SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 57
ศิลปวัฒนธรรม 
สมัยใหม่
7.1 ศิลปะบารอก(Baroque) 
ศิลปะบารอกเกิดขึน้เมื่อประมาณคริสต์ศตวรรษที่16 สืบต่อจาก 
ศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา และเสื่อมความนิยมเมื่อประมาณกลาง 
คริสต์ศตวรรษที่ 18
ลักษณะของศิลปะบารอกเปลี่ยนแปลงจากศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา ซึ่ง 
แสดงอารมณ์สงบนิ่งแฝงปรัชญามาเป็นอารมณ์พลุ่งพล่าน แสดงความดิน้รน เครื่อง 
ไหว หรือสร้างให้มีรูปทรงบิดผันจนเกินงามหรือประณีตบรรจงเกินไป และเน้น 
บรรยากาศโอ่อ่าหรูหราเป็นพิเศษ ศิลปะแนวนีรุ้่งเรืองมากในอิตาลีและกลุ่มประเทศ 
คาทอลิก
1.จิตรกรรม 
ส่วนใหญ่ยังคงรับรูปแบบและเทคนิคจากสมัยเรเนสซองส์นิยมใช้สีสดและ 
ฉูดฉาด ภาพวาดมักปรากฎตามวัด วัง และคฤหาสน์ของชนชัน้กลางผู้มงั่ 
คงั่ แสดงชีวิตความเป็นอยู่ที่หรูหราสุขสบายของเจ้านายและเรื่องราวที่ 
เกี่ยวข้องกับคริสต์ศาสนา
มีการลวงตาด้วยเส้น สี แสง เงา และใช้หลักทัศนียวิสัย 
ทาให้ภาพมีลักษณะกินตาเป็นภาพสามมิติ จิตรกรสาคัญ 
ได้แก่ มีเกลันเจโล ดา การารัจโจ 
(Michelangelo da Caravaggio ค.ศ.1573-1610) ชาวอิตาลี 
มีเกลันเจโล ดา การารัจโจ 
(Michelangelo da Caravaggio)
เรมบรันต์ 
(Rembrandt ค.ศ.1606-1669) 
ชาวดัตช์ 
และพีเตอร์ พอล รูเบนส์ 
(Peter Paul Rubens ค.ศ. 1577-1644) 
ชาวเฟลมิช
2. สถาปัตยกรรม 
นิยมสร้างให้ดูโอ่อ่า โอฬารเกินความจาเป็น ตัวอย่างเช่น 
สถาปัตยกรรมภายในพระราชวังแวร์ซายของฝรั่งเศส ซงึ่สร้างขึน้ในสมัย 
พระเจ้าหลุยส์ที่ 14
3. ดนตรี 
ทัง้เพลงศาสนาและไม่ใช่เพลงศาสนา มีท้งการร้องเดี่ยวและการร้องแบบ 
อุปรากรณ์ ใช้ดนตรีและนักแสดงจานวนมาก นักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง ได้แก่ คลอดิโอ 
มอนเตเวอร์ดี (Claudio Monteverdi ค.ศ.1567-1643) ชาวอิตาลี 
คลอดิโอ มอนเตเวอร์ดี (Claudio Monteverdi )
4. วรรณกรรม 
วรรณกรรมแบบบารอกชอบเขียนเรื่องที่เกินจริง ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่17 ได้ชื่อ 
ว่าเป็นยุคทองแห่งวรรณกรรมยุโรป มีผลงานชนิ้เอกของนักประพันธ์ชาวอังกฤษและ 
ฝรั่งเศสเกิดขึน้มากมาย ที่เด่นคือ งานเขียนทางปรัชญาการเมืองของ จอห์น ลอค ( John 
Lock ) และผลงานของนักเขียนบทละครเสียดสสีังคมชัน้สูง ชื่อ โมลิแอร์ ( Moliere ) 
จอห์น ลอค ( John Lock ) โมลิแอร์ (Moliere )
นีโอคลาสสิกเป็นรูปแบบศิลปะที่อยู่ในระยะหัวเลยี้วหัวต่อระหว่างสมัยใหม่ 
กับสมัยเก่า ได้รับความนิยมในยุโรปเมื่อประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงกลาง 
คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นยุคที่มนุษย์มีการเปลี่ยนความรู้สึก ความเชื่อ และ 
ทัศนคติดั้งเดิมไปโดยสนิ้เชิง เนื่องมาจากการปฏิวัติและค้นพบทาง 
วิทยาศาสตร์ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เรียกได้ว่าเป็นสมัยแห่งภูมิปัญญญญา อาจ 
กล่าวได้ว่ายุคนี้จิตรกรรมมีความเจริญญมากที่สุด ซงึ่เรื่องราวเนือ้หาที่ 
