SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 58
โรคอ้วน
ความหมายของโรคอ้วน
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคอ้วน
สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอ้วน
ประเภทของความอ้วน
การรักษาโรคอ้วน
รู้ทันโฆษณาลดความอ้วน
ข้อมูลอ้างอิง
ผู้จัดทา
THE END
โรคอ้วน
 ความอ้วนที่มากเกินไป มีน้าหนักตัวมากกว่าที่ควรจะเป็น
ไม่ใช่อ้วนกาลังดี อ้วนพองามหรือกาลังสวย
 คาว่า อ้วน ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง มีเนื้อและไขมันมาก โต อวบ ซึ่งเป็น
ความหมายที่ไม่น่าปรารถนาของคนทั่วๆ ไป
เกณฑ์การวินิจฉัยโรคอ้วน
 วิธีที่ดีที่สุดที่ใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ คือ การชั่งน้าหนัก และวัดส่วนสูง ในผู้ใหญ่
 ซึ่งถ้าต้องการทราบความเสี่ยงต่อเมแทบอลิกซินโดรม จะวัดขนาดรอบเอวด้วย
ตามมาตรฐานกรมอนามัย พ.ศ.๒๕๔๒
เกณฑ์ที่ใช้ในเด็กอายุน้อยกว่า ๑๘ ปี ลงมา ใช้เกณฑ์น้าหนักเทียบกับส่วนสูง
 ถ้าหากมีน้าหนักต่อส่วนสูงมากกว่าร้อยละ ๕๐ บวกกับ ๒ เท่าของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
จะถือว่า น้าหนักเกิน และหากมากกว่า ๕๐ บวกกับ ๓ เท่า ของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ถือว่า อ้วน
 เกณฑ์ใช้วัดในผู้ใหญ่ (อายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป) ใช้เกณฑ์ดัชนีมวลกาย
(body mass index หรือ BMI) ซึ่งมีวิธีคานวณดังนี้
BMI = น้าหนัก (กิโลกรัม)/ส่วนสูง (เมตร)๒
ดัชนีมวลกายมีค่า ๑๘.๕ - ๒๔.๙ กิโลกรัม/เมตร๒ ถือว่า น้าหนักปกติ
ดัชนีมวลกายมีค่า ๒๕.๐ - ๒๙.๙ กิโลกรัม/เมตร๒ ถือว่า น้าหนักเกิน
(overweight)
ดัชนีมวลกายมีค่า ๓๐ กิโลกรัม/เมตร๒ ขึ้นไป ถือว่า เป็น โรคอ้วน (obesity)
สาเหตุจากภายใน
สาเหตุจากภายนอก
โรคประจาตัว
กรรมพันธุ์
เพศ
การกินยาบางชนิด
อายุ
เกิดจากสาเหตุภายนอก
 สาเหตุที่ทาให้เกิดโรคอ้วน เพราะ “ตามใจปากมากเกินไป”กินมากเกินความ
ต้องการของร่างกาย
 อาหารที่กิน เนื้อ ไขมัน หรือแป้ ง ของหวาน สิ่งเหล่านี้จะถูกเก็บสะสมไว้ใน
ร่างกาย ถ้ามีมากเกินไปก็จะกลายเป็นไขมันพอกพูนตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
 หรือเป็นเพราะ “ออกกาลังกายน้อย หรือ มีพฤติกรรมกินแล้วนอน”
 นิสัยในการรับประทาน
คนที่มีนิสัยการรับประทานที่ไม่ดี เรียกว่า กินจุบกินจิบไม่เป็ นเวลา
 ขาดการออกกาลังกาย
ถ้ารับประทานอาหารมากเกินกว่าที่ร่างกายต้องการ แต่ได้ออกกาลังกายบ้างก็
อาจทาให้อ้วนช้าลง แต่หลายคนไม่ได้ยืดเส้นยืดสาย ไม่ช้าจะเกิดการสะสมเป็น
ไขมันในร่างกาย
เกิดจากสาเหตุภายนอก
เกิดจากสาเหตุภายใน
 พบได้จากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ เช่น ต่อมใต้สมอง ต่อ
ไทรอยด์ ทาให้มีไขมันตามบริเวณต้นแขน ต้นขา และหน้าท้อง
 จิตใจและอารมณ์
 มีคนเป็นจานวนไม่น้อยที่การกินอาหารขึ้นอยู่กับจิตใจและอารมณ์
 เช่น กินดับความโกรธ ดับความคับแค้นใจ กลุ้มใจ กังวลใจ หรือดีใจ
