้ า นนั ้ น ๆ • เพื ่ อ นำ า ผลการวิ จ ั ย มาใช้ แ ก้ ป ั ญ หา หรื อ ปรั บ ปรุ ง งานนั ้ น ๆ • เพื ่ อ ใช้ ผ ลการวิ จ ั ย เป็ น แนวทางในการ วางแผนงานที ่ ร ิ เ ริ ่ ม ขึ ้ น ใหม่ หรื อ
  • 76. ประเภทของรายงานทาง วิชาการ • รายงานการค้ น คว้ า • ภาคนิ พ นธ์ • รายงานการวิ จ ั ย
  • 77. ประเภทของรายงานทาง ธุรกิจ 1. รายงานแบบธรรมดา (Routine Report or Regular Report) คือ รายงานที่ทำาตามเวลาที่กำาหนดไว้โดย สมำ่าเสมอ เช่น รายชั่วโมง รายวัน ราย สัปดาห์ รายเดือน หรือรายปี เช่น รายงาน การปฏิบัติงานของฝ่ายสินเชือ ่ รายงาน ประจำาปีของบริษัทหรือธนาคาร เป็นต้น 2. รายงานแบบพิ เ ศษ (Special Report) เป็นรายงานที่จัดทำาเป็นครั้งคราวตามความ ต้องการและความจำาเป็น วัตถุประสงค์เพื่อ
  • 78. วิธีการเสนอรายงาน • การเสนอรายงานโดยปากเปล่ า • การเสนอรายงานโดยลายลั ก ษณ์ อั ก ษร
  • 79. ขั้นตอนการเขียนรายงาน 1. การเลื อ กหั ว เรื ่ อ งที ่ จ ะทำ า รายงาน 2. รู ้ จ ั ก แหล่ ง ในการค้ น คว้ า และการรวบ 3. อ่ า นข้ อ มู ล ของเนื ้ อ หารายงานที ่ จ ะเข 4. การทำ า โครงเรื ่ อ ง 5. การบั น ทึ ก ข้ อ มู ล จากเอกสาร อ้ า งอิ ง 6. การเรี ย บเรี ย งเนื ้ อ เรื ่ อ งรายงาน
  • 80. รูปแบบของรายงานทาง วิชาการ 1. ส่ ว นประกอบตอนต้ น หรื อ ส่ ว น หน้ า 2. ส่ ว นประกอบตอนกลางหรื อ ส่ ว น เนื ้ อ เรื ่ อ ง 3. ส่ ว นประกอบตอนท้ า ยหรื อ ส่ ว น อ้ า งอิ ง
  • 81. วิธีการอ้างอิงข้อมูล 1. การเขี ย นเชิ ง อรรถ 2. การเขี ย นบรรณานุ ก รม
  • 82. วิธีการเขียนบรรณานุกรม 1. บรรณานุ ก รมของหนั ง สื อ 2. บรรณานุ ก รมบทความในหนั ง สื อ ภาษาไทย 3. บรรณานุ ก รมหนั ง สื อ พิ ม พ์ 4. บรรณานุ ก รมของสารานุ ก รม 5. บรรณานุ ก รมบทวิ จ ารณ์ ห นั ง สื อ ในวารสาร 6. บรรณานุ ก รมวิ ท ยานิ พ นธ์ 7. บรรณานุ ก รมของการสั ม ภาษณ์ 8. บรรณานุ ก รมของเอกสารแปล 9. บรรณานุ ก รมจากกฎหมายที ่ ป ระกาศใน ราชกิ จ จานุ เ บกษา 10. บรรณานุ ก รมจากโสตทั ศ นวั ส ดุ 11. บรรณานุ ก รมจากรายการวิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ 12. บรรณานุ ก รมจากสื ่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์