ถ่ายทอด มักเป็นเรื่องราวตามเทพนิยายของกรีก และเรื่องราวเกี่ยวกับ สภาพ 
สังคม การปกครอง
สถาปัตยกรรม 
ลักษณะของศิลปะยุคนีมี้แนวความคิด และการสร้างงานลอกเลียน 
ศิลปกรรมโบราณ โดยเฉพาะศิลปะของกรีกยุคคลาสสิก แต่มีการปรับปรุง 
ใหม่ให้เหมาะสมกับสภาพเหตุการณ์ในสมัยนัน้ๆ โดยเน้นแสดงความสง่า 
งามของทรวดทรง ความสมดุลกลมกลืนได้สัดส่วน ผลงานศิลปะใน 
สมัยนีโอคลาสสิก งานสถาปัตยกรรมพบไม่ค่อยมากนัก 
* สถาปัตยกรรม มีทั้งการลอกเลียนและประยุกต์จากรูปแบบ 
คลาสสิกของกรีกและโรมัน *
"Monticello" ,Charlottesville, Virginia. 1769-84 AD. 
สถาปัตยกรรมในประเทศอเมริกา 
โดยสถาปนิก โธมัส เจเฟอร์สัน (Thomas Jefferson)
"University of Virginia " 
สถาปัตยกรรมในประเทศอเมริกา 
โดยสถาปนิก โธมัส เจเฟอร์สัน (Thomas Jefferson)
ภายในของ “Syon House”, Middlesex, England. 1760-69 AD. 
โดยสถาปนิก โรเบิร์ท อาดัม (Robert Adam) 
มีอิทธิพลของสถาปัตยกรรมกรีก
ประติมากรรมและจิตรกรรม 
จิตรกรรมมีลักษระเด่นคือ เน้นเรื่องเส้นมากกว่าการใช้สี มีความเรียบง่าย 
แต่สง่างามตามแบบศิลปะกรีก-โรมัน ส่วนประติมากรรม ผลงานมีลักษณะ 
คล้ายคลึงกับของกรีกโบราณ โดยเฉพาะการแต่งกาย เช่น รูปปั้นของพระ 
เยซูที่แต่งกายแบบกรีกโบราณ เป็นต้น 
เพิ่มเติม จิตรกรที่มีชื่อเสียงแห่งยุค คือ ฟรานซิสโก โกยา (Francisco 
Goya) ชาวสเปน เขียนภาพแสดงความเลวร้ายของชนชัน้ปกครองสเปน 
และความเสื่อมโทรมของศาสนจักรและสังคมในสมัยนัน้
Oath of the Horatii", 1784-5 AD. 
จิตรกรรมสีน้ามันบนผ้าใบ 
โดย จาค หลุยส์ เดวิด (Jacque Louis David)
"Death of Marat",1793 AD. 
จิตรกรรมสีน้ามันบนผ้าใบ 
โดย จาค หลุยส์ เดวิด (Jacque Louis David)
"Napoleon" 
จิตรกรรมสีน้ามันบน 
ผ้าใบ 
โดย ยัง ออกุสต์ โด 
มินิค แองเกรส (Jean 
Agust Dominique 
Angress) 
ท่าทางการแสดงออก 
ตามแบบอย่างศิลปะ 
กรีก
"George Washington“ 
ประติมากรรมจอร์จ วอชิงตัน ในประเทศอเมริกา 
โดย โฮราติโอะ กรีนอฟ (Horatio Greenough) 
มีลักษณะคล้าย โสเครตีส ประติมากรรมสมัยกรีก
นาฏกรรม 
บทละครนีโอคลาสสิก ได้รับอิทธิพลจากบทละครกรีกที่เน้นความ 
สมเหตุสมผลของเรื่อง และมุ่งสอนศีลธรรมแก่ผู้ชมควบคู่กับความบันเทิง 
มีทัง้บทละครประเภทโศกนาฏกรรมและสุขนาฏกรรม ฝรั่งเศสเป็นชาติแรก 
ที่เขียนบทละครในแนวคลาสสิกเมื่อประมาณกลางคริสต์ศตวรรษที่ 17
ดนตรี 
อิทธิพลของแนวความคิดในสมัยแห่งเหตุผลที่เชื่อมนั่ในภูมิปัญญาและ 
ความสามารถของมนุษย์ เปิดโอกาสให้นักดนตรี นักร้องและนักแต่งเพลง 
แสดงความสามารถส่วนตัวออกมาได้อย่างเต็มที่ เช่น การแสดงดนตรีเดี่ยว 
และการร้องเดี่ยวให้เพลงโอเปร่า เป็นต้น การประพันธ์เพลงจะยึด 
หลักเกณฑ์โดยเคร่งครัด นักดนตรีที่สาคัญได้แก่ โมสาร์ท (Mozart) 
และ บีโธเฟน (Beethoven)
โมสาร์ท (Mozart) 
บีโธเฟน (Beethoven)
เกิดขึน้ตัง้แต่ตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 
ศิลปะของโลกตะวันตกเป็นแบบจินตนิยม เป็นศิลปะที่ให้ความสาคัญกับ 