 บุคคลเหล่านี้ จะรู้สึกว่าอาหารที่ทาให้จิตใจสงบ จึงหันมายึดเอาอาหารไว้เป็นที่พึ่งทางใจ
ตรงกันข้ามกับบางคนกลุ้มใจเสียใจก็กินไม่ได้ นอนไม่หลับ
เกิดจากสาเหตุภายใน
 ความไม่สมดุลระหว่างความรู้สึกอิ่มกับความหิว
เมื่อใดที่ความอยากเพิ่มขึ้น เมื่อนั้นการกินก็จะเพิ่มมากขึ้น
ถึงขั้นเรียกว่า “กินจุ” ในที่สุดก็อ้วนเอาๆ
กรรมพันธุ์
 ซึ่งพบได้น้อย และกรรมพันธุ์นี้พิสูจน์ไม่ได้
 แต่ถ้า พ่อและแม่อ้วนทั้งสองคน ลูกจะมีโอกาสอ้วนได้ถึงร้อยละ 80
 ถ้า พ่อหรือแม่คนใดคนหนึ่งอ้วน ลูกมีโอกาสอ้วนได้ถึงร้อยละ 40
โรคประจาตัว
 โรคอ้วนนาไปสู่โรคต่างๆ อย่างไร
 ในปัจจุบันการศึกษาวิจัยจากหลายสถาบันทาให้ทราบว่า โรคอ้วน เป็นสาเหตุ
ตั้งต้น ของโรคกลุ่มเมแทบอลิกซินโดรม โดยทาให้เกิดอาการและโรคต่างๆ ดังนี้
โรคเบาหวานประเภทที่ 2 โรคไขมันในเลือดผิดปกติ
โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
 โรคอ้วนทาให้มีความผิดปกติในการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรต เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน
 เกิดจากการมีเซลล์ไขมันมาก และจะมีการย่อยสลายไขมันทาให้เกิดกรดไขมันอิสระ ออกมาใน
กระแสเลือดมาก และขัดขวางการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนอินซูลิน
 ซึ่งปกติฮอร์โมนอินซูลินจะทาหน้าที่รักษาระดับน้าตาลในเลือดให้เป็นปกติอยู่เสมอ
 การศึกษาเกี่ยวกับเมแทบอลิกซินโดรมในเด็ก พบว่า ภาวะนี้ มีความชุกเพิ่มขึ้น ตามความ
รุนแรงของโรคอ้วน
 ในกลุ่มเด็กที่อ้วนมาก อาจพบเมแทบอลิกซินโดรมได้มากกว่าเด็กปกติ ถึงร้อยละ ๕๐ ใน
ประเทศไทย มีการศึกษาวิจัยที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ในช่วง พ.ศ. ๒๕๓๙ -
๒๕๔๒ พบว่า ความชุกของโรคอ้วนในเด็กเพิ่มสูงขึ้นมาก และมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด
กับการเพิ่มขึ้น ของโรคเบาหวานประเภทที่ ๒ ในเด็กอ้วน
โรคเบาหวานประเภทที่ 2
 ภาวะที่พบในคนอ้วน ได้แก่ ไตรกลีเซอไรด์ มีระดับสูง แอลดีแอล คอเลสเตอรอล มี
ระดับสูงกว่าปกติ
 ส่วนเอชดีแอลคอเลสเตอรอล มีระดับต่ากว่าปกติ
 ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดที่มีมากเกินไป จะถูกนาไปเก็บสะสม หรือย่อยเป็นกรดไขมันอิสระ
ซึ่งมีฤทธิ์เป็นพิษต่อบีตาเซลล์ในตับอ่อน ทาให้เกิดโรคเบาหวาน
 นอกจากนั้นระดับไขมันในเลือดสูง ยังทาให้หลอดเลือดอักเสบ ซึ่งนาไปสู่โรคหัวใจและ
หลอดเลือดในเวลาต่อมา
โรคไขมันในเลือดผิดปกติ
 เมื่อมีระดับน้าตาลในเลือดสูงและไขมันในเลือดสูง ทาให้หลอดเลือดมีการอักเสบ
หรือตีบตัน ความยืดหยุ่นของหลอดเลือดเสียไป เป็นผลทาให้เกิดโรคความดัน
โลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 จากสาเหตุของโรคไขมันในเลือดผิดปกติและความดันโลหิตสูง หากมีการ
อักเสบหรือตีบตันในหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ ก็ทาให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งเป็น
สาเหตุหนึ่งที่ทาให้เสียชีวิตได้
