SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
Baixar para ler offline

                   
          คนเราจะผูกสมัครรักใคร่ ให้ ยนนาน ยึดเหนี่ยวนาใจของกันและกันให้ มนคงทั้ง
                                          ื                      ้                      ั่
ผู้ใหญ่ ผู้น้อย จะต้ องปฏิบัติต่อกันด้ วยคุณธรรม 4 ประการทีพระพุทธองค์ ทรงตรัสไว้
                                                                     ่
ดังนี้
          1.ทาน ให้ ปันสิ่ งของของตนแก่ผู้ทควรให้ ปัน
                                                    ี่
          2.ปิ ยวาจา เจรจาวาจาทีอ่อนหวาน
                                     ่
          3.อัตถจริยา ประพฤติสิ่งทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อกัน
          4.สมานัตตตา วางตนสมแก่ฐานะ ไม่ ถือตัวจัดจนเกินไป และไม่ ปล่อยตัวมากจน
            เกินประมาณ
                     พระพุทธเจ้ าทรงอุปมาว่ า สั งหควัตถุ 4 เป็ นเสมือนยานพาหนะทีจะนา      ่
มนุษย์ ไปสู่ ความสุ ขความเจริญ              สั งคมของมนุษย์ ประกอบขึนด้ วยบุคคลทีมภูมหลัง
                                                                       ้             ่ ี ิ
แตกต่ างกันมีท้งคนดีและคนไม่ ดี
                   ั                           มีท้งคนทีร่ารวยแและคนทียากจน
                                                       ั ่               ่            ดังนั้นจึง
จาเป็ นต้ องอาศัยสั งหควัตถุ 4 เป็ นเครื่องยุดเหนี่ยวบุคคลแต่ ละคนให้ มความผูกพันกัน
                                                                            ี
เพือสั งคมจะได้ ดารงอยู่ในความสงบ และได้ รับการพัฒนาให้ เจริญก้าวหน้ ายิงขึน พระ
     ่                                                                            ่ ้
พุทธองค์ ทรงชี้แนะไว้ ว่า ถ้ าสั งคมใดปราศจากสั งคหวัตถุ 4 แล้ว สั งคมนั้นจะมีแต่ ความ
ยุ่งเหยิงไร้ สันติสุข ด้ วยเหตุดังกล่าวพุทธศาสนิกชนจึงควรทาความเข้ าใจสั งคหวัตถุ 4
ให้ ถ่องแท้ ดังต่ อไปนี้
                     1.ทาน คือ การให้ การเสี ยสละ หรือให้ ปันสิ่ งของ หๆ ตนเพือประโยชน์ แก่
                                                                              ่
บุคคลอืน ไม่ ตระหนี่ถี่เหนียว ไม่ เป็ นคนเห็นแก่ได้ ฝ่ายเดียว คุณธรรมข้ อนีจะช่ วยให้
          ่                                                                        ้
เราไม่ เป็ นคนละโมบ ไม่ เห็นแก่ตัว เราควรคานึงอยู่เสมอว่ า ทรัพย์ สินสิ่ งของทีเ่ ราหามา
ได้ มิใช่ สิ่งของทีจีรังยังยืน เมือเราสิ้นชีวตไปแล้วก็ไม่ สามารถจะนาติดตัวไปได้ เศรษฐี
                       ่ ่         ่              ิ
มีทดินนับหมืน ๆ ไร่ สุดท้ ายก็ต้องใช้ เนือทีเ่ พียงไม่ กตารางวาเท่ ากับคนจนเพือฝังสั งขาร