อารมณ์ความรู้สึก และธรรมชาติ โดยลดความเชื่อในเรื่องเหตุและระเบียบ 
แบบแผน ซงึ่เป็นลักษณะสาคัญของสมัยนีโอคลาสสิก รวมทัง้ให้ 
ความสาคัญแก่มนุษย์ในฐานะเป็นปัจเจกบุคคลมากกว่าส่วนรวม รวมทัง้ 
แฝงความรู้สึกชาตินิยมไว้ด้วย
สถาปัตยกรรม 
มีการนารูปแบบสถาปัตยกรรมในอดีตมาดัดแปลง ส่วนใหญ่จะได้รับ 
อิทธิพลจากสถาปัตยกรรมแบบกอธิก
ประติมากรรม 
ประติมากรรมจินตนิยมเน้นการแสดงอารมณ์ ความรู้สึก และแนวความคิ 
ประติมากรจินตนิยมที่มีชื่อเสียงของฝรั่งเศส ได้แก่ ฟรองซัว รูเด 
(Francois Rude ค.ศ.1784-1855) ผู้ปั้นประติมากรรมนูนสูงมาร์ซายแยส 
(Marseillaise) ประดับฐานอนุสาวรีย์ประตูชัย(Arch of Triumph) 
ในกรุงปารีส
รูปปั้นนูนสูง มาร์ซาร์แยส 
โดย ฟรองซัว รูเด
จิตรกรรม 
มีผลงานปรากฏน้อยกว่าวรรณกรรม แต่จิตรกรแสดงออกในอารมณ์และ 
ความรู้สึกของตนอย่างเต็มที่ ใช้สีฉูดฉาดตัดกันอย่างรุนแรง มักเป็น 
ภาพวาดทิวทัศน์ธรรมชาติหรือภาพสะท้อนสังคมสมัยการปฏิวัติ 
อุตสาหกรรม และการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่รุนแรง จิตรกรที่สาคัญ 
คือ โจเซฟ เทอร์เนอร์(Joseph Turner) ชาวอังกฤษ และเดอลาครัวซ์ 
(Delacroix) ชาวฝรั่งเศส
"Liberty Leading the People",1830 AD. 
จิตรกรรมสีน้ามันบนผ้าใบ 
โดย จิตรกรชาวฝรั่งเศษ เดอลาครัวส์ (Eugene Delacroix)
"Family of Charles IV" 1800 AD. 
จิตรกรรมสีน้ำมันบนผ้ำใบ 
โดย จิตรกรในรำชสำนักสเปญ โกยำ 
(Francisco de Goya)
"The Death of General Wolfe",1770. AD. 
จิตรกรรมสีน้ำมันบนผ้ำใบ 
โดย เบนจำมิน เวสต์(Benjamin West)
"The White Horse", 1819 AD. 
จิตรกรรมสีน้ำมันบนผ้ำใบ 
โดย คอนสเทเบิ้ล (John Constable)
ดนตรี 
เน้นการแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกอย่างรุนแรง โดยเฉพาะ 
ความรู้สึกชาตินิยม ทัง้นีเ้ป็นผลมาจากการบุกเบอกของบีโธเฟน 
(Beethoven) นักดนตรีชาวเยอรมันที่มีผลงานยอดเยี่ยมทัง้ในรูปแบบ 
คลาสสิกและโรแมนติก ประพันธ์กรอื่นๆ ที่มีชื่อเสียงในดนตรีโรแมนติก 
ได้แก่ ไชคอฟสกี (Tchaikovsky) ชาวรัฐเซีย และโชแปง (Chopin) ชาว 
โปแลนด์ เป็นต้น
โชแปง (Chopin) 
ไชคอฟสกี 
(Tchaikovsky) บีโธเฟน 
(Beethoven)
การละคร 
ละครสมัยโรแมนติกมีเนือ้หาง่ายๆ ไม่สลับซับซ้อน แต่เน้นบีบคัน้ทาง 
อารมณ์ของคนดู ให้ความรู้สึกเศร้าเสียใจตามตัวละคร ตัวเอกของเรื่องเป็น 
ตัวแทนของความดี มีอุดมคติ 
โยฮัน โวล์ฟกัง เกอเธ 
(Johann Wolfgang Goethe)
บทละครที่ยิ่งใหญ่เรื่อง “faust” 
โดย โยฮัน โวล์ฟกัง เกอเธ(Johann Wolfgang Goethe)
วรรณกรรม 
เน้นจินตนาการและอารมณ์ และถือว่าความต้องการของผู้ประพันธ์สาคัญ 
กว่าความต้องการของคนในสังคม บทร้อยกรองประเภทคีตกานต์(lyric) ซึ่ง 
เป็นโคลงสัน้ๆแสดงอารมณ์ของกวีได้รับความนิยมสูงสุดในสมัยนี้ 
“เหยื่ออธรรม”นวนิยายที่มีชื่อเสียง 
ของ วิคเตอร์ ฮูโก (Victor Hugo)
วิลเลียม เวิร์ดสเวิร์ธ 
(William Wordsorth) 
กวีสำ คัญของอังกฤษ 
วิคเตอร์ฮูโก 
(Victor Hugo) 
กวีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของฝร่งัศษษ
7.4 ลัทธิสัจนิยม realisticism 
ตัง้แต่ปลายช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา เป็นสมัยแห่งความเจริญทาง 
เทคโนโลยีและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ สังคมของยุโรปเปลี่ยนแปลงไปอย่าง 
รวดเร็ว การใช้ระบบเศรษฐกิจที่เป็นแบบทุนนิยมทาให้เกิดความขัดแย้งระหว่าง 
กรรมกรและนายทุน
ในขณะเดียวกันก็เกิดแนวความคิดแบบสังคมนิยม ซึ่งต่อต้านระบบนายทุน 
ต้องการ ให้ชนชัน้แรงงานเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต และมีอานาจทางสังคม 
และการเมือง อย่างไรก็ตาม ชนชัน้กลาง หรือนางทุนก็ยังสามารถรักษาสถานภาพ 
และอานาจในสังคมของตนไว้ได้
การเปลี่ยนแปลงเหล่านีท้าให้แนวความคิดทางศิลปะหันเหจากแนวจินตนิยมมา 
เป็นแนวสัจนิยม ซงึ่เป็นแนวคิดที่ตัง้อยู่บนพืน้ฐานความเป็นจริงของชีวิต โดยต้องการ 
ให้เห็นว่าโลกที่แท้จริงไม่ได้งดงามตามแบบที่พวกจินตนิยมเชื่อถือกัน ชีวิตต้องดนิ้รน 
ต่อสู้ มีการเอารัดเอาเปรียบและการขัดแย้งกันระหว่างชนชัน้ในสังคม
ลักษณะเด่นของสัจนิยม คือ การแสดงให้เห็นสภาพที่เป็นจริงของสังคม เปิดโปง 
ความชวั่ร้ายพวกนายทุน และความไม่ยุติธรรมที่กลุ่มผู้ใช้แรงงานได้รับ มักจะเน้นชีวิต 
ของพวกกรรมกรที่ทุกข์ยาก ชุมชนแออัด ความสับสนวุ่นวายในเมือง สภาพของคน 
ที่ยากไร้ การเอารัดเอาเปรียบของกลุ่มคนที่มีฐานะดีกว่า
ส่วนมากจะเป็นรายละเอียดของชีวิตประจาวันทุกด้านตามที่เป็นจริง พวกสัจนิยม 
ไม่นิยมเรื่องประวัติศาสตร์ เรื่องจินตนาการเพ้อฝัน และไม่มองโลกในแง่ดีเหมือนพวก 
จินตนิยม นอกจากนียั้งเสนอผลงานอย่างตรงไปตรงมาและเป็นกลาง
1.ด้านสถาปัตยกรรม 
เนื่องจากอุสาหกรรมและเศรษฐกิจขยายตัวอย่างรวดเร็ว จึงมีการสร้างโรงงาน 
ขนาดใหญ่ อาคารสานักงานที่สูงหลายๆชัน้กันมาก การก่อสร้างอาคารจะนาวัสดุที่ 
เกิดจากเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้ เช่น เหล็กกล้า เหล็กหล่อ คอนกรีตอัดแรง แผ่นกระจก 
เป็นต้น แทนที่จะใช้แต่อิฐ หิน และไม้แต่อย่างก่อน
อาคารส่วนใหญ่มีลักษณะเรียบง่าย ให้ใช้ประโยชน์ได้มากที่สุดในเนือ้ที่จากัด 
การออกแบบอาคารจึงต้องให้สอดคล้องกับประโยชน์ใช้สอย แต่ขณะเดียวกันก็ต้องมี 
ความงามทางศิลปะด้วย
2.ประติมากรรม 
นิยมปั้นและหล่อรูปคนมีรูปร่างสัดส่วนเหมือนคนจริง ผิว 
ของรูปปั้นหยาบและขรุขระไม่เรียบเนียน เมื่อมีแสงส่องกระทบจะ 
แลเห็นกล้ามเนือ้ชัดเจน
ศิลปินคนสาคัญคือโอกูสต์ โรแดง (Auguste Rodin ค.ศ.1840-1917) 
ซึ่งเป็นประติกรที่สาคัญที่สุดคนหนงึ่ของฝรั่งเศสและของโลก ผลงานชิน้เอก 
เช่น นักคิด (The Thinker) หล่อด้วยสาริด 
โอกูสต์ โรแดง (Auguste Rodin) 
The Thinker
3.จิตรกรรม 
มักสะท้อนสภาพชีวิตจริงของมนุษย์ในด้านลบ เช่น ชีวิตคนชัน้ต่าตามเมือง 
ใหญ่ๆ ชีวิตชาวไร่ชาวนาที่ยากไร้ในชนบท ศิลปะสัจนิยมมีกาเนิดในประเทศฝรั่งเศส
จากการริเริ่มของกูสตาฟ กูร์เบ 
(Gustave Courbet ค.ศ. 1819-1877) 