 อนึ่ง หากมีการตีบตันของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะอื่นๆ โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งจากการที่มีระดับน้าตาลและไขมันในเลือดสูง ก็จะมีผลเสียต่อร่างกายเช่นกัน เช่น
เส้นเลือดที่สมองตีบ ทาให้เป็นอัมพาต หรืออัมพฤกษ์
โรคหัวใจและหลอดเลือด
จากการกินยาบางชนิด
 ส่งผลกระทบให้อ้วน
 ผู้ป่วยบางโรคได้รับฮอร์โมนสเตียรอยด์เป็ นเวลานาน ก็ทาให้อ้วนได้
 และในผู้หญิงที่ฉีดยาหรือกินยาคุมกาเนิดก็ทาให้อ้วนง่ายเช่นกัน
เพศ
 เพศหญิงนั้นมักอ้วนกว่าเพศชาย
 ก็เพราะว่า “ธรรมชาติของเธอมักสรรหาจะกิน กิน และกิน ตลอดเวลา อีกทั้งตอน
ตั้งครรภ์ ก็ต้องกินมากขึ้น เพื่อบารุงร่างกายและลูกน้อยในครรภ์”
 แต่หลังจากคลอดลูกแล้ว บางรายก็ลดน้าหนักลงมาได้ แต่บางรายก็ลดไม่ได้
 ผู้หญิงทางานน้อย ออกกาลังน้อยกว่าชาย ผู้หญิงอ้วนมากกว่าผู้ชาย 4 : 1
อายุ
 “เมื่ออายุมากขึ้น โอกาสโรคอ้วนถามหาก็ง่ายขึ้น”
 เนื่องจากพออายุมาก มีความเชื่องช้า ใช้พลังงานน้อยลง กินมากกว่าใช้
 หญิงและชายที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป มักจะอ้วนง่าย เพราะคนวัยนี้ ยังอยู่ในวัย
ทางานมาก กินมากขึ้นเพื่อชดเชยพลังงานที่ถูกใช้ไป
 คนมีสุขภาพจิตดีมักมีรูปร่างสมส่วนแข็งแรง บางคนสุขภาพจิตไม่ดี อารมณ์
เครียดเป็นประจา ทาให้เกิดความท้อถอย เบื่อหน่าย ขี้เกียจออกกาลังกาย โรคอ้วน
ก็จะถามหาได้
ประเภทของความอ้วน
 อ้วนแบบลูกแอปเปิ้ ล (apple-shape obesity) หรือ อ้วน
ลงพุง (central obesity)
คนอ้วนที่มีรอบเอวใหญ่กว่ารอบสะโพก
เกิดจากมีไขมันสะสมมากในช่องท้องและอวัยวะภายใน
ไขมันที่อยู่ในอวัยวะภายในนี้จะเป็นตัวการที่ทาให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ
เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคความดันโลหิตสูง
 อ้วนแบบลูกแพร์ (pear-shape obesity) หรืออ้วนชนิดสะโพกใหญ่
 ส่วนใหญ่เป็นลักษณะที่พบในเพศหญิง โดยจะมีไขมันสะสมอยู่มากบริเวณสะโพกและน่อง
 อ้วนลักษณะนี้ยากต่อการลดน้าหนัก แต่โอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ จะน้อยกว่าชนิด
แรก
 อ้วนทั้งตัว (generalized obesity)
 ได้แก่ คนอ้วนที่มีไขมันทั้งตัวมากกว่าปกติกระจายตัวอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
โดยรอบ
 มีทั้งลงพุงและสะโพกใหญ่ รวมถึงมีโรคแทรกซ้อนทุกอย่างดังกล่าว
 และโรคที่เกิดจากน้าหนักตัวมากโดยตรง เช่น โรคทางไขข้อ ปวดข้อ ข้อเสื่อม ปวดหลัง
เหนื่อยง่าย หายใจลาบากเพราะไขมันสะสม ทาให้ระบบหายใจทางานติดขัด
การรักษา
การรักษาโรคอ้วน
การออกกาลังกาย
การควบคุมอาหาร
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ยาลดน้าหนัก
การคงน้าหนักตัวหลังลดแล้ว
การผ่าตัด
โฆษณารณรงค์
โฆษณารณรงค์
โฆษณารณรงค์ จาก สสส.
โฆษณาลดความอ้วนจากนักศึกษา
 นอกจากนี้ สสส. ยังสนับสนุนและรณรงค์โครงงาน “ลดพุงลดโรค” ด้วยการจัดทา
โฆษณาวิธีลดพุง เช่น
โฆษณารณรงค์ จาก สสส.
โฆษณาทัวร์อวัยวะ โรคอ้วนลงพุง