       ี่        ่                              ้           ี่                  ่
สั งคมใดจะดารงอยู่ได้ อย่ างสงบสุ ขสมาชิกของสั งคมนั้นจะต้ องรู้ จักการเสี ยสละ การ
บริจาคทานต่ อกัน ถ้ าเราอ่นข่ าวจากหนังสื อพิมพ์รายวัน จะสั งเกตได้ ว่าปัญหาทีเ่ กิด
ขึนอยู่ในสั งคมไทยทุกวันนี้ บางปัญหามีสาเหตุมาจากการทีเ่ ราไม่ รู้ จักการให้ ทาน เช่ น
   ้
พบเห็นคนอดอยากหิวโหย แทนทีจะแบ่ งปัยอาหารหรือบริจาคเงินทองให้ บ้างก็กลับนิ่ง
                                        ่
เฉยดูดายถือว่ ามิใช่ ภาระหน้ าทีของตน บางครั้งเมือบุคคลผู้น้ัน ทนทุกข์ ทรมานเพราะ
                                       ่                 ่
ความหิวโหยไม่ ไหวก็อาจจะหันไปประกอบอาชญากรรม เป็ นต้ นว่ า ฉก ชิง วิงราว จี้            ่
ปล้น เพือนาเงินมาเลียงชีพ และในทางกลับกันเศรษฐีบางคนมีทรัพย์ สินมหาศาลอยู่
             ่                   ้
แล้ว ก็พยายามแสวงหาทรัพย์ สมบัติทร่ารวยมากขึนไปอีก โดยมิได้ คานึงถึงการกระทา
                                             ี่
ดังกล่าวของตนจะสร้ างความเดือดร้ อนให้ กบผู้อนหรือไม่ เช่ น ขึนราคาค่ าเช่ าทีดิน ขึน
                                                    ั ื่                    ้             ่       ้
ราคาสิ นค้ า ขึนราคาค่ าเช่ าบ้ าน เป็ นต้ น
               ้
        พระพุทธองค์ ได้ ทรงเทศนาไว้ ว่า “ผู้ ให้ ทานย่ อมมีความสุ ขและเบิกบานใจยิงกว่ า      ่
ผู้รับทาน” ในชั่วชีวตของมนุษย์ บางโอกาสเราอาจต้ องอยู่ในฐานะเป็ นผู้ให้ ฉะนั้นเรา
                         ิ
จึงควรมีหลักเกณฑ์ เกียวกับการให้ ทานเป็ นคติประจาใจ ดังต่ อไปนี้
                           ่
        1.ให้ ทานแก่บุคคลทีควรให้    ่
        2.ให้ ในสิ่ งทีควรให้
                       ่
        3.ให้ ด้วยเจตนาทีบริสุทธิ์ ่
        นอกจากนียงต้ องคานึงด้ วยว่ า เมือเราบริจาคไปแล้วจะไม่ สร้ างความเดือดร้ อน
                     ้ั                           ่
ให้ แก่ตนเองและครอบครัว เช่ า เรามีข้าวสารอยู่ 1 ลิตร พอหุงบริโภคได้ เพียง 1 มือ เมือ       ้ ่
มีผู้มาขอแบ่ งปันเราก็ต้องปฏิเสธอย่ างสุ ภาพ เพราะถ้ าเราบริจาคไปเราและครอบครัว
ย่ อมจะเดือดร้ อนเพราะขาดแคลนข้ าวบริโภค                   หรือสิ่ งของทีเ่ ราให้ ทานไปแล้วก็อย่ า
บังเกิดความเสี ยดายขึนในภายหลัง เนื่องจากจะทาให้ เกิดกิเลส จิตไม่ สงบ ฟุ้ งซ่ าน ซึ่ง
                             ้
ผิดจากจุดประสงค์ ของการให้ ทาน
        2.ปิ ยวาจา คือ การพุดจาด้ วยถ้ อยคาทีไพเราะอ่อนหวาน พูด้วยความจริงใจ ไม่
                                                     ่
พุดหยาบคายก้าวร้ าว พูดในสิ่ งทีเ่ ป็ นประโยชน์ เหมาะสมกับกาลเทศะ พระพุทธเจ้ าทรง
ให้ ความสาคัยกับการพูดเป็ นอย่ างยิง เพราะการพุดเป็ นบันไดขั้นแรกทีจะสร้ างมนุษย์
                                         ่                                          ่
สั มพันธ์ อนดีให้ เกิกดขึน แและนัยเดียวกันบุคคลก็อาจจะประสบความเสร็จในหน้ าที่
           ั                   ้
การงาน ถ้ ารู้ จักใช้ ปิยวาจาดังคาพังเพยทีว่า “พูดดีเป็ นศรีแก่ตัว” วิธีการพูดให้ เป็ ฯปิ ย
                                                ่
วาจานั้น จะต้ องพูดโดยยึดถือหลักเกณฑ์ ดังต่ อไปนี้
                 2.1 เว้ นจากการพูดเท็จ คือพุดแต่ คาสั ตย์ ไม่ พูดจาโกหกหลอกหลวงผู้อน          ื่
เพือแสวงหาผลประโยชน์ ให้ แก่ตนเองได้ เห็นได้ ฟังอย่ างไรก็พูดไปอย่ างนั้น ไม่ พูดเสริม
    ่
ความให้ เรื่องเล็กกลายเป็ นเรื่องใหญ่ ถ้ าไม่ ได้ เห็น ไม่ ได้ ฟัง ไม่ ได้ ทราบ ก็จงปฏิเสธไปว่ า
ไม่ ได้ เห็น ไม่ ได้ ยน ไม่ ได้ ทราบ นอกจากจะพูดเรื่องทีเ่ ป็ นจริงแล้วยังต้ องคานึงถึงด้ วยว่ า
                      ิ
เรื่องทีจะพูดนั้นมีประโยชน์ และเหมาะสมกับกาลเทสะหรือไม่
         ่
                   2.2 เว้ นจากการพูดสิ่ เสี ยด คือ ไม่ พูดจายุยงให้ เขาแตกร้ าวกัน โดยเอา
ความทางนีไปบอกทางโน้ นหรือเอาความทางโน้ นมาบอกทางนี้ เมือได้ ยนได้ ฟังเรื่องราว
               ้                                                              ่ ิ
ทีจะเป็ นชนวนก่ อให้ เกิดการแตกรความสามัคคีกหาทางทีจะระงับเสี ย
   ่                                                     ็       ่                     โดยไม่ นาไป
แพร่ งพรายให้ บุคคลอืนได้ รับทราบอีกต่ อหนึ่ง
                            ่
                   2.3 เว้ นจากการพูดคาหยาบ คือ พูดด้ ยถ้ อยคาไพเราะอ่อนหวาน สุ ภาพ
ไม่ เอะอะโวยวาย ไม่ พูดเรื่องหยาบคาย เมือฟังแล้วมีความสบายใจ
                                                     ่
                   2.4 เว้ นจากการพูดเพ้อเจ้ อ คือ ไม่ พูดในสิ่ งทีเ่ หลวไหลไร้ สาระหรือพูด
กากวมวกไปวนมาจับใจความไม่ ได้ แต่ ควรพุดในสิ่ งทีเ่ ป็ นประโยชน์ มสาระมีเหตุผล       ี
ต้ องพิจารณาไตรตรองก่อนจะพูดทุกครั้งว่ า                   เรื่องทีเ่ ราพูดนั้นให้ สาระต่ อผู้ฟังบ้ าง
หรือไม่ อย่ าได้ หมายเอาความสนุกสนานเฮฮาเป็ นทีต้ัง จนลืมคานึงถึงประโยชน์ และ
                                                             ่
กาลเทศะ
           3.อัตถจริยา คือ ประพฤติในสิ่ งทีเ่ ป็ นประโยชน์ แก่ผู้อน ถึงแม้ ว่าเราจะอยู่ในวัย
                                                                        ื่
ศึกษาเล่าเรียน แต่ กสามารถบรรลุถึงธรรมข้ อนีได้ โดยง่ าย ด้ วยการปฏิบัติตามแนวทาง
                         ็                             ้
ดังต่ อไปนี้
           3.1 มีความประพฤติชอบทางกาย เรียกว่ า กายสุ จริต ได้ แก่
                   (1) เว้ นจากการทาลายชีวต หรือ เบียดเบียนผู้อนให้ เดือดร้ อน
                                              ิ                            ื่
                   (2) เว้ นจากการลักทรัพย์ ฉ้ อโกงทรัพย์
                   (3) เว้ นจากการประพฤติผดในกาม   ิ
           3.2 มีความประพฤติชอบทางวาจา เรียกว่ า วจีสุจริต ได้ แก
                   (1) เว้ นจากการพูดเท็จ
                   (2) เว้ นจากการพูดส่ อเสี ยด
                   (3) เว้ นจากการพูดคาหยาบ
                   (4) เว้ นจากการพุดเพ้อเจ้ อ
           3.3 มีความประพฤติชอบทางใจเรียกว่ า มโนสุ จริต ได้ แก่
                   (1) ไม่ โลภอยากได้ ของผู้อน  ื่
(2) ไม่ พยาบาทปองร้ ายผู้อน  ่ื
                   (3) เห็นชอบตามทานองคลองธรรม
         เหตุผลทีถือว่ า เมือปฏิบัติตามแนวทางทั้ง 3 ข้ อนีแล้ว ย่ อมจะบรรลุถึงธรรม
                      ่       ่                           ้
อัตถจริยา นั้น ก็เนื่องมาจากว่ าถ้ าเราไม่ กระทาความชั่ว อาทิไม่ ลกทรัพย์ หรือฉ้ อโกง
                                                                         ั
ทรัพย์ ของผู้อน ไม่ กล่าวจาเท็จให้ ร้ายผู้อน ไม่ เห็นผิดจากทานองคลองธรรมเหล่านี้ ผุ้
                ื่                           ื่
อืนก็จะไม่ ได้ รับความเดือดร้ อนเพราะเราเป็ นต้ นเหตุ
   ่                                                      เมือผู้อนหรือสั งคมดารงอยู่ใน
                                                             ่ ื่
ความสงบสุ ข ย่ อมถือได้ ว่าเราได้ สร้ างคุณประโยชน์ ให้ เกิดขึนแล้วโดยทางอ้อม แม้ ว่า
                                                               ้
จะมองไม่ เห็นผลดังเช่ นเหมือนกับการทีไปช่ วยเขาขุดลอกคูคลอง ทาถนน สร้ าง
                                          ่
สะพาน หรือทาความสะอาดลานวัดก็ตาม
         หากเราต้ องการจะประพฤติธรรมอัตถจริยาให้ สมบูรณ์ ยงขึนไปอีก เราก็จะต้ อง
                                                                 ่ิ ้
ปฏิบัติตานแนวทางอีก 2 ประการ
         1. เวยยาวัจจะ หมายถึง การช่ วยเหลือกระทากิจการของผู้อนให้ สาเร็จอาทิ ไป
                                                                      ื่
ช่ วยงานพิธีของเพือนบ้ าน เช่ นงานศพ งานแต่ งงาน งานบวชนาค เป็ นต้ น หรือช่ วยขุด
                        ่
สระนา ช่ วยเพือน ๆทางาน เป็ นต้ น อนึ่งสาหรับกิจในทีนีจะต้ องเป็ นกิจหรืองานที่
       ้            ่                                         ่ ้
ถูกต้ องตาม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
Tongsamut vorasan
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
pentanino
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
Tongsamut vorasan
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
Kumobarick Achiroki
 

Mais procurados (20)

สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลสคนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
คนดีใช้ธรรม คนระยำใช้กิเลส
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
 
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลายคนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
คนดีชอบทำงาน คนพาลชอบทำลาย
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
กลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการกลอนมงคล๓๘ ประการ
กลอนมงคล๓๘ ประการ
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบอิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
อิสลามกับคำถามที่คุณอยากรู้คำตอบ
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 

Semelhante a สังคหวัตถุ

หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
guestf16531
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
 
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัวโครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
ffhantr
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
pentanino
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
krubuatoom
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2
Kat Suksrikong
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวง
Songsarid Ruecha
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
supaporn2516mw
 

Semelhante a สังคหวัตถุ (20)

ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุขทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
ทำอย่างไรชีวิตจึงจะมีความสุข
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
ปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษา
 
ทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรมทศพิธราชธรรม
ทศพิธราชธรรม
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัวโครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
โครงงานเรื่องแก้นิสัยเห็นเเก่ตัว
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
ข้อสอบ.
ข้อสอบ.ข้อสอบ.
ข้อสอบ.
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา สาระสำคัญของศาสนา
สาระสำคัญของศาสนา
 
สำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docx
สำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docxสำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docx
สำนวนไทย-สุภาษิต-คำพังเพย.docx
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวง
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
Kamnamtham 5
Kamnamtham 5Kamnamtham 5
Kamnamtham 5
 

Mais de niralai

Mais de niralai (20)

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 

สังคหวัตถุ

  • 1.   คนเราจะผูกสมัครรักใคร่ ให้ ยนนาน ยึดเหนี่ยวนาใจของกันและกันให้ มนคงทั้ง ื ้ ั่ ผู้ใหญ่ ผู้น้อย จะต้ องปฏิบัติต่อกันด้ วยคุณธรรม 4 ประการทีพระพุทธองค์ ทรงตรัสไว้ ่ ดังนี้ 1.ทาน ให้ ปันสิ่ งของของตนแก่ผู้ทควรให้ ปัน ี่ 2.ปิ ยวาจา เจรจาวาจาทีอ่อนหวาน ่ 3.อัตถจริยา ประพฤติสิ่งทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อกัน 4.สมานัตตตา วางตนสมแก่ฐานะ ไม่ ถือตัวจัดจนเกินไป และไม่ ปล่อยตัวมากจน เกินประมาณ พระพุทธเจ้ าทรงอุปมาว่ า สั งหควัตถุ 4 เป็ นเสมือนยานพาหนะทีจะนา ่ มนุษย์ ไปสู่ ความสุ ขความเจริญ สั งคมของมนุษย์ ประกอบขึนด้ วยบุคคลทีมภูมหลัง ้ ่ ี ิ แตกต่ างกันมีท้งคนดีและคนไม่ ดี ั มีท้งคนทีร่ารวยแและคนทียากจน ั ่ ่ ดังนั้นจึง จาเป็ นต้ องอาศัยสั งหควัตถุ 4 เป็ นเครื่องยุดเหนี่ยวบุคคลแต่ ละคนให้ มความผูกพันกัน ี เพือสั งคมจะได้ ดารงอยู่ในความสงบ และได้ รับการพัฒนาให้ เจริญก้าวหน้ ายิงขึน พระ ่ ่ ้ พุทธองค์ ทรงชี้แนะไว้ ว่า ถ้ าสั งคมใดปราศจากสั งคหวัตถุ 4 แล้ว สั งคมนั้นจะมีแต่ ความ ยุ่งเหยิงไร้ สันติสุข ด้ วยเหตุดังกล่าวพุทธศาสนิกชนจึงควรทาความเข้ าใจสั งคหวัตถุ 4 ให้ ถ่องแท้ ดังต่ อไปนี้ 1.ทาน คือ การให้ การเสี ยสละ หรือให้ ปันสิ่ งของ หๆ ตนเพือประโยชน์ แก่ ่ บุคคลอืน ไม่ ตระหนี่ถี่เหนียว ไม่ เป็ นคนเห็นแก่ได้ ฝ่ายเดียว คุณธรรมข้ อนีจะช่ วยให้ ่ ้ เราไม่ เป็ นคนละโมบ ไม่ เห็นแก่ตัว เราควรคานึงอยู่เสมอว่ า ทรัพย์ สินสิ่ งของทีเ่ ราหามา ได้ มิใช่ สิ่งของทีจีรังยังยืน เมือเราสิ้นชีวตไปแล้วก็ไม่ สามารถจะนาติดตัวไปได้ เศรษฐี ่ ่ ่ ิ มีทดินนับหมืน ๆ ไร่ สุดท้ ายก็ต้องใช้ เนือทีเ่ พียงไม่ กตารางวาเท่ ากับคนจนเพือฝังสั งขาร ี่ ่ ้ ี่ ่ สั งคมใดจะดารงอยู่ได้ อย่ างสงบสุ ขสมาชิกของสั งคมนั้นจะต้ องรู้ จักการเสี ยสละ การ บริจาคทานต่ อกัน ถ้ าเราอ่นข่ าวจากหนังสื อพิมพ์รายวัน จะสั งเกตได้ ว่าปัญหาทีเ่ กิด ขึนอยู่ในสั งคมไทยทุกวันนี้ บางปัญหามีสาเหตุมาจากการทีเ่ ราไม่ รู้ จักการให้ ทาน เช่ น ้ พบเห็นคนอดอยากหิวโหย แทนทีจะแบ่ งปัยอาหารหรือบริจาคเงินทองให้ บ้างก็กลับนิ่ง ่
  • 2. เฉยดูดายถือว่ ามิใช่ ภาระหน้ าทีของตน บางครั้งเมือบุคคลผู้น้ัน ทนทุกข์ ทรมานเพราะ ่ ่ ความหิวโหยไม่ ไหวก็อาจจะหันไปประกอบอาชญากรรม เป็ นต้ นว่ า ฉก ชิง วิงราว จี้ ่ ปล้น เพือนาเงินมาเลียงชีพ และในทางกลับกันเศรษฐีบางคนมีทรัพย์ สินมหาศาลอยู่ ่ ้ แล้ว ก็พยายามแสวงหาทรัพย์ สมบัติทร่ารวยมากขึนไปอีก โดยมิได้ คานึงถึงการกระทา ี่ ดังกล่าวของตนจะสร้ างความเดือดร้ อนให้ กบผู้อนหรือไม่ เช่ น ขึนราคาค่ าเช่ าทีดิน ขึน ั ื่ ้ ่ ้ ราคาสิ นค้ า ขึนราคาค่ าเช่ าบ้ าน เป็ นต้ น ้ พระพุทธองค์ ได้ ทรงเทศนาไว้ ว่า “ผู้ ให้ ทานย่ อมมีความสุ ขและเบิกบานใจยิงกว่ า ่ ผู้รับทาน” ในชั่วชีวตของมนุษย์ บางโอกาสเราอาจต้ องอยู่ในฐานะเป็ นผู้ให้ ฉะนั้นเรา ิ จึงควรมีหลักเกณฑ์ เกียวกับการให้ ทานเป็ นคติประจาใจ ดังต่ อไปนี้ ่ 1.ให้ ทานแก่บุคคลทีควรให้ ่ 2.ให้ ในสิ่ งทีควรให้ ่ 3.ให้ ด้วยเจตนาทีบริสุทธิ์ ่ นอกจากนียงต้ องคานึงด้ วยว่ า เมือเราบริจาคไปแล้วจะไม่ สร้ างความเดือดร้ อน ้ั ่ ให้ แก่ตนเองและครอบครัว เช่ า เรามีข้าวสารอยู่ 1 ลิตร พอหุงบริโภคได้ เพียง 1 มือ เมือ ้ ่ มีผู้มาขอแบ่ งปันเราก็ต้องปฏิเสธอย่ างสุ ภาพ เพราะถ้ าเราบริจาคไปเราและครอบครัว ย่ อมจะเดือดร้ อนเพราะขาดแคลนข้ าวบริโภค หรือสิ่ งของทีเ่ ราให้ ทานไปแล้วก็อย่ า บังเกิดความเสี ยดายขึนในภายหลัง เนื่องจากจะทาให้ เกิดกิเลส จิตไม่ สงบ ฟุ้ งซ่ าน ซึ่ง ้ ผิดจากจุดประสงค์ ของการให้ ทาน 2.ปิ ยวาจา คือ การพุดจาด้ วยถ้ อยคาทีไพเราะอ่อนหวาน พูด้วยความจริงใจ ไม่ ่ พุดหยาบคายก้าวร้ าว พูดในสิ่ งทีเ่ ป็ นประโยชน์ เหมาะสมกับกาลเทศะ พระพุทธเจ้ าทรง ให้ ความสาคัยกับการพูดเป็ นอย่ างยิง เพราะการพุดเป็ นบันไดขั้นแรกทีจะสร้ างมนุษย์ ่ ่ สั มพันธ์ อนดีให้ เกิกดขึน แและนัยเดียวกันบุคคลก็อาจจะประสบความเสร็จในหน้ าที่ ั ้ การงาน ถ้ ารู้ จักใช้ ปิยวาจาดังคาพังเพยทีว่า “พูดดีเป็ นศรีแก่ตัว” วิธีการพูดให้ เป็ ฯปิ ย ่ วาจานั้น จะต้ องพูดโดยยึดถือหลักเกณฑ์ ดังต่ อไปนี้ 2.1 เว้ นจากการพูดเท็จ คือพุดแต่ คาสั ตย์ ไม่ พูดจาโกหกหลอกหลวงผู้อน ื่ เพือแสวงหาผลประโยชน์ ให้ แก่ตนเองได้ เห็นได้ ฟังอย่ างไรก็พูดไปอย่ างนั้น ไม่ พูดเสริม ่ ความให้ เรื่องเล็กกลายเป็ นเรื่องใหญ่ ถ้ าไม่ ได้ เห็น ไม่ ได้ ฟัง ไม่ ได้ ทราบ ก็จงปฏิเสธไปว่ า
  • 3. ไม่ ได้ เห็น ไม่ ได้ ยน ไม่ ได้ ทราบ นอกจากจะพูดเรื่องทีเ่ ป็ นจริงแล้วยังต้ องคานึงถึงด้ วยว่ า ิ เรื่องทีจะพูดนั้นมีประโยชน์ และเหมาะสมกับกาลเทสะหรือไม่ ่ 2.2 เว้ นจากการพูดสิ่ เสี ยด คือ ไม่ พูดจายุยงให้ เขาแตกร้ าวกัน โดยเอา ความทางนีไปบอกทางโน้ นหรือเอาความทางโน้ นมาบอกทางนี้ เมือได้ ยนได้ ฟังเรื่องราว ้ ่ ิ ทีจะเป็ นชนวนก่ อให้ เกิดการแตกรความสามัคคีกหาทางทีจะระงับเสี ย ่ ็ ่ โดยไม่ นาไป แพร่ งพรายให้ บุคคลอืนได้ รับทราบอีกต่ อหนึ่ง ่ 2.3 เว้ นจากการพูดคาหยาบ คือ พูดด้ ยถ้ อยคาไพเราะอ่อนหวาน สุ ภาพ ไม่ เอะอะโวยวาย ไม่ พูดเรื่องหยาบคาย เมือฟังแล้วมีความสบายใจ ่ 2.4 เว้ นจากการพูดเพ้อเจ้ อ คือ ไม่ พูดในสิ่ งทีเ่ หลวไหลไร้ สาระหรือพูด กากวมวกไปวนมาจับใจความไม่ ได้ แต่ ควรพุดในสิ่ งทีเ่ ป็ นประโยชน์ มสาระมีเหตุผล ี ต้ องพิจารณาไตรตรองก่อนจะพูดทุกครั้งว่ า เรื่องทีเ่ ราพูดนั้นให้ สาระต่ อผู้ฟังบ้ าง หรือไม่ อย่ าได้ หมายเอาความสนุกสนานเฮฮาเป็ นทีต้ัง จนลืมคานึงถึงประโยชน์ และ ่ กาลเทศะ 3.อัตถจริยา คือ ประพฤติในสิ่ งทีเ่ ป็ นประโยชน์ แก่ผู้อน ถึงแม้ ว่าเราจะอยู่ในวัย ื่ ศึกษาเล่าเรียน แต่ กสามารถบรรลุถึงธรรมข้ อนีได้ โดยง่ าย ด้ วยการปฏิบัติตามแนวทาง ็ ้ ดังต่ อไปนี้ 3.1 มีความประพฤติชอบทางกาย เรียกว่ า กายสุ จริต ได้ แก่ (1) เว้ นจากการทาลายชีวต หรือ เบียดเบียนผู้อนให้ เดือดร้ อน ิ ื่ (2) เว้ นจากการลักทรัพย์ ฉ้ อโกงทรัพย์ (3) เว้ นจากการประพฤติผดในกาม ิ 3.2 มีความประพฤติชอบทางวาจา เรียกว่ า วจีสุจริต ได้ แก (1) เว้ นจากการพูดเท็จ (2) เว้ นจากการพูดส่ อเสี ยด (3) เว้ นจากการพูดคาหยาบ (4) เว้ นจากการพุดเพ้อเจ้ อ 3.3 มีความประพฤติชอบทางใจเรียกว่ า มโนสุ จริต ได้ แก่ (1) ไม่ โลภอยากได้ ของผู้อน ื่
  • 4. (2) ไม่ พยาบาทปองร้ ายผู้อน ่ื (3) เห็นชอบตามทานองคลองธรรม เหตุผลทีถือว่ า เมือปฏิบัติตามแนวทางทั้ง 3 ข้ อนีแล้ว ย่ อมจะบรรลุถึงธรรม ่ ่ ้ อัตถจริยา นั้น ก็เนื่องมาจากว่ าถ้ าเราไม่ กระทาความชั่ว อาทิไม่ ลกทรัพย์ หรือฉ้ อโกง ั ทรัพย์ ของผู้อน ไม่ กล่าวจาเท็จให้ ร้ายผู้อน ไม่ เห็นผิดจากทานองคลองธรรมเหล่านี้ ผุ้ ื่ ื่ อืนก็จะไม่ ได้ รับความเดือดร้ อนเพราะเราเป็ นต้ นเหตุ ่ เมือผู้อนหรือสั งคมดารงอยู่ใน ่ ื่ ความสงบสุ ข ย่ อมถือได้ ว่าเราได้ สร้ างคุณประโยชน์ ให้ เกิดขึนแล้วโดยทางอ้อม แม้ ว่า ้ จะมองไม่ เห็นผลดังเช่ นเหมือนกับการทีไปช่ วยเขาขุดลอกคูคลอง ทาถนน สร้ าง ่ สะพาน หรือทาความสะอาดลานวัดก็ตาม หากเราต้ องการจะประพฤติธรรมอัตถจริยาให้ สมบูรณ์ ยงขึนไปอีก เราก็จะต้ อง ่ิ ้ ปฏิบัติตานแนวทางอีก 2 ประการ 1. เวยยาวัจจะ หมายถึง การช่ วยเหลือกระทากิจการของผู้อนให้ สาเร็จอาทิ ไป ื่ ช่ วยงานพิธีของเพือนบ้ าน เช่ นงานศพ งานแต่ งงาน งานบวชนาค เป็ นต้ น หรือช่ วยขุด ่ สระนา ช่ วยเพือน ๆทางาน เป็ นต้ น อนึ่งสาหรับกิจในทีนีจะต้ องเป็ นกิจหรืองานที่ ้ ่ ่ ้ ถูกต้ องตาม