ซึ่งยึดถือหลักการสร้างงานให้เหมือนจริง 
และเป็นจริงตามที่ตาแลเห็น 
กูสตาฟ กูร์เบ (Gustave Courbet) 
The Burial at Ornans
4.ดนตรี 
สมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 และต้นคริสต์ศตวรรษที่20 มีการแต่งเพลงใน 
รูปแบบใหม่ ไม่ยึดถือแบบเก่าที่เคยมีมา ตามแนวความคิดที่ว่าดนตรีไม่ใช่สิ่งที่หล่อ 
ออกมาเป็นแบบประเพณีหรือมีรูปแบบตายตัว แต่ดนตรีจะต้องประกอบด้วยทัง้สีสัน 
และจังหวะ นักแต่งเพลงชาวฝรั่งเศส อีกอร์ สตราวีนสกี (Igor Stravinsky 
ค.ศ.1882-1971) นักแต่งเพลงชาวรัสเซีย 
( Igor Stravinsky )
5.การละคร 
พวกสัจนิยมมักสะท้อนภาพสังคมหรือภาพชีวิตในแง่มุมต่างๆ การ 
แสดงสมจริงเป็นธรรมชาติ บทเจรจาใช้ภาษาเหมาะแก่สภาพและฐานะ 
ของตัวละคร บทละครเขียนเป็นร้อยแก้ว
ผู้บุกเบิกละครแนวใหม่นี้คือ เฮนริก อิบเซน 
(Henrik Ibsen ค.ศ.1828-1906) 
นักแต่งบทละครชาวนอร์เวย์ ผู้แต่งเรื่อง บ้านตุ๊กตา (A Doll’s House) 
(Henrik Ibsen)
จอร์จ เบอร์นาร์ด ชอว์ (George Bernord Show ค.ศ.1856-1950) นัก 
แต่งบทละครชาวอังกฤษ เรื่องเอกของชอว์ได้แก่ เรื่อง อาร์มแอนด์เดอะแมน (Arms 
and the Man) 
George Bernord Show
6.วรรณกรรม 
นักเขียนสัจนิยมสนใจข้อเท็จจริงมากกว่าอารมณ์และความรู้สึก โดยพยายาม 
สะท้อนภาพการต่อสู้ดนิ้รนของมนุษย์ในสังคม ความเห็นแก่ตัว การแข่งขันเอารัดเอา 
เปรียบ ความยากจน และชีวิตที่ไร้ความหวัง นักประพันธ์และนักเขียนมักจะบรรยาย 
สภาพความเป็นอยู่ที่แร้งแค้นของกรรมกรตามชุมชนแออัด ความชวั่ร้ายจอมปลอมของ 
ชนชัน้กลาง มนุษย์ที่ตกเป็นเหยื่อของโชคชะตา
วรรณคดแีนวสัจนิยมเกิดขึน้ก่อนในประเทศฝรั่งเศส นักเขียนนวนิยาย 
ที่มีอิทธิพล ได้แก่โอโนเร เดอ บัลซัก (Honore de Bolzoc ค.ศ.1799-1850) 
และกูสตาฟว์ โฟลแบร์ (Gustav Flaubert ค.ศ.1821-1880) ทัง้สอง 
พยายามสะท้อนสภาพสังคมอย่างตรงไปตรงมา 
Honore de Bolzoc Gustav Floubert
Charles Dickens 
ในอังกฤษมีนักเขียนนวนิยายในแนวสัจนิยมหลายคน ที่รู้จักกันดีก็คือ ชาลส์ ดิก 
เกนส์ (Charles Dickens ค.ศ.1812-1870 ) ผู้เขียนนวนิยายเรื่อง โอลิเวอร์ ทวิสต์ 
(Oliver Twist) ซงึ่ชีใ้ห้เห็นสภาพที่น่าสงสารของคนจนและชนชัน้ต่าในสังคม งาน 
เขียนของดิกเกนส์ที่มีส่วนทาให้เกิดการปฏิรูปสังคมในอังกฤษเวลาต่อ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)kulwadee
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuumรายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuumIntouchYiengsuppanon
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติCapitano Oishi
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกJitjaree Lertwilaiwittaya
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้SeeGrundy
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง Sherry Srwchrp
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยmnfaim aaaa
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingpeter dontoom
 