โฆษณาลดปรุง 30 วินาที
โฆษณาลดพุง ลดโรค 90 วินาที
โฆษณาคนไทยซ่อนอ้วน ลดพุงลดโรค
โฆษณาทัวร์อวัยวะ โรคอ้วนลงพุง
โฆษณาลดปรุง 30 วินาที
โฆษณาลดพุง ลดโรค 90 วินาที
โฆษณาคนไทยซ่อนอ้วน ลดพุงลดโรค
โฆษณาลดความอ้วนจากนักศึกษา
โฆษณา " 10 วิธี ลดพุง ลดโรค "
โฆษณารณรงค์ลดความอ้วน
โฆษณา " 10 วิธี ลดพุง ลดโรค "
โฆษณารณรงค์ลดความอ้วน
 การลดน้าหนัก คือ การลดพลังงานที่รับประทาน มากกว่าการจากัดอาหารประเภทใด
ประเภทหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นการใช้สูตรอาหารคาร์โบไฮเดรตน้อย โปรตีนสูง หรือสูตรใดๆก็ตาม
 เพราะเมื่อผ่านไปประมาณ 6 เดือน น้าหนักที่ลดลงจะไม่แตกต่างกัน โดยการ
รับประทานอาหารที่ให้พลังงานลดลงจากเดิมวันละ 500 กิโลแคลอรี จะทาให้น้าหนักลดลง
ประมาณ 0.5 กิโลกรัมต่อสัปดาห์
 และโดยทั่วไปควรจะจากัดพลังงานที่ได้รับให้อยู่ที่ประมาณ 1,200 กิโลแคลอรีต่อ
วัน โดยอาหารที่รับประทานควรให้มีปริมาณของสารอาหารครบถ้วน เลือกรับประทานข้าวไม่
ขัดสี ธัญพืช ผักหลากสี และผลไม้
การควบคุมอาหาร
 สาหรับการคานวณพลังงานจากอาหารสามารถทาได้คร่าวๆ โดยแบ่งอาหารเป็น 6 หมวดดังนี้
หมวดข้าว แป้ ง เช่น ข้าว 1 ทัพพี ขนมปัง 1 แผ่น ก๋วยเตี๋ยว 1 ทัพพี คิดเป็นพลังงาน
80 กิโลแคลอรี
หมวดผัก เป็นหมวดที่ให้พลังงานน้อย แต่ให้เลือกรับประทานผักใบ หลีกเลี่ยงผักที่เป็นหัว
หมวดผลไม้ ให้พลังงาน 60 กิโลแคลอรี ต่อ 1 ส่วน เช่น แอปเปิล 1 ลูก กล้วยน้าว้า
1 ผล ชมพู่ 3 ผล สัปปะรด 6 ชิ้นพอคา เป็นต้น
 ** ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการรับประทานผลไม้ปริมาณมากไม่สามารถทาให้น้าหนักลดลง **
หมวดโปรตีน ให้เน้นเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน
หมวดนม ถ้าดื่มนมต้องเป็นนมขาดมันเนยเพื่อลดพลังงานลง
หมวดไขมัน เป็นอาหารที่ให้พลังงานมากที่สุดคือ น้ามัน 1 ช้อนชาให้ 45 กิโลแคลอรี
 ** ดังนั้นต้องหลีกเลี่ยงของมัน ของทอด **
การควบคุมอาหาร
 นอกจากนี้อาหารประเภทผัดหรือทอดจะให้พลังงานสูงกว่าอาหารที่ต้ม นึ่ง
เช่น ก๋วยเตี๋ยวน้า 1 ชาม (350 กิโลแคลอรี) จะให้พลังงานน้อยกว่าก๋วยเตี๋ยว
ผัดซีอิ๊ว 1 จาน (600 กิโลแคลอรี)
น้าตาล 1 ช้อนชาให้พลังงาน 20 กิโลแคลอรี ซึ่งเครื่องดื่มส่วนใหญ่มี
น้าตาล 3-6 ช้อนชา เช่น นมเปรี้ยว ยาคูลท์ กาแฟกระป๋อง เป็นต้น
 ผู้ที่ตั้งใจลดน้าหนักจึงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสหวานจัด รสมันจัด
เครื่องดื่มที่มีน้าตาล และในผู้ที่ควบคุมอาหารควรได้แคลเซียมและวิตามินทดแทนโดย
ควรปรึกษาแพทย์
การควบคุมอาหาร
 การออกกาลังกายที่ดีจะสามารถลดน้าหนักตัวและควบคุมน้าหนักตัวที่ลดลง
ไม่ให้กลับมาเพิ่มขึ้นอีก
 โดยควรออกกาลังกายชนิดแรงถึงปานกลางเป็นเวลาอย่างน้อย 30 นาที
ต่อวัน 5-7 วันต่อสัปดาห์
 ในกรณีที่ออกกาลังกายต่อเนื่องไม่ไหว ให้แบ่งเป็นช่วงๆ ช่วงละ 10 -15
นาที และทา 3-4 ครั้งต่อวัน
 โดยการออกกาลังกายจะช่วยเพิ่มกล้ามเนื้อ ถึงแม้น้าหนักจะไม่ลดลง แต่ก็ทา
