SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 5
Baixar para ler offline
แผนการจัดการเรียนรู้
 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ รหัส ค 32202 (คณิตเพิ่มเติม)                           ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 เรื่อง ดีกรีของจุดยอด                                                                                 เวลา 2 ชั่วโมง
 สอนวันที่...............เดือน....................พ.ศ. ..............               ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555

 สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
     บทนิยาม ดีกรี (degree) ของจุดยอด V ในกราฟ คือ จานวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด V
     ใช้สัญลักษณ์ deg v แทนดีกรีของจุดยอด v
     ทฤษฎีบทที่ 1 ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟ เท่ากับ สองเท่าของจานวนเส้นเชื่อมในกราฟ
     ข้อสังเกต ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเป็นจานวนคู่เสมอ
     บทนิยาม จุดยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่ เรียกว่า จุดยอดคู่ (even vertex)
                  จุดยอดทีมีดีกรีเป็นจานวนคี่ เรียกว่า จุดยอดคี่ (odd vertex)
                          ่
     ทฤษฎีบทที่ 2 ทุกกราฟจะมีจุดยอดคี่เป็นจานวนคู่

 ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้
               มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
      ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ
      ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
               ผลการเรียนรู้
      1. สามารถหาดีกรีของจุดยอดจากกราฟที่กาหนดมาให้ได้
      2. บอกความสัมพันธ์ของผลรวมดีกรีของจุดยอดของกราฟกับจานวนเส้นเชื่อมได้
      3. อธิบายความหมายของ จุดยอดคี่ และจุดยอดคู่ได้
4. บอกความสัมพันธ์ของกราฟกับจุดยอดคี่ได้
                  ทักษะกระบวนการ
                  ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการ
        แก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา
        และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เชื่อมโยง
        ความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ และมี
        ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
     3.1 ความสามารถในการสื่อสาร
     3.2 ความสามารถในการคิด
        - ทักษะการคิดวิเคราะห์
        - ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
3.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
        4.1 มีวินัย
        4.2 ใฝ่เรียนรู้
        4.3 มุ่งมั่นในการทางาน
        ทางานอย่างมีระบบ มีระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์ และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์
สาระการเรียนรู้
        กราฟ
        บทนิยาม ดีกรี (degree) ของจุดยอด V ในกราฟ คือ จานวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด V
        ใช้สัญลักษณ์ deg v แทนดีกรีของจุดยอด v
        ทฤษฎีบท ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟ เท่ากับ สองเท่าของจานวนเส้นเชื่อมในกราฟ
        ข้อสังเกต ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเป็นจานวนคู่เสมอ
        บทนิยาม จุดยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่ เรียกว่า จุดยอดคู่ (even vertex)
                    จุดยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคี่ เรียกว่า จุดยอดคี่ (odd vertex)
        ทฤษฎีบทที่ 2 ทุกกราฟจะมีจุดยอดคี่เป็นจานวนคู่
ตัวอย่างที่ 1 พิจารณากราฟต่อไปนี้ v1                          v
                                                          3
                                                     
                                                                    v4


                                     
                                   v2                             v5
                                             v6
                                                  
                                                                v7



       จากกราฟจะได้ว่า
                         จุดยอด                   จานวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด

                           v1                                           3
                           v2                                           2
                           v3                                           3
                           v4                                           0
                           v5                                           1
                           v6                                           3
                           v7                                           2
ตัวอย่างที่ 2 พิจารณากราฟต่อไปนี้ พร้อมทั้งหาดีกรีของกราฟ


                                                1               2
                                                               
                                                          4
                                     3                                     6
                                                          5
                                                               
                                               7                8

        วิธีทา จากรูปจะได้ว่า    deg 1 = 3
                                 deg 2 = 4
                                 deg 3 = 5
                                 deg 4 = 1
                                 deg 5 = 1
                                 deg 6 = 3
                                 deg 7 = 3
                                 deg 8 = 4
ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนแผนภาพกราฟ G เมื่อ เมื่อ V(G) = { V1 ,V2 ,V3 ,V4 ,V5 ,V6 }
                  และ deg V1 = 5 , deg V2 = 4 , deg V3 = 3 , deg V4 = 3 , deg V5 = 4 , deg   V6   =3
                 จะได้ตัวอย่างแผนภาพของกราฟดังนี้ (นักเรียนอาจวาดได้หลายรูปแบบ)




ตัวอย่างที่ 4 จงหาจานวนเส้นเชื่อมของกราฟที่ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเท่ากับ 22
        วิธีทา สมมติว่ากราฟมีเส้นเชื่อม n เส้น
                จากทฤษฎีบท ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟจะเท่ากับ สองเท่าของจานวนเส้นเชื่อม
                ในกราฟ
                ดังนั้น 22             = 2n
                นั่นคือ          n = 11
สรุปว่า กราฟมีเส้นเชื่อม 11 เส้น
 กิจกรรมการเรียนรู้
           ขั้นนา
           1. ครูทบทวนบทนิยามของกราฟ โดยตั้งคาถามว่า กราฟ ต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง (นักเรียนควรตอบได้
ว่า กราฟ ต้องประกอบด้วยเซตจากัด 2 เซต คือ เซตที่ไม่เป็นเซตว่างของจุดยอด และเซตของเส้นเชื่อมที่เชื่อม
ระหว่างจุดยอด)
           ขั้นสอน
           2. ครูเขียนตัวอย่างที่ 1 บนกระดาน พร้อมให้นักเรียนพิจารณากราฟและร่วมกันตอบว่าจานวนครั้งทั้งหมด
ที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด ในแต่ละจุด เป็นเท่าไหร่
                     2.1 ครูบอกนักเรียนว่า ต่อไปเราจะเรียกจานวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอดว่า ดีกรี
                     2.2 ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายว่า ดีกรี คืออะไร
                     2.3 ครูอธิบายเพื่อสรุปบทนิยามของดีกรี และบอกข้อตกลงในการใช้สัญลักษณ์แทนดีกรีของจุด
           แก่นักเรียน
           3. ครูเขียนตัวอย่างที่ 2 บนกระดาน สุ่มนักเรียนออกมาหาดีกรีของกราฟ โดยนักเรียนช่วยกันตรวจคาตอบ
ถ้าผิดช่วยกันแก้ไขให้ถูกต้อง

         4. ครูเขียนตัวอย่างที่ 3 บนกระดาน สุ่มนักเรียนออกมาเขียนแผนภาพของกราฟที่กาหนดดีกรีให้ โดย
นักเรียนช่วยกันตรวจสอบคาตอบ ถ้าผิดช่วยกันแก้ไขให้ถูกต้อง จากนั้นเปิดโอกาสให้นักเรียนที่วาดรูปแตกต่างจาก
เพื่อน ออกมาวาดกราฟให้ดูบนกระดาน
         5. ให้นักเรียนทุกคนจับคู่ ครูแจกใบกิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม โดยครูคอยสังเกตการปฏิบัติ
กิจกรรม
                   5.1 เมื่อเสร็จแล้วสุ่มนักเรียนนาเสนอผลที่ได้จากกิจกรรมที่ 1 โดยนักเรียนทุกคนช่วยกัน
                   ตรวจสอบคาตอบ ถ้าผิดช่วยกันแก้ไขให้ถูกต้อง
 5.2 นักเรียนช่วยกันอภิปรายถึงผลที่ได้จากกิจกรรมโดยมีครูคอยชี้แนะนักเรียนเพื่อให้ได้ว่า
“ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเท่ากับสองเท่าของจานวนเส้นเชื่อมในกราฟ” และ “ผลรวมของดีกรี
ของจุดยอดทุกจุดในกราฟเป็นจานวนคู่เสมอ”
         6. ครูเขียนตัวอย่างที่ 4 บนกระดาน สุ่มนักเรียนออกมาเฉลยตัวอย่างบนกระดาน โดยนักเรียนช่วยกัน
ตรวจสอบคาตอบ ถ้าผิดช่วยกันแก้ไขให้ถูกต้อง
         7. ให้นักเรียนทุกคนจับคู่ ครูแจกใบกิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม โดยครูคอยสังเกตการปฏิบัติ
กิจกรรม
                   7.1 เมื่อเสร็จแล้วสุ่มนักเรียนนาเสนอผลที่ได้จากกิจกรรมที่ 2 โดยนักเรียนทุกคนช่วยกัน
                   ตรวจสอบคาตอบที่ถูกต้อง
7.2 นักเรียนช่วยกันอภิปรายถึงผลที่ได้จากกิจกรรมโดยมีครูคอยชี้แนะนักเรียนเพื่อให้ได้ว่า “จุด
                ยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่ เรียกว่าจุดยอดคู่ จุดยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคี่ เรียกว่าจุดยอดคี่ ” และ
                “ทุกกราฟจะมีจุดยอดคี่เป็นจานวนคู่ ”
          ขั้นสรุป
          8. ครูถามคาถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ดังนี้
 8.1   นักเรียนจะสามารถหาดีกรีของกราฟได้อย่างไร
 8.2   ผลรวมดีกรีของจุดยอดของกราฟกับจานวนเส้นเชื่อมนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
 8.3   จุดยอดคี่ และจุดยอดคู่ มีลักษณะอย่างไร
 8.4   จุดยอดคี่มีความสัมพันธ์กับกราฟอย่างไร
          9. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียน(หน้า 66-68) เป็นการบ้าน

 การวัดและประเมินผล

                    การวัดผล                                                  การประเมินผล
1. สังเกตจากการอภิปราย และการตอบคาถาม                    1. นักเรียนส่วนใหญ่กระตือรือร้น ให้ความร่วมมือใน
                                                         การตอบหรือแสดงความคิดเห็น
2. การปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 1                              2. ตอบถูกมากกว่า 70 % ของนักเรียนทั้งหมด
3. การปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 2                              3. ตอบถูกมากกว่า 70 % ของนักเรียนทั้งหมด
4. สังเกตจากการสรุป                                      4. นักเรียนส่วนใหญ่ตอบถูก
5. ทาแบบฝึกหัด 2.2                                       5. ตอบถูกตั้งแต่ 5 ข้อขึ้นไป



 สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
      1. ใบกิจกรรมที่ 1 , 2
2. แบบฝึกหัดที่ 2.2
      3. สื่อการสอน ppt ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
พัน พัน
 
ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟ
NAMFON Supattra
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
krookay2012
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ทับทิม เจริญตา
 
E0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8a3e0b8b2e0b89f2
E0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8a3e0b8b2e0b89f2E0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8a3e0b8b2e0b89f2
E0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8a3e0b8b2e0b89f2
kuraek1530
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ทับทิม เจริญตา
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
Aon Narinchoti
 
คู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟคู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟ
Jiraprapa Suwannajak
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
Poochai Bumroongta
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
narong2508
 

Mais procurados (18)

สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้นสรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สรุปสาระสำคัญทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
 
ทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟทฤษฎีกราฟ
ทฤษฎีกราฟ
 
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้นทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
 
E0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8a3e0b8b2e0b89f2
E0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8a3e0b8b2e0b89f2E0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8a3e0b8b2e0b89f2
E0b897e0b8a4e0b8a9e0b88ee0b8b5e0b881e0b8a3e0b8b2e0b89f2
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.4
 
Set
SetSet
Set
 
31202 mid512
31202 mid51231202 mid512
31202 mid512
 
31202 mid502
31202 mid50231202 mid502
31202 mid502
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชันความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
Complex Number Practice
Complex Number PracticeComplex Number Practice
Complex Number Practice
 
คู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟคู่อันดับและกราฟ
คู่อันดับและกราฟ
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม4ภาคเรียนที2
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 

Semelhante a แผนการเรียนรู้ดีกรี1

ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
ทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
คำอธิบายรายวิชา ม.2
คำอธิบายรายวิชา ม.2คำอธิบายรายวิชา ม.2
คำอธิบายรายวิชา ม.2
sariya25
 
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้องจะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
Jiraprapa Suwannajak
 

Semelhante a แผนการเรียนรู้ดีกรี1 (20)

รวมบท มีหน้า
รวมบท มีหน้ารวมบท มีหน้า
รวมบท มีหน้า
 
2
22
2
 
2
22
2
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
31202 final512
31202 final51231202 final512
31202 final512
 
Basic algebra
Basic algebraBasic algebra
Basic algebra
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2
 
คำอธิบายรายวิชา ม.2
คำอธิบายรายวิชา ม.2คำอธิบายรายวิชา ม.2
คำอธิบายรายวิชา ม.2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้องจะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
จะสอนอย่างไรให้บวกลบเศษส่วนได้ถูกต้อง
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
31202 final522
31202 final52231202 final522
31202 final522
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
Pbl6
Pbl6Pbl6
Pbl6
 
31202 final502
31202 final50231202 final502
31202 final502
 

Mais de Nittaya Lakapai

Mais de Nittaya Lakapai (6)

แผนการเรียนรู้ดีกรี
แผนการเรียนรู้ดีกรีแผนการเรียนรู้ดีกรี
แผนการเรียนรู้ดีกรี
 
ใบกิจกรรมที่ 1
ใบกิจกรรมที่ 1ใบกิจกรรมที่ 1
ใบกิจกรรมที่ 1
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
Game ทศกัณฐ์1.ppt
Game ทศกัณฐ์1.pptGame ทศกัณฐ์1.ppt
Game ทศกัณฐ์1.ppt
 

แผนการเรียนรู้ดีกรี1

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ รหัส ค 32202 (คณิตเพิ่มเติม) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ดีกรีของจุดยอด เวลา 2 ชั่วโมง สอนวันที่...............เดือน....................พ.ศ. .............. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555  สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด บทนิยาม ดีกรี (degree) ของจุดยอด V ในกราฟ คือ จานวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด V ใช้สัญลักษณ์ deg v แทนดีกรีของจุดยอด v ทฤษฎีบทที่ 1 ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟ เท่ากับ สองเท่าของจานวนเส้นเชื่อมในกราฟ ข้อสังเกต ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเป็นจานวนคู่เสมอ บทนิยาม จุดยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่ เรียกว่า จุดยอดคู่ (even vertex) จุดยอดทีมีดีกรีเป็นจานวนคี่ เรียกว่า จุดยอดคี่ (odd vertex) ่ ทฤษฎีบทที่ 2 ทุกกราฟจะมีจุดยอดคี่เป็นจานวนคู่  ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับ ศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ผลการเรียนรู้ 1. สามารถหาดีกรีของจุดยอดจากกราฟที่กาหนดมาให้ได้ 2. บอกความสัมพันธ์ของผลรวมดีกรีของจุดยอดของกราฟกับจานวนเส้นเชื่อมได้ 3. อธิบายความหมายของ จุดยอดคี่ และจุดยอดคู่ได้ 4. บอกความสัมพันธ์ของกราฟกับจุดยอดคี่ได้ ทักษะกระบวนการ ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการ แก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม ใช้ภาษา และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน เชื่อมโยง ความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์ และนาความรู้ หลักการ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับศาสตร์อื่น ๆ และมี ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 3.1 ความสามารถในการสื่อสาร 3.2 ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
  • 2. 3.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา  คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 4.1 มีวินัย 4.2 ใฝ่เรียนรู้ 4.3 มุ่งมั่นในการทางาน ทางานอย่างมีระบบ มีระเบียบ มีความรอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ตระหนักในคุณค่าของคณิตศาสตร์ และมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ กราฟ บทนิยาม ดีกรี (degree) ของจุดยอด V ในกราฟ คือ จานวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด V ใช้สัญลักษณ์ deg v แทนดีกรีของจุดยอด v ทฤษฎีบท ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟ เท่ากับ สองเท่าของจานวนเส้นเชื่อมในกราฟ ข้อสังเกต ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเป็นจานวนคู่เสมอ บทนิยาม จุดยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่ เรียกว่า จุดยอดคู่ (even vertex) จุดยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคี่ เรียกว่า จุดยอดคี่ (odd vertex) ทฤษฎีบทที่ 2 ทุกกราฟจะมีจุดยอดคี่เป็นจานวนคู่ ตัวอย่างที่ 1 พิจารณากราฟต่อไปนี้ v1 v 3    v4  v2  v5 v6   v7 จากกราฟจะได้ว่า จุดยอด จานวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด v1 3 v2 2 v3 3 v4 0 v5 1 v6 3 v7 2
  • 3. ตัวอย่างที่ 2 พิจารณากราฟต่อไปนี้ พร้อมทั้งหาดีกรีของกราฟ 1 2   4 3   6 5   7 8 วิธีทา จากรูปจะได้ว่า deg 1 = 3 deg 2 = 4 deg 3 = 5 deg 4 = 1 deg 5 = 1 deg 6 = 3 deg 7 = 3 deg 8 = 4 ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนแผนภาพกราฟ G เมื่อ เมื่อ V(G) = { V1 ,V2 ,V3 ,V4 ,V5 ,V6 } และ deg V1 = 5 , deg V2 = 4 , deg V3 = 3 , deg V4 = 3 , deg V5 = 4 , deg V6 =3 จะได้ตัวอย่างแผนภาพของกราฟดังนี้ (นักเรียนอาจวาดได้หลายรูปแบบ) ตัวอย่างที่ 4 จงหาจานวนเส้นเชื่อมของกราฟที่ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเท่ากับ 22 วิธีทา สมมติว่ากราฟมีเส้นเชื่อม n เส้น จากทฤษฎีบท ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟจะเท่ากับ สองเท่าของจานวนเส้นเชื่อม ในกราฟ ดังนั้น 22 = 2n นั่นคือ n = 11
  • 4. สรุปว่า กราฟมีเส้นเชื่อม 11 เส้น  กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ครูทบทวนบทนิยามของกราฟ โดยตั้งคาถามว่า กราฟ ต้องประกอบด้วยอะไรบ้าง (นักเรียนควรตอบได้ ว่า กราฟ ต้องประกอบด้วยเซตจากัด 2 เซต คือ เซตที่ไม่เป็นเซตว่างของจุดยอด และเซตของเส้นเชื่อมที่เชื่อม ระหว่างจุดยอด) ขั้นสอน 2. ครูเขียนตัวอย่างที่ 1 บนกระดาน พร้อมให้นักเรียนพิจารณากราฟและร่วมกันตอบว่าจานวนครั้งทั้งหมด ที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอด ในแต่ละจุด เป็นเท่าไหร่ 2.1 ครูบอกนักเรียนว่า ต่อไปเราจะเรียกจานวนครั้งทั้งหมดที่เส้นเชื่อมเกิดกับจุดยอดว่า ดีกรี 2.2 ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายว่า ดีกรี คืออะไร 2.3 ครูอธิบายเพื่อสรุปบทนิยามของดีกรี และบอกข้อตกลงในการใช้สัญลักษณ์แทนดีกรีของจุด แก่นักเรียน 3. ครูเขียนตัวอย่างที่ 2 บนกระดาน สุ่มนักเรียนออกมาหาดีกรีของกราฟ โดยนักเรียนช่วยกันตรวจคาตอบ ถ้าผิดช่วยกันแก้ไขให้ถูกต้อง 4. ครูเขียนตัวอย่างที่ 3 บนกระดาน สุ่มนักเรียนออกมาเขียนแผนภาพของกราฟที่กาหนดดีกรีให้ โดย นักเรียนช่วยกันตรวจสอบคาตอบ ถ้าผิดช่วยกันแก้ไขให้ถูกต้อง จากนั้นเปิดโอกาสให้นักเรียนที่วาดรูปแตกต่างจาก เพื่อน ออกมาวาดกราฟให้ดูบนกระดาน 5. ให้นักเรียนทุกคนจับคู่ ครูแจกใบกิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม โดยครูคอยสังเกตการปฏิบัติ กิจกรรม 5.1 เมื่อเสร็จแล้วสุ่มนักเรียนนาเสนอผลที่ได้จากกิจกรรมที่ 1 โดยนักเรียนทุกคนช่วยกัน ตรวจสอบคาตอบ ถ้าผิดช่วยกันแก้ไขให้ถูกต้อง 5.2 นักเรียนช่วยกันอภิปรายถึงผลที่ได้จากกิจกรรมโดยมีครูคอยชี้แนะนักเรียนเพื่อให้ได้ว่า “ผลรวมของดีกรีของจุดยอดทุกจุดในกราฟเท่ากับสองเท่าของจานวนเส้นเชื่อมในกราฟ” และ “ผลรวมของดีกรี ของจุดยอดทุกจุดในกราฟเป็นจานวนคู่เสมอ” 6. ครูเขียนตัวอย่างที่ 4 บนกระดาน สุ่มนักเรียนออกมาเฉลยตัวอย่างบนกระดาน โดยนักเรียนช่วยกัน ตรวจสอบคาตอบ ถ้าผิดช่วยกันแก้ไขให้ถูกต้อง 7. ให้นักเรียนทุกคนจับคู่ ครูแจกใบกิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม โดยครูคอยสังเกตการปฏิบัติ กิจกรรม 7.1 เมื่อเสร็จแล้วสุ่มนักเรียนนาเสนอผลที่ได้จากกิจกรรมที่ 2 โดยนักเรียนทุกคนช่วยกัน ตรวจสอบคาตอบที่ถูกต้อง
  • 5. 7.2 นักเรียนช่วยกันอภิปรายถึงผลที่ได้จากกิจกรรมโดยมีครูคอยชี้แนะนักเรียนเพื่อให้ได้ว่า “จุด ยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคู่ เรียกว่าจุดยอดคู่ จุดยอดที่มีดีกรีเป็นจานวนคี่ เรียกว่าจุดยอดคี่ ” และ “ทุกกราฟจะมีจุดยอดคี่เป็นจานวนคู่ ” ขั้นสรุป 8. ครูถามคาถามเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน ดังนี้ 8.1 นักเรียนจะสามารถหาดีกรีของกราฟได้อย่างไร 8.2 ผลรวมดีกรีของจุดยอดของกราฟกับจานวนเส้นเชื่อมนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร 8.3 จุดยอดคี่ และจุดยอดคู่ มีลักษณะอย่างไร 8.4 จุดยอดคี่มีความสัมพันธ์กับกราฟอย่างไร 9. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียน(หน้า 66-68) เป็นการบ้าน  การวัดและประเมินผล การวัดผล การประเมินผล 1. สังเกตจากการอภิปราย และการตอบคาถาม 1. นักเรียนส่วนใหญ่กระตือรือร้น ให้ความร่วมมือใน การตอบหรือแสดงความคิดเห็น 2. การปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 1 2. ตอบถูกมากกว่า 70 % ของนักเรียนทั้งหมด 3. การปฏิบัติใบกิจกรรมที่ 2 3. ตอบถูกมากกว่า 70 % ของนักเรียนทั้งหมด 4. สังเกตจากการสรุป 4. นักเรียนส่วนใหญ่ตอบถูก 5. ทาแบบฝึกหัด 2.2 5. ตอบถูกตั้งแต่ 5 ข้อขึ้นไป  สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรมที่ 1 , 2 2. แบบฝึกหัดที่ 2.2 3. สื่อการสอน ppt ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น