Mais procurados (20)

วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 1(20มิ ย 53)
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuumรายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
รายงานสิ่งประดิษฐ์ PAP vacuum
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติพรบ.การศึกษาแห่งชาติ
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
ความเเตกต่างทางศิลปะของภาคเหนือเเละภาคใต้
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
Bond
BondBond
Bond
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
 
ภาพการ์ตูน
ภาพการ์ตูนภาพการ์ตูน
ภาพการ์ตูน
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmaking
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 

Destaque

ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางJuno Nuttatida
 
ศิลปะแบบ Op-Art (TH)
ศิลปะแบบ Op-Art (TH)ศิลปะแบบ Op-Art (TH)
ศิลปะแบบ Op-Art (TH)Horania Vengran
 
ศิลปะนาอีฟ
ศิลปะนาอีฟศิลปะนาอีฟ
ศิลปะนาอีฟpeter dontoom
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่nanpapimol
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางพัน พัน
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะpeter dontoom
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ชาติไทย
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ชาติไทยศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ชาติไทย
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ชาติไทยbeebella
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59Computer ITSWKJ
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาfuangfaa
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก Heritagecivil Kasetsart
 

Destaque (20)

ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่ศิลปะสมัยใหม่
ศิลปะสมัยใหม่
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
ศิลปะแบบ Op-Art (TH)
ศิลปะแบบ Op-Art (TH)ศิลปะแบบ Op-Art (TH)
ศิลปะแบบ Op-Art (TH)
 
Op art
Op artOp art
Op art
 
ศิลปะนาอีฟ
ศิลปะนาอีฟศิลปะนาอีฟ
ศิลปะนาอีฟ
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
Op Art
Op ArtOp Art
Op Art
 
Fine Art Express
Fine Art ExpressFine Art Express
Fine Art Express
 
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
ศิลปะตะวันตกม.ปลาย ลัทธิศิลปะ
 
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ชาติไทย
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ชาติไทยศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ชาติไทย
ศิลปะก่อนประวัติศาสตร์ชาติไทย
 
สื่อการสอน59
สื่อการสอน59สื่อการสอน59
สื่อการสอน59
 
01999031 western music romantic
01999031 western music romantic01999031 western music romantic
01999031 western music romantic
 
The heritages of world civilization
The heritages of world civilization The heritages of world civilization
The heritages of world civilization
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
 
Man lg
Man lgMan lg
Man lg
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 

ศิลปะสมัยใหม่