ให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น
การออกกาลังกาย
 อย่างไรก็ตาม พลังงานที่ใช้ไปในการออกกาลังกายในแต่ละอย่างอาจไม่มาก
เท่าที่คิด เช่น เดินช้าจะใช้พลังงาน 150 กิโลแคลอรีต่อชั่วโมง เดินธรรมดา
300 กิโลแคลอรีต่อชั่วโมง เดินเร็ว 420-480 กิโลแคลอรีต่อชั่วโมง ขี่
จักรยาน 250-500 กิโลแคลอรีต่อชั่วโมงเป็นต้น
 จะเห็นว่าการนาพลังงานออก 500 กิโลแคลอรีเป็นเรื่องทาได้ยาก เมื่อ
เปรียบเทียบการรับประทาน หรือการนาพลังงานเข้า 500 กิโลแคลอรี
การออกกาลังกาย
 สามารถทาได้ด้วยการปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 เช่น ควรรับประทานเฉพาะเวลาอาหาร งดการรับประทานเวลาดูโทรทัศน์ และ
รับประทานอาหารช้าๆ ไม่ควรปล่อยให้หิวจัด เพราะจะทาให้รับประทานมาก
เป็นต้น
 นอกจากนี้การจดบันทึกอาหารที่รับประทานจะช่วยให้ไม่รับประทานมาก
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
 ปัจจุบันมียา Orlistat เพียงชนิดเดียวที่ได้รับการยอมรับจากองค์การอาหาร
และยาให้ใช้ได้นาน 2 ปี
 ยาออกฤทธิ์โดยลดการดูดซึมไขมันจากลาไส้เล็กร้อยละ 30 โดยควรรับประทาน
พร้อมอาหารในขนาด 120 มิลลิกรัม วันละ 3 เวลา แต่มีผลข้างเคียงคือถ่าย
อุจจาระบ่อย
 ยาอาจลดการดูดซึมของวิตามินที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ ดี อี เค และ
พบว่าสามารถลดระดับไขมันแอลดีแอล ซึ่งเป็นคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี ได้จากการลด
การดูดซึมของคอเลสเตอรอล
ยาลดน้าหนัก
ตัวอย่างโฆษณายาลดความอ้วน อันตรายจากยาลดความอ้วน
ตัวอย่างโฆษณายาลดความอ้วน
ตัวอย่างโฆษณายาลดความอ้วน
ตัวอย่างโฆษณายาลดความอ้วน
อันตรายจากยาลดความอ้วน
 ในปัจจุบันพบว่าการนายาลดความอ้วนไปใช้ในทางที่ผิดมีมากขึ้น เนื่องจากผู้ป่วย
ได้รับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องจากสื่อต่างๆ และการซื้อยาลดความอ้วนสามารถหาซื้อเองได้ง่าย
 โดยไม่ได้มีการแนะนาจากแพทย์หรือเภสัชกรที่เหมาะสม ส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับ
ผลข้างเคียงที่รุนแรงจากการใช้ยา
 จากการสารวจของกองควบคุมวัตถุเสพติด พบว่ายาชุดลดความอ้วนมักจะ
ประกอบไปด้วยยาหลายชนิดเพื่อช่วยเสริมผลในการลดน้าหนัก ซึ่งจัดไว้เป็นชุดให้
รับประทานเหมือนกันในแต่ละวัน
 ยาชุดลดความอ้วนจะประกอบไปด้วยยาประมาณ 1-7 รายการ ดังต่อไปนี้
ยาลดความอยากอาหาร
 เช่น เฟนเตอมีน (Phentermine)
 เป็นยาในกลุ่มแอมเฟตามีน
 ยากลุ่มนี้จะออกฤทธิ์กระตุ้นศูนย์ควบคุมความอิ่มทาให้เกิดอาการเบื่ออาหาร
 ผลข้างเคียงที่เกิดจากยากลุ่มนี้ เช่น นอนไม่หลับ กระสับกระส่าย ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว
ความดันโลหิตสูง อาจหมดสติหรือชักได้ เป็นต้น
 มีข้อบ่งชี้ในการรักษาโรคอ้วนโดยตรงแต่ให้ใช้ในระยะสั้นเท่านั้น เช่น ไม่ควรใช้เกิน 3-6 เดือน
ยาลดความอยากอาหาร
หากรับประทานยาลดความอ้วนกลุ่มนี้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทาให้เกิด
การติดยาได้ เนื่องจากยามีฤทธิ์ทาให้เคลิ้มมีความสุข และถ้าหากหยุดยา
ทันทีทันใด อาจเกิดภาวะถอนยาได้
อาการถอนยาดังกล่าวได้แก่ สับสน หวาดระแวง ประสาทหลอน เป็นต้น
ยากลุ่มนี้จัดเป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภท 2 ดังนั้นการใช้ยา
กลุ่มนี้จึงควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์
ไทรอยด์ฮอร์โมน
 เป็นยาที่ใช้รักษาผู้ป่วยที่มีภาวะฮอร์โมนไทรอยด์ต่ากว่าปกติ
 ยามีผลเพิ่มอัตราการเผาผลาญพลังงานของร่างกาย ทาให้น้าหนักลดลงเร็ว
 ยากลุ่มนี้ทาให้เกิดผลข้างเคียงหลายอย่าง เช่น น้าหนักที่ลดลงเป็นน้าหนักที่ลดลงที่
เกิดจากน้าหนักตัวที่ปราศจากไขมัน (lean body mass) แทนที่จะเป็นไขมัน
 เป็นการทาลายโปรตีนของกล้ามเนื้อ มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือดได้ เช่น ทาให้
ใจสั่นหรือหัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นต้น
ยาขับปัสสาวะ
 มีผลขับปัสสาวะออกจากร่างกาย ทาให้น้าหนักลดลงเร็วหลังใช้ยา
 แต่ยาขับปัสสาวะไม่มีผลในการลดแคลอรีที่ร่างกายได้รับ มีผลเพียงทาให้
ปริมาณน้าในร่างกายลดลงเท่านั้น
 นอกจากนี้ยังทาให้สูญเสียสมดุลของเกลือแร่ที่สาคัญต่อร่างกายไปด้วย ซึ่ง
อาจทาให้เกิดอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายอาการผิดปกติต่อหัวใจ สมอง และอาจ
มีอันตรายถึงแก่ชีวิตได้
 ยากลุ่มนี้ไม่ควรนามาใช้ในการลดน้าหนักอย่างยิ่ง
ยาถ่ายหรือยาระบาย
 กระตุ้นลาไส้ใหญ่ให้บีบตัวทาให้ถ่ายมากหรือบ่อยขึ้น เพื่อขับไล่อาหารออกจาก
ทางเดินอาหารภายหลังการรับประทานยาเข้าไป ทาให้รู้สึกว่าน้าหนักลดลง
 แต่การใช้ยาระบายในปริมาณมากเกินไปอาจทาให้เกิดอาการท้องเดิน ร่างกาย
สูญเสียสมดุลของน้าและเกลือแร่ เกิดอันตรายได้
 การใช้ยาระบายติดต่อกันนานๆ ส่งผลร่างกายเริ่มทนต่อยา คือ การใช้ยาใน
ขนาดเท่าเดิมแต่ให้ผลการรักษาลดลง
 หากต้องการผลการรักษาเท่าเดิม ต้องเพิ่มขนาดยามากขึ้น ดังนั้นควรใช้ยา
ระบายเพื่อบรรเทาอาการท้องผูกเท่านั้น ไม่ควรนามาใช้ในการลดความอ้วน
ยาลดการหลั่งของกรดในกระเพาะอาหาร
 ยานี้ไม่มีผลต่อการลดน้าหนัก แต่ใช้เพื่อลดผลข้างเคียงที่อาจเกิดจากยาลด
ความอยากอาหารที่มีผลทาให้ไม่หิว
 ดังนั้นร่างกายจึงไม่ได้รับอาหารหรืออาจได้รับอาหารเพียงเล็กน้อย
 การที่ร่างกายไม่ได้รับอาหารแต่ยังมีกรดในกระเพาะอาหารหลั่งเพื่อย่อยอาหาร
อยู่ อาจเป็นเหตุให้เกิดโรคกระเพาะได้
 จึงให้ยานี้เพื่อลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
ยาลดอัตราการเต้นของหัวใจ
 เช่น โพรพราโนลอล (Propranolol)
 ปกติจะใช้เพื่อรักษาโรคความดันโลหิตสูงและโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
 การใช้ร่วมกับยาชุดลดความอ้วนนั้น เพื่อลดอาการใจสั่นที่เป็นผลข้างเคียงของยาลด
ความอยากอาหาร และไทรอยด์ฮอร์โมน
 ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากยาลดอัตราการเต้นของหัวใจ ได้แก่ เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
หัวใจเต้นช้า ความดันโลหิตต่า เป็นต้น
ยานอนหลับหรือยาที่มีฤทธิ์ข้างเคียงทาให้ง่วงนอน
 เช่น ไดอะซีแพม (Diazepam)
 ใช้เพื่อลดผลข้างเคียงจากยาลดความอยากอาหาร
 กระตุ้นระบบประสาทส่วนกลางทาให้นอนไม่หลับ
 ยาในกลุ่มยานอนหลับนี้ยังจัดเป็นวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภทที่ 2 ดังนั้นการ
ใช้ยากลุ่มนี้ควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์
 นอกจากนี้หากรับประทานยากลุ่มนี้ในขนาดที่สูงเกินไป อาจมีผลทาให้เกิดการกดการ
หายใจและความดันโลหิตต่าได้
รู้ทันโฆษณาลดความอ้วน
จะเห็นได้ว่ายาชุดลดความอ้วนดังกล่าว ประกอบด้วยยาที่มีผลลดน้าหนัก
โดยตรงและยาอื่นๆ ที่ไม่มีผลลดน้าหนักโดยตรง แต่เป็นยารักษาโรคอื่นที่นามาใช้
เพื่อลดผลข้างเคียงจากการใช้ยาลดความอ้วน แต่กลับส่งผลให้ได้รับอันตรายจาก
ผลข้างเคียงมากมาย ดังนั้นการหาซื้อยาลดความอ้วนมาใช้เองโดยที่ไม่มีแพทย์ดูแล
อย่างใกล้ชิด อาจส่งผลเสียต่อร่างกายต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
รู้ทันโฆษณาลดความอ้วน
 การผ่าตัดเพื่อควบคุมน้าหนักตัวในคนที่อ้วนมาก (ดัชนีมวลกายมากกว่าหรือ
เท่ากับ 40 กิโลกรัม/เมตร2) หรือในคนที่มีดัชนีมวลกาย 35-39.9 กิโลกรัม/
เมตร ร่วมกับภาวะแทรกซ้อนของโรคอ้วนอย่างน้อยหนึ่งอย่าง เช่น ความดันโลหิต
สูง หัวใจล้มเหลว โรคเบาหวาน หรือโรคหยุดหายใจขณะนอน (Obstructive
sleep apnea)
 ผู้ที่ต้องการผ่าตัดควรต้องปรึกษาแพทย์ และควรเข้าใจวิธีการปฏิบัติตน
ทั้งก่อนและหลังการผ่าตัด
การผ่าตัด
 การทาให้น้าหนักที่ลดลงได้แล้วไม่กลับมาเพิ่มขึ้นใหม่ ถือว่าเป็นเรื่องยากกว่าการลด
น้าหนัก เนื่องจากร่างกายจะปรับตัวใช้พลังงานลดลง
 ดังนั้นนอกจากการควบคุมอาหารแล้ว การควบคุมน้าหนักตัว ยังต้องเพิ่มการออก
กาลังกาย 60 นาทีต่อวันอีกด้วย และควรทาให้ได้ทุกวัน
การคงน้าหนักตัวหลังลดแล้ว
ข้อมูลอ้างอิง
 สารานุกรมไทยสาหรับเยาชนฯ. (ม.ป.ป.). “โรคอ้วน (Obesity)”. ค้นคว้าจากเว็บไซต์ :
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=
33&chap=7&page=t33-7-infodetail03.html. (ค้นคว้าเมื่อ กุมภาพันธ์
2559).
 อภัสนี บุญญาวรกุล. (2558). “โรคอ้วน”. ค้นคว้าจากเว็บไซต์ :
http://www.healthtoday.net/thailand/disease/diisease_134.
html. (ค้นคว้าเมื่อ กุมภาพันธ์ 2559).
 Healthcorners. (2557). “โรคอ้วนคืออะไร? เช็คให้ชัวร์ว่าเราเข้าข่ายหรือไม่”. ค้นคว้า
จากเว็บไซต์ : http://www.lovefitt.com/healthy-fact/โรคอ้วนคืออะไร-เช็คให้ชัวร์
ว่าเราเข้าข่ายหรือไม่/. (ค้นคว้าเมื่อ กุมภาพันธ์ 2559).
 ศิรดา เด่นชูวงศ์. (ม.ป.ป.). “อันตรายจากยาชุดลดความอ้วน”. ค้นคว้าจากเว็บไซต์ :
http://www.pharmacy.mahidol.ac.th/dic/knowledge_full.php
?id=15. (ค้นคว้าเมื่อ กุมภาพันธ์ 2559).
ผู้จัดทา
นางสาวอุมาพร เขียวยะ เลขที่ 29
นางสาวณัฐกฤตา พชรธนโกศล เลขที่ 37
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/4
จบการนาเสนอ
THE END

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
techno UCH
 
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านมมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
Min Pchw
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
PloyLii
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
techno UCH
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
techno UCH
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
Dashodragon KaoKaen
 

Mais procurados (20)

การรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านมการรักษามะเร็งเต้านม
การรักษามะเร็งเต้านม
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อมคู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
 
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านมมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
มะเร็งปากมดลูกและเต้านม
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
Teenage pregnancy
Teenage pregnancyTeenage pregnancy
Teenage pregnancy
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 

Semelhante a โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน

โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
Wan Ngamwongwan
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
sumethinee
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
sumethinee
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
weerawatkatsiri
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
Suparnisa Aommie
 
2013-03-16_แผนการสอนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง.doc
2013-03-16_แผนการสอนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง.doc2013-03-16_แผนการสอนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง.doc
2013-03-16_แผนการสอนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง.doc
ssuserb57a3f
 

Semelhante a โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน (20)

โรคอ้วน007
โรคอ้วน007โรคอ้วน007
โรคอ้วน007
 
โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13โรคอ้วน 1/13
โรคอ้วน 1/13
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกาย
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
ใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดีใบงานที่ 2 สารคดี
ใบงานที่ 2 สารคดี
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
2013-03-16_แผนการสอนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง.doc
2013-03-16_แผนการสอนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง.doc2013-03-16_แผนการสอนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง.doc
2013-03-16_แผนการสอนประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง.doc
 

Mais de นอนอ. ยิ้มแฉ่งง'

Mais de นอนอ. ยิ้มแฉ่งง' (12)

คอม นายกษิดิ์เดช-บุษย์ศรี
คอม นายกษิดิ์เดช-บุษย์ศรีคอม นายกษิดิ์เดช-บุษย์ศรี
คอม นายกษิดิ์เดช-บุษย์ศรี
 
โครงร่างโครงงานคอม3
โครงร่างโครงงานคอม3โครงร่างโครงงานคอม3
โครงร่างโครงงานคอม3
 
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ GAT/PAT, วิชาสามัญ 7 วิชา
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ GAT/PAT, วิชาสามัญ 7 วิชา รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ GAT/PAT, วิชาสามัญ 7 วิชา
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ GAT/PAT, วิชาสามัญ 7 วิชา
 
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ GAT/PAT, วิชาสามัญ 7 วิชา
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ GAT/PAT, วิชาสามัญ 7 วิชา รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ GAT/PAT, วิชาสามัญ 7 วิชา
รูปแบบและตัวอย่างข้อสอบ GAT/PAT, วิชาสามัญ 7 วิชา
 
Com law-2550
Com law-2550Com law-2550
Com law-2550
 
Lawcomputer
LawcomputerLawcomputer
Lawcomputer
 
ใบงานที่1แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่1แบบสำรวจและประวัติใบงานที่1แบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่1แบบสำรวจและประวัติ
 
กำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จ
กำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จกำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จ
กำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จ
 
กำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จ
กำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จกำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จ
กำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จ
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน