SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 86
Baixar para ler offline
คูมือ



           “ยุวพุทธ”
นักเรียนพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย
      ศูนยศึกษาพระพุทกาลเขาพรรษา) -อาทิตย
               (ภาคฤดู ธศาสนาวันเสาร
                 สํานักสงฆสวนวาง
           ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา

 ชื่อ_____________นามสกุล _________
 เลขที่_______ชั้น______กลุม_________



                      คูมือ



               “ยุวพุทธ”
  นักเรียนพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย
              (ภาคฤดูกาลเขาพรรษา)
     ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย
                 สํานักสงฆสวนวาง
           ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา

 ชื่อ_____________นามสกุล _________
 เลขที่_______ชั้น______กลุม_________
       ่          ้
แดยุวพุทธ
บริสุทธิ์จริงใจไรเดียงสา             บอบบางกวามาลีแรกคลี่ชอ
เยาวชนสืบเหยาเทิดเหลากอ              เหมือนเพชรรอเวลาเจียรนัย
เสี่ยงตอการติดกับความหยาบกราน งายตอการหลงตามความแปลกใหม
เหมาะแกการเสริมสรางกําลังใจ เพื่อจะไดกาวมั่นถูกขั้นตอน
                         หากเยาวชนสนใจธรรมสักนิด ภาวะจิตจะกาวรุดไมหยุดหยอน
                         พระศาสนาดังน้ําดับความรอน             ชี้แนะสอนพัฒนาเยาวชน
                         ใหรูใชเวลาวางสรางประโยชน         รูคุณโทษรูสังเกตรูเหตุผล
                         รูสังคมรูชีวิตรูคิดคน              รูวางตนรูรักสามัคคี
เปนอนาคตของชาติที่อาจหาญ เปนแรงตานอธรรมความกดขี่
เปนผูทรงคุณคาประเพณี                ไมเปนที่หนักใจคนใกลชิด
ถาวันนี้เยาวชนใฝธรรมะ                วันหนาจะนําไทยใหพิสิฐ
คือคุณพุทธศาสนาเสารอาทิตย            นิรมิตชาติสังคมโลกรมเย็น



                                คูมืออบรม   ๑   “ ยุวพุทธ”




                                    แดยุวพุทธ
บริสุทธิ์จริงใจไรเดียงสา             บอบบางกวามาลีแรกคลี่ชอ
เยาวชนสืบเหยาเทิดเหลากอ              เหมือนเพชรรอเวลาเจียรนัย
เสี่ยงตอการติดกับความหยาบกราน งายตอการหลงตามความแปลกใหม
เหมาะแกการเสริมสรางกําลังใจ เพื่อจะไดกาวมั่นถูกขั้นตอน
                         หากเยาวชนสนใจธรรมสักนิด ภาวะจิตจะกาวรุดไมหยุดหยอน
                         พระศาสนาดังน้ําดับความรอน             ชี้แนะสอนพัฒนาเยาวชน
                         ใหรูใชเวลาวางสรางประโยชน         รูคุณโทษรูสังเกตรูเหตุผล
                         รูสังคมรูชีวิตรูคิดคน              รูวางตนรูรักสามัคคี
เปนอนาคตของชาติที่อาจหาญ เปนแรงตานอธรรมความกดขี่
เปนผูทรงคุณคาประเพณี                ไมเปนที่หนักใจคนใกลชิด
ถาวันนี้เยาวชนใฝธรรมะ                วันหนาจะนําไทยใหพิสิฐ
คือคุณพุทธศาสนาเสารอาทิตย            นิรมิตชาติสังคมโลกรมเย็น



                                คูมืออบรม   ๑   “ ยุวพุทธ”
พระบรมราโชวาท
               พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว



“......การสอนศาสนาในโรงเรียน ทั้งในกรุงและหัวเมืองจะตองใหมีขึ้น ใหมีความวิตก
ไปวา เด็กชั้นหลังจะหางเหินจากศาสนา จนกลายเปนคนไมมีธรรมในใจมากขึ้น เมื่อ
เปนเชนนั้น จะถือวาเหมือนอยางทุกวันนี้ คนไมรูอะไรก็มีมาก ตอไปภายหนา ถาเปน
คนที่ไดเลาเรียนคงจะไดประพฤติตัวดีกวาคนที่ไมไดเลาเรียนนั้น “หาถูกไม” คนที่ไมมี
ธรรมใหยึดเหนี่ยวเปนเครื่องดําเนินตาม คงจะหันไปหาทางทุจริตโดยมาก ถารูนอยก็
โกงไมคลอง ฤาโกงไมสนิท ถารูมากก็โกงคลองขึ้น และโกงพิสดารมากขึ้น การที่หัด
ใหรูอานอักขรวิธี ไมเปนเครื่องฝกหัดใหคนดีคนชั่ว เปนแตไดวิธีที่สําหรับจะเรียน
ความดีความชั่วไดคลองขึ้น....”


                              คูมืออบรม    ๒   “ ยุวพุทธ”




                        พระบรมราโชวาท
               พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว



 “......การสอนศาสนาในโรงเรียน ทั้งในกรุงและหัวเมืองจะตองใหมีขึ้น ใหมีความ
 วิตกไปวา เด็กชั้นหลังจะหางเหินจากศาสนา จนกลายเปนคนไมมีธรรมในใจมากขึ้น
 เมื่อเปนเชนนั้น จะถือวาเหมือนอยางทุกวันนี้ คนไมรูอะไรก็มีมาก ตอไปภายหนา
 ถาเปนคนที่ไดเลาเรียนคงจะไดประพฤติตัวดีกวาคนที่ไมไดเลาเรียนนั้น “หาถูกไม”
 คนที่ไมมีธรรมใหยึดเหนี่ยวเปนเครื่องดําเนินตาม คงจะหันไปหาทางทุจริตโดยมาก
 ถารูนอยก็โกงไมคลอง ฤาโกงไมสนิท ถารูมากก็โกงคลองขึ้น และโกงพิสดารมากขึ้น
 การที่หัดใหรูอานอักขรวิธี ไมเปนเครื่องฝกหัดใหคนดีคนชั่ว เปนแตไดวิธีที่สําหรับ
 จะเรียนความดีความชั่วไดคลองขึ้น....”



                               คูมืออบรม   ๒   “ ยุวพุทธ”
เด็กคือผูสรางโลก

“.......เด็กทั้งหลาย คือ ผูสรางโลกในอนาคต เราจงพากันสรางโลกโดยผาน
ทางการสรางเด็กอยางถูกตองเสียแตบัดนี้เถิด อยาปลอยใหเด็กเปนไปตาม
บุญตามกรรมเลย จึงจะเปนการกระทําที่ดีมีความรับผิดชอบอยางสูงสุดของ
บิดามารดา ครูบาอาจารยแหงยุคนี้ ซึ่งถือวาเปนยุคของสติปญญา......”


                         (พระธรรมโกศาจารย)

                         คูมืออบรม   ๓   “ ยุวพุทธ”




                          เด็กคือผูสรางโลก

 “.......เด็กทั้งหลาย คือ ผูสรางโลกในอนาคต เราจงพากันสรางโลกโดยผาน
 ทางการสรางเด็กอยางถูกตองเสียแตบัดนี้เถิด อยาปลอยใหเด็กเปนไปตาม
 บุญตามกรรมเลย จึงจะเปนการกระทําที่ดีมีความรับผิดชอบอยางสูงสุด
 ของบิดามารดา ครูบาอาจารยแหงยุคนี้ ซึ่งถือวาเปนยุคของสติปญญา......”


                          (พระธรรมโกศาจารย)
                         คูมืออบรม   ๓   “ ยุวพุทธ”
โครงการอบรมยุวพุทธ(ภาคฤดูกาลเขาพรรษา)
                              ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย
                             สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา
 ๑. ชื่อโครงการ “โครงการอบรมยุวพุทธ(ภาคฤดูกาลเขาพรรษา)”
๒. หลักการและเหตุผล
                    ในปจจุบันนี้เปนที่ทราบกันอยูแลววา ความเสื่อมโทรมทางดานจิตใจมีมากขึ้น และสภาพความจริงใจ
คนพบไดยากในตัวบุคคล แตกลับมีความเจริญทางดานวัตถุเขามาแทนที่ ความสุขในสังคมกําลังลดนอยถอยลงไปทุกขณะ
คดีอาชญากรรม ปญหายาเสพติด ฯลฯ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งปญหาเหลานี้สวนใหญเกิดจากกลุมคนที่เรียกตัวเองวา “วัยรุน”
สภาพสังคมของ“วัยรุน” หรือวัยเยาวชนในปจจุบัน สวนใหญขาดการศึกษาเรื่องราวของชีวิต ทําใหไมรูวาชีวิตเกิดมาทําไม?
เปาหมายของชีวิตอยูที่ไหน? สิ่งสูงสุดที่มนุษยควรไดคืออยางไร? จึงเปนเหตุใหเยาวชนเหลานั้นหลงเดินไปในทางที่ผิด
กอใหเกิดปญหายุงยากวุนวายขึ้นในสังคม สรางความหนักใจแกพอ-แม ครู-อาจารยและผูบริหารบานเมืองทุกระดับชั้น
                    อยางไรก็ตามปญหาสังคมเปนเรื่องจําเปนที่ตองพัฒนา หากปลอยใหเปนไปตามยถากรรม จะกลายเปน
ปญหาที่มีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชากรอยางยิ่ง             จึงจําเปนที่จะตองพัฒนาประชากรใหมีคุณภาพ และ
ปลูกฝงจิตใจใหเกิดคุณธรรมขึ้นแกเยาวชน ทางศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง ประกอบดวยคณะสงฆและ
ฆราวาส ไดตระหนักถึงปญหาเหลานี้เปนอยางยิ่ง และมีความคิดอยูเสมอวา ถาเยาวชนมีความคิดเห็นที่ถูกตองตามทํานอง
                                            คูมืออบรม   ๔   “ ยุวพุทธ”




                        โครงการอบรมยุวพุทธ(ภาคฤดูกาลเขาพรรษา)
                              ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย
                             สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา
 ๑. ชื่อโครงการ “โครงการอบรมยุวพุทธ(ภาคฤดูกาลเขาพรรษา)”
๒. หลักการและเหตุผล
                    ในปจจุบันนี้เปนที่ทราบกันอยูแลววา ความเสื่อมโทรมทางดานจิตใจมีมากขึ้น และสภาพความจริงใจ
คนพบไดยากในตัวบุคคล แตกลับมีความเจริญทางดานวัตถุเขามาแทนที่ ความสุขในสังคมกําลังลดนอยถอยลงไปทุกขณะ
คดีอาชญากรรม ปญหายาเสพติด ฯลฯ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งปญหาเหลานี้สวนใหญเกิดจากกลุมคนที่เรียกตัวเองวา “วัยรุน”
สภาพสังคมของ“วัยรุน” หรือวัยเยาวชนในปจจุบัน สวนใหญขาดการศึกษาเรื่องราวของชีวิต ทําใหไมรูวาชีวิตเกิดมาทําไม?
เปาหมายของชีวิตอยูที่ไหน? สิ่งสูงสุดที่มนุษยควรไดคืออยางไร? จึงเปนเหตุใหเยาวชนเหลานั้นหลงเดินไปในทางที่ผิด
กอใหเกิดปญหายุงยากวุนวายขึ้นในสังคม สรางความหนักใจแกพอ-แม ครู-อาจารยและผูบริหารบานเมืองทุกระดับชั้น
                    อยางไรก็ตามปญหาสังคมเปนเรื่องจําเปนที่ตองพัฒนา หากปลอยใหเปนไปตามยถากรรม จะกลายเปน
ปญหาที่มีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชากรอยางยิ่ง             จึงจําเปนที่จะตองพัฒนาประชากรใหมีคุณภาพ และ
ปลูกฝงจิตใจใหเกิดคุณธรรมขึ้นแกเยาวชน ทางศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง ประกอบดวยคณะสงฆและ
ฆราวาส ไดตระหนักถึงปญหาเหลานี้เปนอยางยิ่ง และมีความคิดอยูเสมอวา ถาเยาวชนมีความคิดเห็นที่ถูกตองตามทํานอง
                                            คูมืออบรม   ๔   “ ยุวพุทธ”
คลองธรรม รูบาปบุญคุณโทษ รักและหวงใยผูอื่น มีความรับผิดชอบตอหนาที่การงาน รูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน มี
ความขยันหมั่นเพียร มีความกตัญูกตเวที มีความสามัคคี รูจักสิ่งที่เปนประโยชนและไมเปนประโยชน จะเปนการ
พัฒนาจิตใจของเยาวชนใหสูงขึ้น เปนผูมีความพรอมทุกอยางทั้งทางโลกและทางธรรม
                   ดวยเหตุนี้ทางศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง จึงไดจัด “โครงการอบรมยุวพุทธ (ภาค
ฤดูกาลเขาพรรษา)” เพื่อปลูกฝงคุณธรรมทางศาสนาใหงอกงามในจิตใจของเยาวชน ฝกฝนอบรมเยาวชนใหเปนลูกที่ดีของ
พอ-แม, เปนศิษยที่ดีของครู-อาจารย, เปนเพื่อนที่ดีของเพื่อน, เปนพลเมืองที่ดีของชาติ, และเปนสาวกที่ดีของพระศาสดา
นอกจากนี้ยังไดเสริมวิชาความรู พิเศษใหแกเยาวชนควบคูไปกับการอบรมคุณธรรมดวย

๓. วัตถุประสงค
                  ๑. เพื่อปลูกฝงเยาวชนใหเกิดศรัทธาเลื่อมใสและตระหนักในคุณคาของพระพุทธศาสนา.
                  ๒. เพื่อปลูกฝงคุณธรรม-จริยธรรมทางศาสนาใหงอกงามในจิตใจของเยาวชน
                  ๓. เพื่อใหเยาวชนไดเรียนรู และสามารถนําความรูตามหลักธรรมทางศาสนาไปประยุกตใชใน
                   ชีวิตประจําวันได.
                  ๔. เพื่อฝกฝนอบรมเยาวชนใหเปนลูกที่ดีของพอ-แม, เปนศิษยที่ดีของครู-อาจารย, เปนเพื่อน
                     ที่ดีขอ เพื่อน, เปนพลเมืองที่ดีของชาติ, และเปนสาวกที่ดีของพระศาสดา
                  ๕. เพื่อใหเยาวชนไดรูจักรับผิดชอบตอตนเอง สังคม และสาธารณสมบัติ
                  ๖. เพื่อใหเยาวชนไดรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน และยังเปนการเสริมความรูพิเศษ
                  ๗. เพื่อจรรโลงไวซึ่งสถาบันชาติ-ศาสนา-พระมหากษัตริย
                                             คูมืออบรม   ๕    “ ยุวพุทธ”




คลองธรรม รูบาปบุญคุณโทษ รักและหวงใยผูอื่น มีความรับผิดชอบตอหนาที่การงาน รูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน มี
ความขยันหมั่นเพียร มีความกตัญูกตเวที มีความสามัคคี รูจักสิ่งที่เปนประโยชนและไมเปนประโยชน จะเปนการ
พัฒนาจิตใจของเยาวชนใหสูงขึ้น เปนผูมีความพรอมทุกอยางทั้งทางโลกและทางธรรม
                   ดวยเหตุนี้ทางศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง จึงไดจัด “โครงการอบรมยุวพุทธ (ภาค
ฤดูกาลเขาพรรษา)” เพื่อปลูกฝงคุณธรรมทางศาสนาใหงอกงามในจิตใจของเยาวชน ฝกฝนอบรมเยาวชนใหเปนลูกที่ดีของ
พอ-แม, เปนศิษยที่ดีของครู-อาจารย, เปนเพื่อนที่ดีของเพื่อน, เปนพลเมืองที่ดีของชาติ, และเปนสาวกที่ดีของพระศาสดา
นอกจากนี้ยังไดเสริมวิชาความรู พิเศษใหแกเยาวชนควบคูไปกับการอบรมคุณธรรมดวย

๓. วัตถุประสงค
                  ๑. เพื่อปลูกฝงเยาวชนใหเกิดศรัทธาเลื่อมใสและตระหนักในคุณคาของพระพุทธศาสนา.
                  ๒. เพื่อปลูกฝงคุณธรรม-จริยธรรมทางศาสนาใหงอกงามในจิตใจของเยาวชน
                  ๓. เพื่อใหเยาวชนไดเรียนรู และสามารถนําความรูตามหลักธรรมทางศาสนาไปประยุกตใชใน
                   ชีวิตประจําวันได.
                  ๔. เพื่อฝกฝนอบรมเยาวชนใหเปนลูกที่ดีของพอ-แม, เปนศิษยที่ดีของครู-อาจารย, เปนเพื่อน
                     ที่ดีขอ เพื่อน, เปนพลเมืองที่ดีของชาติ, และเปนสาวกที่ดีของพระศาสดา
                  ๕. เพื่อใหเยาวชนไดรูจักรับผิดชอบตอตนเอง สังคม และสาธารณสมบัติ
                  ๖. เพื่อใหเยาวชนไดรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน และยังเปนการเสริมความรูพิเศษ
                  ๗. เพื่อจรรโลงไวซึ่งสถาบันชาติ-ศาสนา-พระมหากษัตริย
                                             คูมืออบรม   ๕    “ ยุวพุทธ”
๔. เปาหมาย
              นักเรียนระดับชั้น ป.๑-ม.๖ จํานวน ๗๐ คน

๕. วิธีดําเนินการ
              ๑.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ เพื่อศึกษา รายละเอียดของโครงการ.
              ๒. แตงตั้งคณะกรรมการ เจาหนาที่ฝายตาง ๆ .
              ๓. กําหนดเนื้อหาหลักสูตรการอบรม และจัดพิมพเอกสารตางๆ เพื่อใชในการอบรม.
              ๔. ประสานงานติดตอกับวิทยากรภายนอกที่จะมาชวยใหการอบรม.
              ๕. ประสานงานบุคลากรและหนวยงานอื่น ๆ ที่จะใหความชวยเหลือสนับสนุนโครงการ.
              ๖. ประชาสัมพันธใหนักเรียนและผูปกครองทราบ.
              ๗. จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณตาง ๆ .
              ๘. ดําเนินการตามกําหนดการ.
              ๙. สรุปและประเมินผล.

๖. สถานที่ดําเนินการ
              ณ ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา

๗. ระยะเวลาดําเนินการ
              ในชวงฤดูกาลเขาพรรษา ระหวางเดือน ระหวางเดือน กรกฎาคม - ตุลาคม
                                       คูมืออบรม   ๖   “ ยุวพุทธ”




๔. เปาหมาย
              นักเรียนระดับชั้น ป.๑-ม.๖ จํานวน ๗๐ คน

๕. วิธีดําเนินการ
              ๑.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ เพื่อศึกษา รายละเอียดของโครงการ.
              ๒. แตงตั้งคณะกรรมการ เจาหนาที่ฝายตาง ๆ .
              ๓. กําหนดเนื้อหาหลักสูตรการอบรม และจัดพิมพเอกสารตางๆ เพื่อใชในการอบรม.
              ๔. ประสานงานติดตอกับวิทยากรภายนอกที่จะมาชวยใหการอบรม.
              ๕. ประสานงานบุคลากรและหนวยงานอื่น ๆ ที่จะใหความชวยเหลือสนับสนุนโครงการ.
              ๖. ประชาสัมพันธใหนักเรียนและผูปกครองทราบ.
              ๗. จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณตาง ๆ .
              ๘. ดําเนินการตามกําหนดการ.
              ๙. สรุปและประเมินผล.

๖. สถานที่ดําเนินการ
              ณ ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา

๗. ระยะเวลาดําเนินการ
              ในชวงฤดูกาลเขาพรรษา ระหวางเดือน กรกฎาคม - ตุลาคม
                                       คูมืออบรม   ๖   “ ยุวพุทธ”
๘. งบประมาณ
        รายจายโดยประมาณ          -คาเสื้อ                               ๗๐ ชุด ชุดละ ๑๒๐ บาท  ๘,๔๐๐ บาท
                                  -คาอาหาร-เครื่องดื่มตลอดโครงการ จํานวน ๗๐ คน                ๓๘,๑๐๐ บาท
                                  -คาสมุดหนังสือเอกสารอบรม               ๗๐ ชุด ชุดละ ๕๐ บาท   ๓,๕๐๐ บาท
                                  -คาใชจายเบ็ดเตล็ด-อุปกรณเครื่องเขียน                      ๔,๕๐๐ บาท
                                  -มอบทุนการศึกษานักเรียนมีความประพฤติดี ๖ ทุน ทุนละ ๕๐๐ บาท ๓,๐๐๐ บาท
                                  -อุปกรณซีดีสื่อการสอน                                        ๗,๐๐๐ บาท
                                  -คาวัสดุอุปกรณกีฬา                                          ๕,๕๐๐ บาท
                                                                                   รวมทั้งสิ้น ๗๐,๐๐๐ บาท
        แหลงที่มาของงบประมาณ
                  ๑. ขอรับการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนจังหวัดพังงา                           ๕๐,๐๐๐ บาท
                  ๒. ขอรับการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนตําบล                                  ๒๐,๐๐๐ บาท
๙. ผูรับผิดชอบโครงการ
                 ผูอํานวยการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง (พระอาจารยบุญนพ สุทฺธสีโล)
                 คณะสงฆสํานักสงฆสวนวาง
                 กํานันตําบลแมนางขาว
                 อาจารยใหญโรงเรียนบานทุงรัก
๑๐. ผลที่คาดวาจะไดรับ
                 ทําใหเยาวชนเปนผูมีจริยธรรมอันดีงาม รูจักใชหลักธรรมในการ แกปญหาชีวิตประจําวันได มีความ
ศรัทธาและเขาใจในหลักธรรมพระพุทธศาสนามากขึ้น สรางความสัมพันธอันดีระหวางบาน-วัด-โรงเรียน
                                          คูมืออบรม   ๗   “ ยุวพุทธ”




๘. งบประมาณ
        รายจายโดยประมาณ          -คาเสื้อ                               ๗๐ ชุด ชุดละ ๑๒๐ บาท  ๘,๔๐๐ บาท
                                  -คาอาหาร-เครื่องดื่มตลอดโครงการ ๒๘ จํานวน ๗๐ คน             ๓๘,๑๐๐ บาท
                                  -คาสมุดหนังสือเอกสารอบรม               ๗๐ ชุด ชุดละ ๕๐ บาท   ๓,๕๐๐ บาท
                                  -คาใชจายเบ็ดเตล็ด-อุปกรณเครื่องเขียน                      ๔,๕๐๐ บาท
                                  -มอบทุนการศึกษานักเรียนมีความประพฤติดี ๖ ทุน ทุนละ ๕๐๐ บาท ๓,๐๐๐ บาท
                                  -อุปกรณซีดีสื่อการสอน                                        ๗,๐๐๐ บาท
                                  -คาวัสดุอุปกรณกีฬา                                          ๕,๕๐๐ บาท
                                                                                   รวมทั้งสิ้น ๗๐,๐๐๐ บาท
        แหลงที่มาของงบประมาณ
                  ๑. ขอรับการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนจังหวัดพังงา                           ๕๐,๐๐๐ บาท
                  ๒. ขอรับการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนตําบลแมนางขาว                         ๒๐,๐๐๐ บาท
 ๙. ผูรับผิดชอบโครงการ
                 ผูอํานวยการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง (พระอาจารยบุญนพ สุทฺธสีโล)
                 คณะสงฆสํานักสงฆสวนวาง
                 กํานันตําบลแมนางขาว
                 อาจารยใหญโรงเรียนบานทุงรักและคณะครูโรงเรียนบานทุงรัก
๑๐. ผลที่คาดวาจะไดรับ
                 ทําใหเยาวชนเปนผูมีจริยธรรมอันดีงาม รูจักใชหลักธรรมในการ แกปญหาชีวิตประจําวันได มีความ
ศรัทธาและเขาใจในหลักธรรมพระพุทธศาสนามากขึ้น สรางความสัมพันธอันดีระหวางบาน-วัด-โรงเรียน
                                          คูมืออบรม   ๗   “ ยุวพุทธ”
คณะกรรมการบริหาร
               ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย
               สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา

พระอาจารยบุญนพ สุทฺธสีโล                           (ผูอํานวยการ)
พระอาจารยบุญเหนาะ อาจาโร                           (รองผูอํานวยการ-เลขานุการ)
อ.สมนึก นิพนธทิวากาล(ผ.อ.ร.ร.บานทุงรัก)          (กรรมการ)
นายกุศล ทองนุย (รองนายกอ.บ.ต.แมนางขาว             (กรรมการ)
นายลิขิต ยอดยิ่ง (สมชิกอ.บ.ต.แมนางขาว)             (กรรมการ)
นายสนั่น ถาพร (สมชิกอ.บ.ต.แมนางขาว)                (กรรมการ)




                      คูมืออบรม   ๘   “ ยุวพุทธ”




                           คณะกรรมการบริหาร
               ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย
               สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา

พระอาจารยบุญนพ สุทฺธสีโล                           (ผูอํานวยการ)
พระอาจารยบุญเหนาะ อาจาโร                           (รองผูอํานวยการ-เลขานุการ)
อ.สมนึก นิพนธทิวากาล(ผ.อ.ร.ร.บานทุงรัก)          (กรรมการ)
นายกุศล ทองนุย (รองนายกอ.บ.ต.แมนางขาว             (กรรมการ)
นายลิขิต ยอดยิ่ง (สมชิกอ.บ.ต.แมนางขาว)             (กรรมการ)
นายสนั่น ถาพร (สมชิกอ.บ.ต.แมนางขาว)                (กรรมการ)




                      คูมืออบรม   ๘   “ ยุวพุทธ”
ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย
                    สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา

              อบรมยุวพุทธ (ภาคฤดูกาลเขาพรรษา)
                             ตั้งแตชั้น ป.๑ - ม.๖
๑. วิชาพระพุทธศาสนา           -ประกอบดวย (๔ วิชา)
                -ธรรมะ                  -พุทธประวัติ
                -ศาสนพิธี               -มารยาทชาวพุทธ
๒. วิชาภาษาอังกฤษ                       -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.๖
๓. วิชาคณิตศาสตร                       -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.๖
๔. วิชาวาดเขียน                         -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.4
๕. วิชาคอมพิวเตอร                      -ตั้งแตชั้น ป.๓-ม.๖
           เริ่มอบรมตั้งแตวันเสารที่ ๗ ส.ค. ถึงวันอาทิตยที่ ๒๔ ต.ค.
                              คูมืออบรม   ๙   “ ยุวพุทธ”




                     ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย
                    สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา

              อบรมยุวพุทธ (ภาคฤดูกาลเขาพรรษา)
                             ตั้งแตชั้น ป.๑ - ม.๖
๑. วิชาพระพุทธศาสนา           -ประกอบดวย (๔ วิชา)
                -ธรรมะ                  -พุทธประวัติ
                -ศาสนพิธี               -มารยาทชาวพุทธ
๒. วิชาภาษาอังกฤษ                       -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.๖
๓. วิชาคณิตศาสตร                       -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.๖
๔. วิชาวาดเขียน                         -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.4
๕. วิชาคอมพิวเตอร                      -ตั้งแตชั้น ป.๓-ม.๖
           เริ่มอบรมตั้งแตวันเสารที่ ๗ ส.ค. ถึงวันอาทิตยที่ ๒๔ ต.ค.
                              คูมืออบรม   ๙   “ ยุวพุทธ”
ตารางอบรมวันเสาร-อาทิตย
๐๘.๓๐-๑๐.๐๐ น.                           ศาสนพิธี-ภาคปฏิบัติ(ป.๑-ม.๖)
๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น.     เสาร       คอมพิวเตอร       วาดเขียน (ป.๑-ป.๓) คณิตศาสตร(ป.๔-ป.๖)
                                 (มัธยม)
๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. อาทิตย         พุทธศาสนา      คณิตศาสตร (ป.๑-ป.๓) พุทธศาสนา(ป.๔-ป.๖)
                                 (มัธยม)
๑๒.๐๐-๑๒.๓๐ น                                            พัก
๑๒.๓๐-๑๓.๓๐ น.                        ธรรมบันเทิง(วี.ดี.โอ-เกมส-เพลงธรรมะ)
๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น. เสาร           คอมพิวเตอร           ภาษาอังกฤษ             พุทธศาสนา
                                 (มัธยม)                (ป.๔-ป.๖)           (ป.๑-ป.๓)
๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น. อาทิตย                   มารยาทชาวพุทธ-สวดมนต-สมาธิภาวนา
                                                สอนเสริมพิเศษ (ป.๓-ป.๔)
๑๕.๐๐–๑๖.๓๐ น.                             สอนเสริมพิเศษ (ป.๕-ป.๖)
            วันจันทร - พฤหัส-เวลา ๑๖.๓๐-๑๘.๐๐ น. เปดสอนพิเศษวิชาคอมพิวเตอร


                                 คูมืออบรม   ๑๐ “ ยุวพุทธ”




                            ตารางอบรมวันเสาร-อาทิตย
๐๘.๓๐-๑๐.๐๐ น.                           ศาสนพิธี-ภาคปฏิบัติ(ป.๑-ม.๖)
๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น.     เสาร     คอมพิวเตอร         วาดเขียน (ป.๑-ป.๓) คณิตศาสตร(ป.๔-ป.๖)
                                (มัธยม)
๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. อาทิตย พุทธศาสนา              คณิตศาสตร (ป.๑-ป.๓) พุทธศาสนา(ป.๔-ป.๖)
                                (มัธยม)
๑๒.๐๐-๑๒.๓๐ น                                            พัก
๑๒.๓๐-๑๓.๓๐ น.                        ธรรมบันเทิง(วี.ดี.โอ-เกมส-เพลงธรรมะ)
๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น. เสาร         คอมพิวเตอร             ภาษาอังกฤษ             พุทธศาสนา
                                (มัธยม)               (ป.๔-ป.๖)             (ป.๑-ป.๓)
๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น. อาทิตย                   มารยาทชาวพุทธ-สวดมนต-สมาธิภาวนา
                                                สอนเสริมพิเศษ (ป.๓-ป.๔)
๑๕.๐๐-๑๕.๓๐ น.                             สอนเสริมพิเศษ (ป.๕-ป.๖)
            วันจันทร - พฤหัส-เวลา ๑๖.๓๐-๑๘.๐๐ น. เปดสอนพิเศษวิชาคอมพิวเตอร


                                 คูมืออบรม   ๑๐   “ ยุวพุทธ”
 พิธีเปดการอบรม-แสดงตนเปนพุทธมามกะและมอบตัวเปนศิษย 
๑. ประธานจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย
๒. กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย
                            คําบูชาพระรัตนตรัย 
      อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
             พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต, บริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสเครื่องเศราหมอง
             ทั้งหลาย,ไดตรัสรูถูกถวนดีแลว,
      อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ,
             ขาพเจาบูชาซึ่งพระผูมีพระภาคเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้,   (กราบ)
      สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
             พระธรรมคือศาสนา, อันพระผูมีพระภาคเจานั้น, แสดงไวดีแลว,
      อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ,
             ขาพเจาบูชาซึ่งพระธรรมเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้,          (กราบ)
      สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
             หมูพระสงฆผูเชื่อฟง, ของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว
                                      คูมืออบรม   ๑๑ “ ยุวพุทธ”




       พิธีเปดการอบรม-แสดงตนเปนพุทธมามกะและมอบตัวเปนศิษย 
๑. ประธานจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย
๒. กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย
                            คําบูชาพระรัตนตรัย 
      อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
             พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต, บริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสเครื่องเศราหมอง
             ทั้งหลาย,ไดตรัสรูถูกถวนดีแลว,
      อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ,
             ขาพเจาบูชาซึ่งพระผูมีพระภาคเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้,   (กราบ)
      สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
             พระธรรมคือศาสนา, อันพระผูมีพระภาคเจานั้น, แสดงไวดีแลว,
      อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ,
             ขาพเจาบูชาซึ่งพระธรรมเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้,          (กราบ)
      สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
             หมูพระสงฆผูเชื่อฟง, ของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว
                                      คูมืออบรม   ๑๑   “ ยุวพุทธ”
อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ,
              ขาพเจาบูชาซึ่งพระสงฆเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้.     (กราบ)

๓. กลาวรายงานวัตถุประสงค
๔. ประธานกลาวเปดงานและใหโอวาท
๕. พิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะและมอบตัวเปนศิษย
๖. ตัวแทนนักเรียน ๓ คน นั่งอยูตรงหนาพระอาจารย ใหหญิงถือพานดอกไม ๑ คน ชายถือพาน
   ธูปเทียนแพ ๑ คน สวนอีกคนนั้นนํากลาวบูชาพระรัตนตรัยวาพรอมกันดังนี้

                              คําบูชาพระรัตนตรัย 
       อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ,
              ขาพเจาขอบูชาพระพุทธเจา, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้,        (กราบ)
       อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ,
              ขาพเจาขอบูชาพระธรรม, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้,            (กราบ)
       อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.
              ขาพเจาขอบูชาพระสงฆ, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้ .           (กราบ)
                                      คูมืออบรม   ๑๒ “ ยุวพุทธ”




       อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ,
              ขาพเจาบูชาซึ่งพระสงฆเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้.     (กราบ)

๓. กลาวรายงานวัตถุประสงค
๔. ประธานกลาวเปดงานและใหโอวาท
๕. พิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะและมอบตัวเปนศิษย
๖. ตัวแทนนักเรียน ๓ คน นั่งอยูตรงหนาพระอาจารย ใหหญิงถือพานดอกไม ๑ คน ชายถือพาน
   ธูปเทียนแพ ๑ คน สวนอีกคนนั้นนํากลาวบูชาพระรัตนตรัยวาพรอมกันดังนี้

                              คําบูชาพระรัตนตรัย 
       อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ,
              ขาพเจาขอบูชาพระพุทธเจา, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้,        (กราบ)
       อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ,
              ขาพเจาขอบูชาพระธรรม, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้,            (กราบ)
       อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ.
              ขาพเจาขอบูชาพระสงฆ, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้ .           (กราบ)
                                       คูมืออบรม ๑๒ “ ยุวพุทธ”
๗. ตัวแทนนักเรียนถวายพานดอกไมธูปเทียนแพแดพระอาจารย เสร็จแลวกราบพรอมกัน ๓ ครั้ง
   จากนั้นนั่งคุกเขา เปลงคําปฏิญาณตนพรอมกันใหฉะฉานตอหนาสงฆ ทั้งคําบาลีและคําแปล
   เปนตอนๆ ไปจนจบเรื่องปฏิญาณตนเปนพุทธมามกะดังนี้




                                 คํานมัสการ 
                 นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
                 นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
                 นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
       ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น,
       ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น,
       ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น,
                                    คูมืออบรม   ๑๓ “ ยุวพุทธ”




๗. ตัวแทนนักเรียนถวายพานดอกไมธูปเทียนแพแดพระอาจารย เสร็จแลวกราบพรอมกัน ๓ ครั้ง
   จากนั้นนั่งคุกเขา เปลงคําปฏิญาณตนพรอมกันใหฉะฉานตอหนาสงฆ ทั้งคําบาลีและคําแปล
   เปนตอนๆ ไปจนจบเรื่องปฏิญาณตนเปนพุทธมามกะดังนี้




                                 คํานมัสการ 
                 นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
                 นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
                 นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
       ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น,
       ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น,
       ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น ,
                                    คูมืออบรม ๑๓ “ ยุวพุทธ”
 คําปฏิญาณเปนพุทธมามกะ 
       เอเต (เอตา) มะยัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามะ,
ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, พุทธะมามะกาติ โน, สังโฆ ธาเรตุ.
       ขาแตพระสงฆผูเจริญ, ขาพเจาขอถึง, พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น, แมปรินิพพาน
ไปนานแลว, ทั้งพระธรรมและพระสงฆ, เปนสรณะที่นับถือ, ขอพระสงฆจงจําขาพเจาไววา,
เปนพุทธมามกะ, ผูรับเอาพระพุทธเจาเปนของตน, คือผูนับถือพระพุทธเจา.
หมายเหตุ.- ผูชายวา “เอเต” ผูหญิงวา “เอตา”
๘. ตัวแทนนักเรียนกลาวนําคํามอบตัวเปนศิษยดังนี้
                                คํากลาวมอบตัวเปนศิษย 
       กราบนมัสการพระอาจารยทุกรูปและกราบเรียนคณะครูอาจารยที่เคารพทุกทาน
       ชีวิตขาพเจาตั้งแตเกิดมา, มีพอแมอุปการะเลี้ยงดู, ไดรับความอบอุนเสมอมา, แตบัดนี้
พวกขาพเจามาที่นี่, เพื่อแสวงหาความดี, มาอบรมพระพุทธศาสนา, ถึงแมวาพวกขาพเจาจะจาก
บานมา, จากพอแมมาก็ตาม, แตก็มั่นใจในความปรารถนาดีของทานทั้งหลาย, พวกขาพเจาขอ
นอมรําลึกอยูเสมอวา, ทานทั้งหลายผูมิใชพอ, ก็เหมือนพอ, มิใชแมก็เหมือนแม, เพื่อความดี,
พวกขาพเจาจึงขอปฏิญาณ, มอบกายใจแกทานทั้งหลายดวยวา,
                                       คูมืออบรม   ๑๔ “ ยุวพุทธ”




                            คําปฏิญาณเปนพุทธมามกะ 
       เอเต (เอตา) มะยัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามะ,
ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, พุทธะมามะกาติ โน, สังโฆ ธาเรตุ.
       ขาแตพระสงฆผูเจริญ, ขาพเจาขอถึง, พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น, แมปรินิพพาน
ไปนานแลว, ทั้งพระธรรมและพระสงฆ, เปนสรณะที่นับถือ, ขอพระสงฆจงจําขาพเจาไววา,
เปนพุทธมามกะ, ผูรับเอาพระพุทธเจาเปนของตน, คือผูนับถือพระพุทธเจา.
หมายเหตุ.- ผูชายวา “เอเต” ผูหญิงวา “เอตา”
๘. ตัวแทนนักเรียนกลาวนําคํามอบตัวเปนศิษยดังนี้
                                คํากลาวมอบตัวเปนศิษย 
       กราบนมัสการพระอาจารยทุกรูปและกราบเรียนคณะครูอาจารยที่เคารพทุกทาน
       ชีวิตขาพเจาตั้งแตเกิดมา, มีพอแมอุปการะเลี้ยงดู, ไดรับความอบอุนเสมอมา, แตบัดนี้
พวกขาพเจามาที่นี่, เพื่อแสวงหาความดี, มาอบรมพระพุทธศาสนา, ถึงแมวาพวกขาพเจาจะจาก
บานมา, จากพอแมมาก็ตาม, แตก็มั่นใจในความปรารถนาดีของทานทั้งหลาย, พวกขาพเจาขอ
นอมรําลึกอยูเสมอวา, ทานทั้งหลายผูมิใชพอ, ก็เหมือนพอ, มิใชแมก็เหมือนแม, เพื่อความดี,
พวกขาพเจาจึงขอปฏิญาณ, มอบกายใจแกทานทั้งหลายดวยวา,
                                        คูมืออบรม ๑๔ “ ยุวพุทธ”
"ขอใหนักเรียนทุกคนกลาว ตามขาพเจาดังนี้"
        "ขาพเจาทั้งหลาย, ขอมอบตัวเปนศิษยของพระอาจารย, และคณะครูอาจารยทุกทาน,
ขอทานไดโปรดเมตตา, รับขาพเจาทั้งหลายไว, ในฐานะเปนศิษย, ขอเมตตาธรรมอันเปยมลน
ของทาน, ไดโปรดกรุณาอบรมสั่งสอน, ใหความรูและแนวทางปฏิบัติธรรม, หากยังมีสิ่งใด
บกพรอง, หรือผิดพลาดประการใด, กรุณาวากลาวตักเตือนแนะนํา, หรือลงโทษตามสมควร
, พวกขาพเจาขอนอมรับ, คําสั่งสอนดวยความเคารพ, ทั้งนี้เพื่อความเจริญในธรรม, แก
ขาพเจาทั้งหลายดวยเทอญ"
๙. นักเรียนทั้งหมดกราบพระอาจารย แลวจึงกราบคณะครู
๑๐. นักเรียนอาราธนาศีล ๕ พรอมกัน
                                   คําอาราธนาศีล 
       มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ,
ทุติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ,
ตะติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ.
๑๑. พระอาจารยใหศีลและกลาวใหโอวาทรับนักเรียนเปนศิษย
๑๒.นักเรียนกราบขอบคุณพระอาจารยพรอมกัน กราบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง
                                   คูมืออบรม   ๑๕ “ ยุวพุทธ ”




"ขอใหนักเรียนทุกคนกลาว ตามขาพเจาดังนี้"
        "ขาพเจาทั้งหลาย, ขอมอบตัวเปนศิษยของพระอาจารย, และคณะครูอาจารยทุกทาน,
ขอทานไดโปรดเมตตา, รับขาพเจาทั้งหลายไว, ในฐานะเปนศิษย, ขอเมตตาธรรมอันเปยมลน
ของทาน, ไดโปรดกรุณาอบรมสั่งสอน, ใหความรูและแนวทางปฏิบัติธรรม, หากยังมีสิ่งใด
บกพรอง, หรือผิดพลาดประการใด, กรุณาวากลาวตักเตือนแนะนํา, หรือลงโทษตามสมควร
, พวกขาพเจาขอนอมรับ, คําสั่งสอนดวยความเคารพ, ทั้งนี้เพื่อความเจริญในธรรม, แก
ขาพเจาทั้งหลายดวยเทอญ"
๙. นักเรียนทั้งหมดกราบพระอาจารย แลวจึงกราบคณะครู
๑๐. นักเรียนอาราธนาศีล ๕ พรอมกัน
                                   คําอาราธนาศีล 
       มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ,
ทุติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ,
ตะติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ.
๑๑. พระอาจารยใหศีลและกลาวใหโอวาทรับนักเรียนเปนศิษย
๑๒.นักเรียนกราบขอบคุณพระอาจารยพรอมกัน กราบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง
                                    คูมืออบรม ๑๕ “ ยุวพุทธ”
ยุวพุทธขอสัญญาวา
-ขอเคารพ                       -เชื่อฟง
-ตั้งใจเรียน                          -เพียรขยัน
-ไมดื้อรั้น                   -มารยาทดี
-มีระเบียบวินัย                -น้ําใจเอื้อเฟอ
-เชื่อมั่นตนเอง                -เกรงกลัวความชั่ว
-ทําตัวกลาหาญ                 -การงานซื่อตรง
-ตรงตอเวลา                    -วาจานารัก
-รูจักพอดี                    -มีความอดทน
-เปนคนกตัญู                  -รูจักคิดใชปญญา
                  คูมืออบรม    ๑๖ “ ยุวพุทธ ”




     ยุวพุทธขอสัญญาวา
-ขอเคารพ                       -เชื่อฟง
-ตั้งใจเรียน                          -เพียรขยัน
-ไมดื้อรั้น                   -มารยาทดี
-มีระเบียบวินัย                -น้ําใจเอื้อเฟอ
-เชื่อมั่นตนเอง                -เกรงกลัวความชั่ว
-ทําตัวกลาหาญ                 -การงานซื่อตรง
-ตรงตอเวลา                    -วาจานารัก
-รูจักพอดี                    -มีความอดทน
-เปนคนกตัญู                  -รูจักคิดใชปญญา
                  คูมืออบรม    ๑๖   “ ยุวพุทธ”
อุดมการณของยุวพุทธ
“น อนริยํ กริสฺสามิ (นะ อะนะริยัง กะริสสามิ)
    = ยุวพุทธจะไมกระทําสิ่งที่ต่ําทราม”
             ยุวพุทธขอรักผูอื่น
          ยุวพุทธขอบังคับตนเอง
  ยุวพุทธขอทํางานใหสนุก เปนสุขเมื่อทํางาน




               คูมืออบรม   ๑๗ “ ยุวพุทธ ”




       อุดมการณของยุวพุทธ
“น อนริยํ กริสฺสามิ (นะ อะนะริยัง กะริสสามิ)
    = ยุวพุทธจะไมกระทําสิ่งที่ต่ําทราม”
             ยุวพุทธขอรักผูอื่น
          ยุวพุทธขอบังคับตนเอง
  ยุวพุทธขอทํางานใหสนุก เปนสุขเมื่อทํางาน




               คูมืออบรม ๑๗ “ ยุวพุทธ”
บทพิจารณาอาหาร
           คํากลาวระลึกถึงผูมีพระคุณกอนรับประทานอาหาร
ขาวทุกจาน           อาหารทุกอยาง
อยากินทิ้งขวาง      เปนของมีคา
พอแมเหนื่อยยาก      ลําบากหนักหนา
สงสารบรรดา            คนยากคนจน
                      ขอบคุณ         ขอบคุณ        ขอบคุณ
                      ขอบคุณที่กรุณา       เมตตาทําอาหารให
                      พวกเราไมมีสิ่งใด ขอตั้งใจทําความดีตอบแทน
        ขอบคุณพระพุทธ ขอบคุณพระธรรม ขอบคุณพระสงฆ
            ขอบคุณคุณพอคุณแม            ขอบคุณคุณครูอาจารย
                         ขอบคุณผูมีพระคุณทุก ๆ ทาน
       ในโลกนี้ยังมีคนที่จนยาก       แสนลําบากอัตคัดและขัดสน
            อยากินทิ้งกินขวางตามใจตน สงสารคนอื่นที่ไมมีกิน
                         คูมืออบรม   ๑๘ “ ยุวพุทธ ”




                   บทพิจารณาอาหาร
           คํากลาวระลึกถึงผูมีพระคุณกอนรับประทานอาหาร
ขาวทุกจาน           อาหารทุกอยาง
อยากินทิ้งขวาง      เปนของมีคา
พอแมเหนื่อยยาก      ลําบากหนักหนา
สงสารบรรดา            คนยากคนจน
                      ขอบคุณ         ขอบคุณ        ขอบคุณ
                      ขอบคุณที่กรุณา       เมตตาทําอาหารให
                      พวกเราไมมีสิ่งใด ขอตั้งใจทําความดีตอบแทน
        ขอบคุณพระพุทธ ขอบคุณพระธรรม ขอบคุณพระสงฆ
            ขอบคุณคุณพอคุณแม            ขอบคุณคุณครูอาจารย
                         ขอบคุณผูมีพระคุณทุก ๆ ทาน
       ในโลกนี้ยังมีคนที่จนยาก       แสนลําบากอัตคัดและขัดสน
            อยากินทิ้งกินขวางตามใจตน สงสารคนอื่นที่ไมมีกิน
                         คูมืออบรม ๑๘ “ ยุวพุทธ”
คําอธิษฐานหลังรับประทานอาหาร
 ขาพเจาขอตั้งจิตอธิษฐานวา ,
 เมื่อขาพเจาไดชีวิตเลือดเนื้อ,
 จากอาหารมื้อนี้แลว,
 ขาพเจาไมขอลืมพระคุณของผูมีพระคุณ,
                 และขอใชกายวาจาใจ,
                 เคลื่อนไหวไปใหเปนประโยชน,
                 ทั้งแกตนเองและผูอื่นทุกเมื่อเทอญ.

               คูมืออบรม   ๑๙ “ ยุวพุทธ ”




คําอธิษฐานหลังรับประทานอาหาร
 ขาพเจาขอตั้งจิตอธิษฐานวา ,
 เมื่อขาพเจาไดชีวิตเลือดเนื้อ,
 จากอาหารมื้อนี้แลว,
 ขาพเจาไมขอลืมพระคุณของผูมีพระคุณ,
                 และขอใชกายวาจาใจ,
                 เคลื่อนไหวไปใหเปนประโยชน,
                 ทั้งแกตนเองและผูอื่นทุกเมื่อเทอญ.

               คูมืออบรม   ๑๙   “ ยุวพุทธ”
เมื่อยุวพุทธไปวัด

  ยุวพุทธแสดงความเคารพ
            กราบพระประธานกอน



  แลวจึงกราบหรือไหวพระอาจารย-เจาอาวาส



และเมื่อพบพระรูปอื่นก็พึงทําความเคารพทานดวย
               คูมืออบรม   ๒๐ “ ยุวพุทธ ”




         เมื่อยุวพุทธไปวัด

  ยุวพุทธแสดงความเคารพ
            กราบพระประธานกอน



  แลวจึงกราบหรือไหวพระอาจารย-เจาอาวาส



และเมื่อพบพระรูปอื่นก็พึงทําความเคารพทานดวย
               คูมืออบรม ๒๐ “ ยุวพุทธ”
เมื่อมีการบรรยาย
    ทุกครั้งที่พระอาจารยหรือคุณครูบรรยายให(กรณีนั่งพื้นใหคุกเขาสําหรับพระ)

                                   แลวกลาวคําวา

     “ขอเคารพพระธรรมที่มีอยูในทานพระอาจารย (หรือคุณครู)"
เมื่อพระอาจารยหรือคุณครูบรรยายจบ(กรณีนั่งพื้นใหคุกเขาสําหรับพระกลาวคํา"สาธุ")

                                   แลวกลาวคําวา

    "ขอขอบคุณพระธรรมที่มีอยูในทานพระอาจารย (หรือคุณครู),
      พวกเราไมมีสิ่งใดตอบแทน ขอรับธรรมะไปปฏิบัติบูชา"

                              คูมืออบรม   ๒๑ “ ยุวพุทธ ”




                      เมื่อมีการบรรยาย
    ทุกครั้งที่พระอาจารยหรือคุณครูบรรยายให(กรณีนั่งพื้นใหคุกเขาสําหรับพระ)

                                   แลวกลาวคําวา

     “ขอเคารพพระธรรมที่มีอยูในทานพระอาจารย (หรือคุณครู)"
เมื่อพระอาจารยหรือคุณครูบรรยายจบ(กรณีนั่งพื้นใหคุกเขาสําหรับพระกลาวคํา"สาธุ")

                                   แลวกลาวคําวา

    "ขอขอบคุณพระธรรมที่มีอยูในทานพระอาจารย (หรือคุณครู),
      พวกเราไมมีสิ่งใดตอบแทน ขอรับธรรมะไปปฏิบัติบูชา"
                              คูมืออบรม ๒๑ “ ยุวพุทธ”
คูมืออบรม ๒๒ “ ยุวพุทธ”




คูมืออบรม ๒๒ “ ยุวพุทธ”
พิธีกรรมแมจะเปนเปลือกมิใชแกนของ
ศาสนาก็ตาม แตก็เปนสิ่งที่จูงใจคนใหละชั่วทําดีทํา
จิตใจใหบริสุทธิ์ กอใหเกิดคุณคาทางจิตใจเปนการ
รักษาเอกลักษณของชาติ          เพราะพิธีกรรมเปน
วัฒนธรรมที่บงบอกถึงความเปนชาติไทย
การทําพิธีกรรมทางศาสนาตองถือหลัก ๔ ประการ คือ.-
           ๑. ประหยัด
           ๒.ไดประโยชน
           ๓.ถูกตอง
          ๔.เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ
                คูมืออบรม   ๒๓ “ ยุวพุทธ”




     พิธีกรรมแมจะเปนเปลือกมิใชแกนของ
ศาสนาก็ตาม แตก็เปนสิ่งที่จูงใจคนใหละชั่วทําดีทํา
จิตใจใหบริสุทธิ์ กอใหเกิดคุณคาทางจิตใจเปนการ
รักษาเอกลักษณของชาติ          เพราะพิธีกรรมเปน
วัฒนธรรมที่บงบอกถึงความเปนชาติไทย
การทําพิธีกรรมทางศาสนาตองถือหลัก ๔ ประการ คือ.-
           ๑. ประหยัด
           ๒.ไดประโยชน
           ๓.ถูกตอง
          ๔.เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ
                 คูมืออบรม ๒๓ “ ยุวพุทธ”
ศาสนพิธีระเบียบปฏิบัติที่ยุวพุทธควรรูจัก
ก. ความหมายของคําวาศาสนพิธี
       ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมหรือระเบียบแบบแผนตางๆ ที่ดีงาม ที่พึงปฏิบัติในทางพระศาสนา
ข. ประโยชนของการประกอบศาสนพิธี
         ๑. ประโยชนทางใจ ชวยใหเกิดคุณธรรมขึ้นในตัวผูปฏิบัติ ไดแก
                  ก. ความมีสติ.
                  ข. ความสามัคคี.
                  ค. ความเปนระเบียบประณีตงดงาม.
                  ง. เกิดความชุมชื่นเบิกบานใจ.
                  จ. เกิดความฉลาด.
         ๒. เพื่อรักษาเอกลักษณของชาติ ที่ไมมีชาติใดเหมือน แสดงถึงความเปนไท มิใชทาสของชาติใด ทั้ง
ยังปองกันมิใหชาติถูกกลืน.
         ๓. มีสวนชวยธํารงพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีเปนขั้นตอนชักจูงใหผูปฏิบัติซาบซึ้ง เกิดศรัทธาใน
พระพุทธศาสนา มีใจมุงมั่นที่จะศึกษาแกนแทของพุทธศาสนาในชั้นลึกตอไปไดดวยดี.
                                            .......... .......... ..........
                                      คูมืออบรม   ๒๔ “ ยุวพุทธ”




            ศาสนพิธีระเบียบปฏิบัติที่ยุวพุทธควรรูจัก
ก. ความหมายของคําวาศาสนพิธี
       ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมหรือระเบียบแบบแผนตางๆ ที่ดีงาม ที่พึงปฏิบัติในทางพระศาสนา
ข. ประโยชนของการประกอบศาสนพิธี
         ๑. ประโยชนทางใจ ชวยใหเกิดคุณธรรมขึ้นในตัวผูปฏิบัติ ไดแก
                  ก. ความมีสติ.
                  ข. ความสามัคคี.
                  ค. ความเปนระเบียบประณีตงดงาม.
                  ง. เกิดความชุมชื่นเบิกบานใจ.
                  จ. เกิดความฉลาด.
         ๒. เพื่อรักษาเอกลักษณของชาติ ที่ไมมีชาติใดเหมือน แสดงถึงความเปนไท มิใชทาสของชาติใด ทั้ง
ยังปองกันมิใหชาติถูกกลืน.
         ๓. มีสวนชวยธํารงพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีเปนขั้นตอนชักจูงใหผูปฏิบัติซาบซึ้ง เกิดศรัทธาใน
พระพุทธศาสนา มีใจมุงมั่นที่จะศึกษาแกนแทของพุทธศาสนาในชั้นลึกตอไปไดดวยดี.
                                           .......... .......... ......... .
                                      คูมืออบรม ๒๔ “ ยุวพุทธ”
ค. ประเภทของศาสนพิธี
         ศาสนพิธีโดยสรุปแบงออกไดเปน ๔ หมวด คือ.-
         ๑. หมวดกุศลพิธี วาดวย พิธีบําเพ็ญกุศล ไดแก พิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะ พิธีรักษาอุโบสถศีล
พิธีเวียนเทียน เปนตน.
         ๒. หมวดบุญพิธี วาดวย พิธีบําเพ็ญบุญเลี้ยงพระไดแก พิธีแตงงาน,พิธีขึ้นบานใหมเปนตน
         ๓. หมวดทานพิธี วาดวย พิธีถวายทาน ไดแก ทานวัตถุ ๑๐ อยาง.
         ๔. หมวดปกิณกะ วาดวย พิธีเบ็ดเตล็ด ไดแก พิธีแสดงความเคารพ การประเคนของ การกรวดน้ํา
และคําอาราธนาคําถวายทานตาง ๆ.
ง. พิธีเวียนเทียน ในวันสําคัญในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งมีอยู ๔ วัน คือ.-
         ๑. วันวิสาขบูชา (วันพระพุทธ) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ เปนวันคลายวันประสูติ ตรัสรูปรินิพพาน.
         ๒. วันมาฆบูชา (วันพระสงฆ) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๓ เปนวันที่มีเหตุการณเกิดขึ้น ๔ ประการ
เรียกวา “จาตุรงคสันนิบาต” พระพุทธองคทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข ทามกลางพระสงฆ ๑,๒๕๐ รูป ณ
เวฬุวันมหาวิหาร ในกรุงราชคฤห
         ๓. วันอาสาฬหบูชา (วันพระธรรม) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๘ วันที่พระพุทธเจาแสดงธรรม
เปนครั้งแรก เปนวันพระรัตนตรัยครอบองค อัญญาโกณฑัญญะ ไดฟงธรรมแลวเกิดดวงตาเห็น
ธรรม ไดทูลขอบรรพชาเปนภิกษุองคแรกในพระพุทธศาสนา.
                                      คูมืออบรม ๒๕ “ ยุวพุทธ”




ค. ประเภทของศาสนพิธี
         ศาสนพิธีโดยสรุปแบงออกไดเปน ๔ หมวด คือ.-
         ๑. หมวดกุศลพิธี วาดวย พิธีบําเพ็ญกุศล ไดแก พิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะ พิธีรักษาอุโบสถศีล
พิธีเวียนเทียน เปนตน.
         ๒. หมวดบุญพิธี วาดวย พิธีบําเพ็ญบุญเลี้ยงพระไดแก พิธีแตงงาน,พิธีขึ้นบานใหมเปนตน
         ๓. หมวดทานพิธี วาดวย พิธีถวายทาน ไดแก ทานวัตถุ ๑๐ อยาง.
         ๔. หมวดปกิณกะ วาดวย พิธีเบ็ดเตล็ด ไดแก พิธีแสดงความเคารพ การประเคนของ การกรวดน้ํา
และคําอาราธนาคําถวายทานตาง ๆ.
ง. พิธีเวียนเทียน ในวันสําคัญในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งมีอยู ๔ วัน คือ.-
         ๑. วันวิสาขบูชา (วันพระพุทธ) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ เปนวันคลายวันประสูติ ตรัสรูปรินิพพาน.
         ๒. วันมาฆบูชา (วันพระสงฆ) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๓ เปนวันที่มีเหตุการณเกิดขึ้น ๔ ประการ
เรียกวา “จาตุรงคสันนิบาต” พระพุทธองคทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข ทามกลางพระสงฆ ๑,๒๕๐ รูป ณ
เวฬุวันมหาวิหาร ในกรุงราชคฤห
         ๓. วันอาสาฬหบูชา (วันพระธรรม) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๘ วันที่พระพุทธเจาแสดงธรรม
เปนครั้งแรก เปนวันพระรัตนตรัยครอบองค อัญญาโกณฑัญญะ ไดฟงธรรมแลวเกิดดวงตาเห็น
ธรรม ไดทูลขอบรรพชาเปนภิกษุองคแรกในพระพุทธศาสนา.
                                      คูมืออบรม ๒๕ “ ยุวพุทธ”
๔. วันอัฏฐมีบูชา ตรงกับวันแรม ๘ ค่ํา เดือน ๖ เปนวันคลายวันถวายพระเพลิงพระสรีระของ
พระพุทธเจา. (ปจจุบันไมคอยไดเวียนเทียนกันในวันนี้)
หมายเหตุ วันสําคัญทั้ง ๔ นี้ ถาปใดเปนปที่มีอธิกมาส(เดือน ๘ สองหน) ใหเลื่อนไปอีกเดือนหนึ่ง.
      วันสําคัญดังกลาวพุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติตนดังนี้ คือ.-
         ๑. ทําบุญตักบาตรในตอนเชา.
         ๒. ฟงเทศนที่วัดตอนเชา-บายหรือค่ํา.
         ๓. เวียนเทียนนําดอกไมธูปเทียนไปบูชาพระรัตนตรัยในตอนบายหรือกลางคืน
         ๔. รักษาศีล ทําสมาธิภาวนา.
จ. หมวดที่ ๒ พิธีบําเพ็ญบุญ
       พิธีทําบุญในทางพระพุทธศาสนาแบงออกไดเปน ๒ ประเภท ดังนี้
       ๑. ทําบุญในงานมงคล เชน ขึ้นบานใหม แตงงานฯลฯ
       ๒. ทําบุญงานอวมงคล เชน งานศพ ทําบุญอุทิศใหผูตาย ฯลฯ




                                    คูมืออบรม   ๒๖ “ ยุวพุทธ”




๔. วันอัฏฐมีบูชา ตรงกับวันแรม ๘ ค่ํา เดือน ๖ เปนวันคลายวันถวายพระเพลิงพระสรีระของพระพุทธเจา.
(ปจจุบันไมคอยไดเวียนเทียนกันในวันนี้)
หมายเหตุ วันสําคัญทั้ง ๔ นี้ ถาปใดเปนปที่มีอธิกมาส(เดือน ๘ สองหน) ใหเลื่อนไปอีกเดือนหนึ่ง.
         วันสําคัญดังกลาวพุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติตนดังนี้ คือ.-
            ๑. ทําบุญตักบาตรในตอนเชา.
            ๒. ฟงเทศนที่วัดตอนเชา-บายหรือค่ํา.
            ๓. เวียนเทียนนําดอกไมธูปเทียนไปบูชาพระรัตนตรัยในตอนบายหรือกลางคืน
            ๔. รักษาศีล ทําสมาธิภาวนา.
จ. หมวดที่ ๒ พิธีบําเพ็ญบุญ
       พิธีทําบุญในทางพระพุทธศาสนาแบงออกไดเปน ๒ ประเภท ดังนี้
       ๑. ทําบุญในงานมงคล เชน ขึ้นบานใหม แตงงานฯลฯ
       ๒. ทําบุญงานอวมงคล เชน งานศพ ทําบุญอุทิศใหผูตาย ฯลฯ




                                     คูมืออบรม ๒๖ “ ยุวพุทธ”
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมpoomarin
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานwara
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวdawnythipsuda
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรniralai
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 

Mais procurados (20)

ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 

Destaque

สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรniralai
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนniralai
 
334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10niralai
 
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1niralai
 
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์niralai
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลniralai
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครูniralai
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมniralai
 
หน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการหน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการniralai
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
คลอด
คลอดคลอด
คลอดniralai
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรniralai
 
ถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูniralai
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนniralai
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์niralai
 

Destaque (20)

สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณรอาจาระของพระภิกษุสามเณร
อาจาระของพระภิกษุสามเณร
 
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อนบทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
บทสวดมนต์แปลสามเณรภาคฤดูร้อน
 
334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
แบบเรียนภาษาอังกฤษ เล่ม 1
 
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
บทสวดมนตร์จากพระโอษฐ์
 
กำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาลกำเนิดจักรวาล
กำเนิดจักรวาล
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
บันทึกความดี
บันทึกความดีบันทึกความดี
บันทึกความดี
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
หน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการหน้าที่ของเลขานุการ
หน้าที่ของเลขานุการ
 
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
คลอด
คลอดคลอด
คลอด
 
คู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากรคู่มือพระวิทยากร
คู่มือพระวิทยากร
 
ถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครูถ้าฉันเป็นครู
ถ้าฉันเป็นครู
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 

Semelhante a คู่มืออบรมยุวพุทธ

ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Wat Thai Washington, D.C.
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน Padvee Academy
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมniralai
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษาduesdee tawon
 
เพศสึกษา
เพศสึกษาเพศสึกษา
เพศสึกษาduesdee tawon
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบKobwit Piriyawat
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงSongsarid Ruecha
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 

Semelhante a คู่มืออบรมยุวพุทธ (20)

Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
Saeng Dhamma Vol. 30 No. 425 September 2010
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
เพศศึกษา
เพศศึกษาเพศศึกษา
เพศศึกษา
 
เพศสึกษา
เพศสึกษาเพศสึกษา
เพศสึกษา
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวง
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 

Mais de niralai

332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชาniralai
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษาniralai
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทยniralai
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนาniralai
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)niralai
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีลniralai
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธniralai
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!niralai
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทยniralai
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศniralai
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูดniralai
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5niralai
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษาniralai
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษาniralai
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดีniralai
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12niralai
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6niralai
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4niralai
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3niralai
 
098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่น098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่นniralai
 

Mais de niralai (20)

332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 
098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่น098ชีวิตวัยรุ่น
098ชีวิตวัยรุ่น
 

คู่มืออบรมยุวพุทธ

  • 1. คูมือ “ยุวพุทธ” นักเรียนพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย ศูนยศึกษาพระพุทกาลเขาพรรษา) -อาทิตย (ภาคฤดู ธศาสนาวันเสาร สํานักสงฆสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา ชื่อ_____________นามสกุล _________ เลขที่_______ชั้น______กลุม_________ คูมือ “ยุวพุทธ” นักเรียนพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย (ภาคฤดูกาลเขาพรรษา) ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสงฆสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา ชื่อ_____________นามสกุล _________ เลขที่_______ชั้น______กลุม_________ ่ ้
  • 2. แดยุวพุทธ บริสุทธิ์จริงใจไรเดียงสา บอบบางกวามาลีแรกคลี่ชอ เยาวชนสืบเหยาเทิดเหลากอ เหมือนเพชรรอเวลาเจียรนัย เสี่ยงตอการติดกับความหยาบกราน งายตอการหลงตามความแปลกใหม เหมาะแกการเสริมสรางกําลังใจ เพื่อจะไดกาวมั่นถูกขั้นตอน หากเยาวชนสนใจธรรมสักนิด ภาวะจิตจะกาวรุดไมหยุดหยอน พระศาสนาดังน้ําดับความรอน ชี้แนะสอนพัฒนาเยาวชน ใหรูใชเวลาวางสรางประโยชน รูคุณโทษรูสังเกตรูเหตุผล รูสังคมรูชีวิตรูคิดคน รูวางตนรูรักสามัคคี เปนอนาคตของชาติที่อาจหาญ เปนแรงตานอธรรมความกดขี่ เปนผูทรงคุณคาประเพณี ไมเปนที่หนักใจคนใกลชิด ถาวันนี้เยาวชนใฝธรรมะ วันหนาจะนําไทยใหพิสิฐ คือคุณพุทธศาสนาเสารอาทิตย นิรมิตชาติสังคมโลกรมเย็น คูมืออบรม ๑ “ ยุวพุทธ” แดยุวพุทธ บริสุทธิ์จริงใจไรเดียงสา บอบบางกวามาลีแรกคลี่ชอ เยาวชนสืบเหยาเทิดเหลากอ เหมือนเพชรรอเวลาเจียรนัย เสี่ยงตอการติดกับความหยาบกราน งายตอการหลงตามความแปลกใหม เหมาะแกการเสริมสรางกําลังใจ เพื่อจะไดกาวมั่นถูกขั้นตอน หากเยาวชนสนใจธรรมสักนิด ภาวะจิตจะกาวรุดไมหยุดหยอน พระศาสนาดังน้ําดับความรอน ชี้แนะสอนพัฒนาเยาวชน ใหรูใชเวลาวางสรางประโยชน รูคุณโทษรูสังเกตรูเหตุผล รูสังคมรูชีวิตรูคิดคน รูวางตนรูรักสามัคคี เปนอนาคตของชาติที่อาจหาญ เปนแรงตานอธรรมความกดขี่ เปนผูทรงคุณคาประเพณี ไมเปนที่หนักใจคนใกลชิด ถาวันนี้เยาวชนใฝธรรมะ วันหนาจะนําไทยใหพิสิฐ คือคุณพุทธศาสนาเสารอาทิตย นิรมิตชาติสังคมโลกรมเย็น คูมืออบรม ๑ “ ยุวพุทธ”
  • 3. พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว “......การสอนศาสนาในโรงเรียน ทั้งในกรุงและหัวเมืองจะตองใหมีขึ้น ใหมีความวิตก ไปวา เด็กชั้นหลังจะหางเหินจากศาสนา จนกลายเปนคนไมมีธรรมในใจมากขึ้น เมื่อ เปนเชนนั้น จะถือวาเหมือนอยางทุกวันนี้ คนไมรูอะไรก็มีมาก ตอไปภายหนา ถาเปน คนที่ไดเลาเรียนคงจะไดประพฤติตัวดีกวาคนที่ไมไดเลาเรียนนั้น “หาถูกไม” คนที่ไมมี ธรรมใหยึดเหนี่ยวเปนเครื่องดําเนินตาม คงจะหันไปหาทางทุจริตโดยมาก ถารูนอยก็ โกงไมคลอง ฤาโกงไมสนิท ถารูมากก็โกงคลองขึ้น และโกงพิสดารมากขึ้น การที่หัด ใหรูอานอักขรวิธี ไมเปนเครื่องฝกหัดใหคนดีคนชั่ว เปนแตไดวิธีที่สําหรับจะเรียน ความดีความชั่วไดคลองขึ้น....” คูมืออบรม ๒ “ ยุวพุทธ” พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว “......การสอนศาสนาในโรงเรียน ทั้งในกรุงและหัวเมืองจะตองใหมีขึ้น ใหมีความ วิตกไปวา เด็กชั้นหลังจะหางเหินจากศาสนา จนกลายเปนคนไมมีธรรมในใจมากขึ้น เมื่อเปนเชนนั้น จะถือวาเหมือนอยางทุกวันนี้ คนไมรูอะไรก็มีมาก ตอไปภายหนา ถาเปนคนที่ไดเลาเรียนคงจะไดประพฤติตัวดีกวาคนที่ไมไดเลาเรียนนั้น “หาถูกไม” คนที่ไมมีธรรมใหยึดเหนี่ยวเปนเครื่องดําเนินตาม คงจะหันไปหาทางทุจริตโดยมาก ถารูนอยก็โกงไมคลอง ฤาโกงไมสนิท ถารูมากก็โกงคลองขึ้น และโกงพิสดารมากขึ้น การที่หัดใหรูอานอักขรวิธี ไมเปนเครื่องฝกหัดใหคนดีคนชั่ว เปนแตไดวิธีที่สําหรับ จะเรียนความดีความชั่วไดคลองขึ้น....” คูมืออบรม ๒ “ ยุวพุทธ”
  • 4. เด็กคือผูสรางโลก “.......เด็กทั้งหลาย คือ ผูสรางโลกในอนาคต เราจงพากันสรางโลกโดยผาน ทางการสรางเด็กอยางถูกตองเสียแตบัดนี้เถิด อยาปลอยใหเด็กเปนไปตาม บุญตามกรรมเลย จึงจะเปนการกระทําที่ดีมีความรับผิดชอบอยางสูงสุดของ บิดามารดา ครูบาอาจารยแหงยุคนี้ ซึ่งถือวาเปนยุคของสติปญญา......” (พระธรรมโกศาจารย) คูมืออบรม ๓ “ ยุวพุทธ” เด็กคือผูสรางโลก “.......เด็กทั้งหลาย คือ ผูสรางโลกในอนาคต เราจงพากันสรางโลกโดยผาน ทางการสรางเด็กอยางถูกตองเสียแตบัดนี้เถิด อยาปลอยใหเด็กเปนไปตาม บุญตามกรรมเลย จึงจะเปนการกระทําที่ดีมีความรับผิดชอบอยางสูงสุด ของบิดามารดา ครูบาอาจารยแหงยุคนี้ ซึ่งถือวาเปนยุคของสติปญญา......” (พระธรรมโกศาจารย) คูมืออบรม ๓ “ ยุวพุทธ”
  • 5. โครงการอบรมยุวพุทธ(ภาคฤดูกาลเขาพรรษา) ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา ๑. ชื่อโครงการ “โครงการอบรมยุวพุทธ(ภาคฤดูกาลเขาพรรษา)” ๒. หลักการและเหตุผล ในปจจุบันนี้เปนที่ทราบกันอยูแลววา ความเสื่อมโทรมทางดานจิตใจมีมากขึ้น และสภาพความจริงใจ คนพบไดยากในตัวบุคคล แตกลับมีความเจริญทางดานวัตถุเขามาแทนที่ ความสุขในสังคมกําลังลดนอยถอยลงไปทุกขณะ คดีอาชญากรรม ปญหายาเสพติด ฯลฯ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งปญหาเหลานี้สวนใหญเกิดจากกลุมคนที่เรียกตัวเองวา “วัยรุน” สภาพสังคมของ“วัยรุน” หรือวัยเยาวชนในปจจุบัน สวนใหญขาดการศึกษาเรื่องราวของชีวิต ทําใหไมรูวาชีวิตเกิดมาทําไม? เปาหมายของชีวิตอยูที่ไหน? สิ่งสูงสุดที่มนุษยควรไดคืออยางไร? จึงเปนเหตุใหเยาวชนเหลานั้นหลงเดินไปในทางที่ผิด กอใหเกิดปญหายุงยากวุนวายขึ้นในสังคม สรางความหนักใจแกพอ-แม ครู-อาจารยและผูบริหารบานเมืองทุกระดับชั้น อยางไรก็ตามปญหาสังคมเปนเรื่องจําเปนที่ตองพัฒนา หากปลอยใหเปนไปตามยถากรรม จะกลายเปน ปญหาที่มีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชากรอยางยิ่ง จึงจําเปนที่จะตองพัฒนาประชากรใหมีคุณภาพ และ ปลูกฝงจิตใจใหเกิดคุณธรรมขึ้นแกเยาวชน ทางศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง ประกอบดวยคณะสงฆและ ฆราวาส ไดตระหนักถึงปญหาเหลานี้เปนอยางยิ่ง และมีความคิดอยูเสมอวา ถาเยาวชนมีความคิดเห็นที่ถูกตองตามทํานอง คูมืออบรม ๔ “ ยุวพุทธ” โครงการอบรมยุวพุทธ(ภาคฤดูกาลเขาพรรษา) ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา ๑. ชื่อโครงการ “โครงการอบรมยุวพุทธ(ภาคฤดูกาลเขาพรรษา)” ๒. หลักการและเหตุผล ในปจจุบันนี้เปนที่ทราบกันอยูแลววา ความเสื่อมโทรมทางดานจิตใจมีมากขึ้น และสภาพความจริงใจ คนพบไดยากในตัวบุคคล แตกลับมีความเจริญทางดานวัตถุเขามาแทนที่ ความสุขในสังคมกําลังลดนอยถอยลงไปทุกขณะ คดีอาชญากรรม ปญหายาเสพติด ฯลฯ เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งปญหาเหลานี้สวนใหญเกิดจากกลุมคนที่เรียกตัวเองวา “วัยรุน” สภาพสังคมของ“วัยรุน” หรือวัยเยาวชนในปจจุบัน สวนใหญขาดการศึกษาเรื่องราวของชีวิต ทําใหไมรูวาชีวิตเกิดมาทําไม? เปาหมายของชีวิตอยูที่ไหน? สิ่งสูงสุดที่มนุษยควรไดคืออยางไร? จึงเปนเหตุใหเยาวชนเหลานั้นหลงเดินไปในทางที่ผิด กอใหเกิดปญหายุงยากวุนวายขึ้นในสังคม สรางความหนักใจแกพอ-แม ครู-อาจารยและผูบริหารบานเมืองทุกระดับชั้น อยางไรก็ตามปญหาสังคมเปนเรื่องจําเปนที่ตองพัฒนา หากปลอยใหเปนไปตามยถากรรม จะกลายเปน ปญหาที่มีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชากรอยางยิ่ง จึงจําเปนที่จะตองพัฒนาประชากรใหมีคุณภาพ และ ปลูกฝงจิตใจใหเกิดคุณธรรมขึ้นแกเยาวชน ทางศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง ประกอบดวยคณะสงฆและ ฆราวาส ไดตระหนักถึงปญหาเหลานี้เปนอยางยิ่ง และมีความคิดอยูเสมอวา ถาเยาวชนมีความคิดเห็นที่ถูกตองตามทํานอง คูมืออบรม ๔ “ ยุวพุทธ”
  • 6. คลองธรรม รูบาปบุญคุณโทษ รักและหวงใยผูอื่น มีความรับผิดชอบตอหนาที่การงาน รูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน มี ความขยันหมั่นเพียร มีความกตัญูกตเวที มีความสามัคคี รูจักสิ่งที่เปนประโยชนและไมเปนประโยชน จะเปนการ พัฒนาจิตใจของเยาวชนใหสูงขึ้น เปนผูมีความพรอมทุกอยางทั้งทางโลกและทางธรรม ดวยเหตุนี้ทางศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง จึงไดจัด “โครงการอบรมยุวพุทธ (ภาค ฤดูกาลเขาพรรษา)” เพื่อปลูกฝงคุณธรรมทางศาสนาใหงอกงามในจิตใจของเยาวชน ฝกฝนอบรมเยาวชนใหเปนลูกที่ดีของ พอ-แม, เปนศิษยที่ดีของครู-อาจารย, เปนเพื่อนที่ดีของเพื่อน, เปนพลเมืองที่ดีของชาติ, และเปนสาวกที่ดีของพระศาสดา นอกจากนี้ยังไดเสริมวิชาความรู พิเศษใหแกเยาวชนควบคูไปกับการอบรมคุณธรรมดวย ๓. วัตถุประสงค ๑. เพื่อปลูกฝงเยาวชนใหเกิดศรัทธาเลื่อมใสและตระหนักในคุณคาของพระพุทธศาสนา. ๒. เพื่อปลูกฝงคุณธรรม-จริยธรรมทางศาสนาใหงอกงามในจิตใจของเยาวชน ๓. เพื่อใหเยาวชนไดเรียนรู และสามารถนําความรูตามหลักธรรมทางศาสนาไปประยุกตใชใน ชีวิตประจําวันได. ๔. เพื่อฝกฝนอบรมเยาวชนใหเปนลูกที่ดีของพอ-แม, เปนศิษยที่ดีของครู-อาจารย, เปนเพื่อน ที่ดีขอ เพื่อน, เปนพลเมืองที่ดีของชาติ, และเปนสาวกที่ดีของพระศาสดา ๕. เพื่อใหเยาวชนไดรูจักรับผิดชอบตอตนเอง สังคม และสาธารณสมบัติ ๖. เพื่อใหเยาวชนไดรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน และยังเปนการเสริมความรูพิเศษ ๗. เพื่อจรรโลงไวซึ่งสถาบันชาติ-ศาสนา-พระมหากษัตริย คูมืออบรม ๕ “ ยุวพุทธ” คลองธรรม รูบาปบุญคุณโทษ รักและหวงใยผูอื่น มีความรับผิดชอบตอหนาที่การงาน รูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน มี ความขยันหมั่นเพียร มีความกตัญูกตเวที มีความสามัคคี รูจักสิ่งที่เปนประโยชนและไมเปนประโยชน จะเปนการ พัฒนาจิตใจของเยาวชนใหสูงขึ้น เปนผูมีความพรอมทุกอยางทั้งทางโลกและทางธรรม ดวยเหตุนี้ทางศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง จึงไดจัด “โครงการอบรมยุวพุทธ (ภาค ฤดูกาลเขาพรรษา)” เพื่อปลูกฝงคุณธรรมทางศาสนาใหงอกงามในจิตใจของเยาวชน ฝกฝนอบรมเยาวชนใหเปนลูกที่ดีของ พอ-แม, เปนศิษยที่ดีของครู-อาจารย, เปนเพื่อนที่ดีของเพื่อน, เปนพลเมืองที่ดีของชาติ, และเปนสาวกที่ดีของพระศาสดา นอกจากนี้ยังไดเสริมวิชาความรู พิเศษใหแกเยาวชนควบคูไปกับการอบรมคุณธรรมดวย ๓. วัตถุประสงค ๑. เพื่อปลูกฝงเยาวชนใหเกิดศรัทธาเลื่อมใสและตระหนักในคุณคาของพระพุทธศาสนา. ๒. เพื่อปลูกฝงคุณธรรม-จริยธรรมทางศาสนาใหงอกงามในจิตใจของเยาวชน ๓. เพื่อใหเยาวชนไดเรียนรู และสามารถนําความรูตามหลักธรรมทางศาสนาไปประยุกตใชใน ชีวิตประจําวันได. ๔. เพื่อฝกฝนอบรมเยาวชนใหเปนลูกที่ดีของพอ-แม, เปนศิษยที่ดีของครู-อาจารย, เปนเพื่อน ที่ดีขอ เพื่อน, เปนพลเมืองที่ดีของชาติ, และเปนสาวกที่ดีของพระศาสดา ๕. เพื่อใหเยาวชนไดรูจักรับผิดชอบตอตนเอง สังคม และสาธารณสมบัติ ๖. เพื่อใหเยาวชนไดรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน และยังเปนการเสริมความรูพิเศษ ๗. เพื่อจรรโลงไวซึ่งสถาบันชาติ-ศาสนา-พระมหากษัตริย คูมืออบรม ๕ “ ยุวพุทธ”
  • 7. ๔. เปาหมาย นักเรียนระดับชั้น ป.๑-ม.๖ จํานวน ๗๐ คน ๕. วิธีดําเนินการ ๑.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ เพื่อศึกษา รายละเอียดของโครงการ. ๒. แตงตั้งคณะกรรมการ เจาหนาที่ฝายตาง ๆ . ๓. กําหนดเนื้อหาหลักสูตรการอบรม และจัดพิมพเอกสารตางๆ เพื่อใชในการอบรม. ๔. ประสานงานติดตอกับวิทยากรภายนอกที่จะมาชวยใหการอบรม. ๕. ประสานงานบุคลากรและหนวยงานอื่น ๆ ที่จะใหความชวยเหลือสนับสนุนโครงการ. ๖. ประชาสัมพันธใหนักเรียนและผูปกครองทราบ. ๗. จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณตาง ๆ . ๘. ดําเนินการตามกําหนดการ. ๙. สรุปและประเมินผล. ๖. สถานที่ดําเนินการ ณ ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา ๗. ระยะเวลาดําเนินการ ในชวงฤดูกาลเขาพรรษา ระหวางเดือน ระหวางเดือน กรกฎาคม - ตุลาคม คูมืออบรม ๖ “ ยุวพุทธ” ๔. เปาหมาย นักเรียนระดับชั้น ป.๑-ม.๖ จํานวน ๗๐ คน ๕. วิธีดําเนินการ ๑.ประชุมชี้แจงคณะกรรมการ เพื่อศึกษา รายละเอียดของโครงการ. ๒. แตงตั้งคณะกรรมการ เจาหนาที่ฝายตาง ๆ . ๓. กําหนดเนื้อหาหลักสูตรการอบรม และจัดพิมพเอกสารตางๆ เพื่อใชในการอบรม. ๔. ประสานงานติดตอกับวิทยากรภายนอกที่จะมาชวยใหการอบรม. ๕. ประสานงานบุคลากรและหนวยงานอื่น ๆ ที่จะใหความชวยเหลือสนับสนุนโครงการ. ๖. ประชาสัมพันธใหนักเรียนและผูปกครองทราบ. ๗. จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณตาง ๆ . ๘. ดําเนินการตามกําหนดการ. ๙. สรุปและประเมินผล. ๖. สถานที่ดําเนินการ ณ ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา ๗. ระยะเวลาดําเนินการ ในชวงฤดูกาลเขาพรรษา ระหวางเดือน กรกฎาคม - ตุลาคม คูมืออบรม ๖ “ ยุวพุทธ”
  • 8. ๘. งบประมาณ รายจายโดยประมาณ -คาเสื้อ ๗๐ ชุด ชุดละ ๑๒๐ บาท ๘,๔๐๐ บาท -คาอาหาร-เครื่องดื่มตลอดโครงการ จํานวน ๗๐ คน ๓๘,๑๐๐ บาท -คาสมุดหนังสือเอกสารอบรม ๗๐ ชุด ชุดละ ๕๐ บาท ๓,๕๐๐ บาท -คาใชจายเบ็ดเตล็ด-อุปกรณเครื่องเขียน ๔,๕๐๐ บาท -มอบทุนการศึกษานักเรียนมีความประพฤติดี ๖ ทุน ทุนละ ๕๐๐ บาท ๓,๐๐๐ บาท -อุปกรณซีดีสื่อการสอน ๗,๐๐๐ บาท -คาวัสดุอุปกรณกีฬา ๕,๕๐๐ บาท รวมทั้งสิ้น ๗๐,๐๐๐ บาท แหลงที่มาของงบประมาณ ๑. ขอรับการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนจังหวัดพังงา ๕๐,๐๐๐ บาท ๒. ขอรับการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนตําบล ๒๐,๐๐๐ บาท ๙. ผูรับผิดชอบโครงการ ผูอํานวยการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง (พระอาจารยบุญนพ สุทฺธสีโล) คณะสงฆสํานักสงฆสวนวาง กํานันตําบลแมนางขาว อาจารยใหญโรงเรียนบานทุงรัก ๑๐. ผลที่คาดวาจะไดรับ ทําใหเยาวชนเปนผูมีจริยธรรมอันดีงาม รูจักใชหลักธรรมในการ แกปญหาชีวิตประจําวันได มีความ ศรัทธาและเขาใจในหลักธรรมพระพุทธศาสนามากขึ้น สรางความสัมพันธอันดีระหวางบาน-วัด-โรงเรียน คูมืออบรม ๗ “ ยุวพุทธ” ๘. งบประมาณ รายจายโดยประมาณ -คาเสื้อ ๗๐ ชุด ชุดละ ๑๒๐ บาท ๘,๔๐๐ บาท -คาอาหาร-เครื่องดื่มตลอดโครงการ ๒๘ จํานวน ๗๐ คน ๓๘,๑๐๐ บาท -คาสมุดหนังสือเอกสารอบรม ๗๐ ชุด ชุดละ ๕๐ บาท ๓,๕๐๐ บาท -คาใชจายเบ็ดเตล็ด-อุปกรณเครื่องเขียน ๔,๕๐๐ บาท -มอบทุนการศึกษานักเรียนมีความประพฤติดี ๖ ทุน ทุนละ ๕๐๐ บาท ๓,๐๐๐ บาท -อุปกรณซีดีสื่อการสอน ๗,๐๐๐ บาท -คาวัสดุอุปกรณกีฬา ๕,๕๐๐ บาท รวมทั้งสิ้น ๗๐,๐๐๐ บาท แหลงที่มาของงบประมาณ ๑. ขอรับการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนจังหวัดพังงา ๕๐,๐๐๐ บาท ๒. ขอรับการสนับสนุนจากองคการบริหารสวนตําบลแมนางขาว ๒๐,๐๐๐ บาท ๙. ผูรับผิดชอบโครงการ ผูอํานวยการศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาฯ สํานักสวนวาง (พระอาจารยบุญนพ สุทฺธสีโล) คณะสงฆสํานักสงฆสวนวาง กํานันตําบลแมนางขาว อาจารยใหญโรงเรียนบานทุงรักและคณะครูโรงเรียนบานทุงรัก ๑๐. ผลที่คาดวาจะไดรับ ทําใหเยาวชนเปนผูมีจริยธรรมอันดีงาม รูจักใชหลักธรรมในการ แกปญหาชีวิตประจําวันได มีความ ศรัทธาและเขาใจในหลักธรรมพระพุทธศาสนามากขึ้น สรางความสัมพันธอันดีระหวางบาน-วัด-โรงเรียน คูมืออบรม ๗ “ ยุวพุทธ”
  • 9. คณะกรรมการบริหาร ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา พระอาจารยบุญนพ สุทฺธสีโล (ผูอํานวยการ) พระอาจารยบุญเหนาะ อาจาโร (รองผูอํานวยการ-เลขานุการ) อ.สมนึก นิพนธทิวากาล(ผ.อ.ร.ร.บานทุงรัก) (กรรมการ) นายกุศล ทองนุย (รองนายกอ.บ.ต.แมนางขาว (กรรมการ) นายลิขิต ยอดยิ่ง (สมชิกอ.บ.ต.แมนางขาว) (กรรมการ) นายสนั่น ถาพร (สมชิกอ.บ.ต.แมนางขาว) (กรรมการ) คูมืออบรม ๘ “ ยุวพุทธ” คณะกรรมการบริหาร ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา พระอาจารยบุญนพ สุทฺธสีโล (ผูอํานวยการ) พระอาจารยบุญเหนาะ อาจาโร (รองผูอํานวยการ-เลขานุการ) อ.สมนึก นิพนธทิวากาล(ผ.อ.ร.ร.บานทุงรัก) (กรรมการ) นายกุศล ทองนุย (รองนายกอ.บ.ต.แมนางขาว (กรรมการ) นายลิขิต ยอดยิ่ง (สมชิกอ.บ.ต.แมนางขาว) (กรรมการ) นายสนั่น ถาพร (สมชิกอ.บ.ต.แมนางขาว) (กรรมการ) คูมืออบรม ๘ “ ยุวพุทธ”
  • 10. ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา อบรมยุวพุทธ (ภาคฤดูกาลเขาพรรษา) ตั้งแตชั้น ป.๑ - ม.๖ ๑. วิชาพระพุทธศาสนา -ประกอบดวย (๔ วิชา) -ธรรมะ -พุทธประวัติ -ศาสนพิธี -มารยาทชาวพุทธ ๒. วิชาภาษาอังกฤษ -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.๖ ๓. วิชาคณิตศาสตร -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.๖ ๔. วิชาวาดเขียน -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.4 ๕. วิชาคอมพิวเตอร -ตั้งแตชั้น ป.๓-ม.๖ เริ่มอบรมตั้งแตวันเสารที่ ๗ ส.ค. ถึงวันอาทิตยที่ ๒๔ ต.ค. คูมืออบรม ๙ “ ยุวพุทธ” ศูนยศึกษาพระพุทธศาสนาวันเสาร-อาทิตย สํานักสวนวาง ต.แมนางขาว อ.คุระบุรี จ.พังงา อบรมยุวพุทธ (ภาคฤดูกาลเขาพรรษา) ตั้งแตชั้น ป.๑ - ม.๖ ๑. วิชาพระพุทธศาสนา -ประกอบดวย (๔ วิชา) -ธรรมะ -พุทธประวัติ -ศาสนพิธี -มารยาทชาวพุทธ ๒. วิชาภาษาอังกฤษ -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.๖ ๓. วิชาคณิตศาสตร -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.๖ ๔. วิชาวาดเขียน -ตั้งแตชั้น ป.๑-ป.4 ๕. วิชาคอมพิวเตอร -ตั้งแตชั้น ป.๓-ม.๖ เริ่มอบรมตั้งแตวันเสารที่ ๗ ส.ค. ถึงวันอาทิตยที่ ๒๔ ต.ค. คูมืออบรม ๙ “ ยุวพุทธ”
  • 11. ตารางอบรมวันเสาร-อาทิตย ๐๘.๓๐-๑๐.๐๐ น. ศาสนพิธี-ภาคปฏิบัติ(ป.๑-ม.๖) ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. เสาร คอมพิวเตอร วาดเขียน (ป.๑-ป.๓) คณิตศาสตร(ป.๔-ป.๖) (มัธยม) ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. อาทิตย พุทธศาสนา คณิตศาสตร (ป.๑-ป.๓) พุทธศาสนา(ป.๔-ป.๖) (มัธยม) ๑๒.๐๐-๑๒.๓๐ น พัก ๑๒.๓๐-๑๓.๓๐ น. ธรรมบันเทิง(วี.ดี.โอ-เกมส-เพลงธรรมะ) ๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น. เสาร คอมพิวเตอร ภาษาอังกฤษ พุทธศาสนา (มัธยม) (ป.๔-ป.๖) (ป.๑-ป.๓) ๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น. อาทิตย มารยาทชาวพุทธ-สวดมนต-สมาธิภาวนา สอนเสริมพิเศษ (ป.๓-ป.๔) ๑๕.๐๐–๑๖.๓๐ น. สอนเสริมพิเศษ (ป.๕-ป.๖) วันจันทร - พฤหัส-เวลา ๑๖.๓๐-๑๘.๐๐ น. เปดสอนพิเศษวิชาคอมพิวเตอร คูมืออบรม ๑๐ “ ยุวพุทธ” ตารางอบรมวันเสาร-อาทิตย ๐๘.๓๐-๑๐.๐๐ น. ศาสนพิธี-ภาคปฏิบัติ(ป.๑-ม.๖) ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. เสาร คอมพิวเตอร วาดเขียน (ป.๑-ป.๓) คณิตศาสตร(ป.๔-ป.๖) (มัธยม) ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐ น. อาทิตย พุทธศาสนา คณิตศาสตร (ป.๑-ป.๓) พุทธศาสนา(ป.๔-ป.๖) (มัธยม) ๑๒.๐๐-๑๒.๓๐ น พัก ๑๒.๓๐-๑๓.๓๐ น. ธรรมบันเทิง(วี.ดี.โอ-เกมส-เพลงธรรมะ) ๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น. เสาร คอมพิวเตอร ภาษาอังกฤษ พุทธศาสนา (มัธยม) (ป.๔-ป.๖) (ป.๑-ป.๓) ๑๓.๓๐-๑๕.๐๐ น. อาทิตย มารยาทชาวพุทธ-สวดมนต-สมาธิภาวนา สอนเสริมพิเศษ (ป.๓-ป.๔) ๑๕.๐๐-๑๕.๓๐ น. สอนเสริมพิเศษ (ป.๕-ป.๖) วันจันทร - พฤหัส-เวลา ๑๖.๓๐-๑๘.๐๐ น. เปดสอนพิเศษวิชาคอมพิวเตอร คูมืออบรม ๑๐ “ ยุวพุทธ”
  • 12.  พิธีเปดการอบรม-แสดงตนเปนพุทธมามกะและมอบตัวเปนศิษย  ๑. ประธานจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย ๒. กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย  คําบูชาพระรัตนตรัย  อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต, บริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสเครื่องเศราหมอง ทั้งหลาย,ไดตรัสรูถูกถวนดีแลว, อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาซึ่งพระผูมีพระภาคเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้, (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมคือศาสนา, อันพระผูมีพระภาคเจานั้น, แสดงไวดีแลว, อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาซึ่งพระธรรมเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้, (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, หมูพระสงฆผูเชื่อฟง, ของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว คูมืออบรม ๑๑ “ ยุวพุทธ”  พิธีเปดการอบรม-แสดงตนเปนพุทธมามกะและมอบตัวเปนศิษย  ๑. ประธานจุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย ๒. กลาวคําบูชาพระรัตนตรัย  คําบูชาพระรัตนตรัย  อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต, บริสุทธิ์หมดจดจากกิเลสเครื่องเศราหมอง ทั้งหลาย,ไดตรัสรูถูกถวนดีแลว, อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาซึ่งพระผูมีพระภาคเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้, (กราบ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมคือศาสนา, อันพระผูมีพระภาคเจานั้น, แสดงไวดีแลว, อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาซึ่งพระธรรมเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้, (กราบ) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, หมูพระสงฆผูเชื่อฟง, ของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว คูมืออบรม ๑๑ “ ยุวพุทธ”
  • 13. อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาซึ่งพระสงฆเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้. (กราบ) ๓. กลาวรายงานวัตถุประสงค ๔. ประธานกลาวเปดงานและใหโอวาท ๕. พิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะและมอบตัวเปนศิษย ๖. ตัวแทนนักเรียน ๓ คน นั่งอยูตรงหนาพระอาจารย ใหหญิงถือพานดอกไม ๑ คน ชายถือพาน ธูปเทียนแพ ๑ คน สวนอีกคนนั้นนํากลาวบูชาพระรัตนตรัยวาพรอมกันดังนี้  คําบูชาพระรัตนตรัย  อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ, ขาพเจาขอบูชาพระพุทธเจา, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้, (กราบ) อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ, ขาพเจาขอบูชาพระธรรม, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้, (กราบ) อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. ขาพเจาขอบูชาพระสงฆ, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้ . (กราบ) คูมืออบรม ๑๒ “ ยุวพุทธ” อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาซึ่งพระสงฆเจานั้น, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้. (กราบ) ๓. กลาวรายงานวัตถุประสงค ๔. ประธานกลาวเปดงานและใหโอวาท ๕. พิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะและมอบตัวเปนศิษย ๖. ตัวแทนนักเรียน ๓ คน นั่งอยูตรงหนาพระอาจารย ใหหญิงถือพานดอกไม ๑ คน ชายถือพาน ธูปเทียนแพ ๑ คน สวนอีกคนนั้นนํากลาวบูชาพระรัตนตรัยวาพรอมกันดังนี้  คําบูชาพระรัตนตรัย  อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ, ขาพเจาขอบูชาพระพุทธเจา, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้, (กราบ) อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ, ขาพเจาขอบูชาพระธรรม, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้, (กราบ) อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ. ขาพเจาขอบูชาพระสงฆ, ดวยเครื่องสักการะเหลานี้ . (กราบ) คูมืออบรม ๑๒ “ ยุวพุทธ”
  • 14. ๗. ตัวแทนนักเรียนถวายพานดอกไมธูปเทียนแพแดพระอาจารย เสร็จแลวกราบพรอมกัน ๓ ครั้ง จากนั้นนั่งคุกเขา เปลงคําปฏิญาณตนพรอมกันใหฉะฉานตอหนาสงฆ ทั้งคําบาลีและคําแปล เปนตอนๆ ไปจนจบเรื่องปฏิญาณตนเปนพุทธมามกะดังนี้  คํานมัสการ  นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น, ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น, ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น, คูมืออบรม ๑๓ “ ยุวพุทธ” ๗. ตัวแทนนักเรียนถวายพานดอกไมธูปเทียนแพแดพระอาจารย เสร็จแลวกราบพรอมกัน ๓ ครั้ง จากนั้นนั่งคุกเขา เปลงคําปฏิญาณตนพรอมกันใหฉะฉานตอหนาสงฆ ทั้งคําบาลีและคําแปล เปนตอนๆ ไปจนจบเรื่องปฏิญาณตนเปนพุทธมามกะดังนี้  คํานมัสการ  นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น, ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น, ขาพเจาขอนอบนอม,แดพระผูมีพระภาค,อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา,พระองคนั้น , คูมืออบรม ๑๓ “ ยุวพุทธ”
  • 15.  คําปฏิญาณเปนพุทธมามกะ  เอเต (เอตา) มะยัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามะ, ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, พุทธะมามะกาติ โน, สังโฆ ธาเรตุ. ขาแตพระสงฆผูเจริญ, ขาพเจาขอถึง, พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น, แมปรินิพพาน ไปนานแลว, ทั้งพระธรรมและพระสงฆ, เปนสรณะที่นับถือ, ขอพระสงฆจงจําขาพเจาไววา, เปนพุทธมามกะ, ผูรับเอาพระพุทธเจาเปนของตน, คือผูนับถือพระพุทธเจา. หมายเหตุ.- ผูชายวา “เอเต” ผูหญิงวา “เอตา” ๘. ตัวแทนนักเรียนกลาวนําคํามอบตัวเปนศิษยดังนี้  คํากลาวมอบตัวเปนศิษย  กราบนมัสการพระอาจารยทุกรูปและกราบเรียนคณะครูอาจารยที่เคารพทุกทาน ชีวิตขาพเจาตั้งแตเกิดมา, มีพอแมอุปการะเลี้ยงดู, ไดรับความอบอุนเสมอมา, แตบัดนี้ พวกขาพเจามาที่นี่, เพื่อแสวงหาความดี, มาอบรมพระพุทธศาสนา, ถึงแมวาพวกขาพเจาจะจาก บานมา, จากพอแมมาก็ตาม, แตก็มั่นใจในความปรารถนาดีของทานทั้งหลาย, พวกขาพเจาขอ นอมรําลึกอยูเสมอวา, ทานทั้งหลายผูมิใชพอ, ก็เหมือนพอ, มิใชแมก็เหมือนแม, เพื่อความดี, พวกขาพเจาจึงขอปฏิญาณ, มอบกายใจแกทานทั้งหลายดวยวา, คูมืออบรม ๑๔ “ ยุวพุทธ”  คําปฏิญาณเปนพุทธมามกะ  เอเต (เอตา) มะยัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามะ, ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, พุทธะมามะกาติ โน, สังโฆ ธาเรตุ. ขาแตพระสงฆผูเจริญ, ขาพเจาขอถึง, พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น, แมปรินิพพาน ไปนานแลว, ทั้งพระธรรมและพระสงฆ, เปนสรณะที่นับถือ, ขอพระสงฆจงจําขาพเจาไววา, เปนพุทธมามกะ, ผูรับเอาพระพุทธเจาเปนของตน, คือผูนับถือพระพุทธเจา. หมายเหตุ.- ผูชายวา “เอเต” ผูหญิงวา “เอตา” ๘. ตัวแทนนักเรียนกลาวนําคํามอบตัวเปนศิษยดังนี้  คํากลาวมอบตัวเปนศิษย  กราบนมัสการพระอาจารยทุกรูปและกราบเรียนคณะครูอาจารยที่เคารพทุกทาน ชีวิตขาพเจาตั้งแตเกิดมา, มีพอแมอุปการะเลี้ยงดู, ไดรับความอบอุนเสมอมา, แตบัดนี้ พวกขาพเจามาที่นี่, เพื่อแสวงหาความดี, มาอบรมพระพุทธศาสนา, ถึงแมวาพวกขาพเจาจะจาก บานมา, จากพอแมมาก็ตาม, แตก็มั่นใจในความปรารถนาดีของทานทั้งหลาย, พวกขาพเจาขอ นอมรําลึกอยูเสมอวา, ทานทั้งหลายผูมิใชพอ, ก็เหมือนพอ, มิใชแมก็เหมือนแม, เพื่อความดี, พวกขาพเจาจึงขอปฏิญาณ, มอบกายใจแกทานทั้งหลายดวยวา, คูมืออบรม ๑๔ “ ยุวพุทธ”
  • 16. "ขอใหนักเรียนทุกคนกลาว ตามขาพเจาดังนี้" "ขาพเจาทั้งหลาย, ขอมอบตัวเปนศิษยของพระอาจารย, และคณะครูอาจารยทุกทาน, ขอทานไดโปรดเมตตา, รับขาพเจาทั้งหลายไว, ในฐานะเปนศิษย, ขอเมตตาธรรมอันเปยมลน ของทาน, ไดโปรดกรุณาอบรมสั่งสอน, ใหความรูและแนวทางปฏิบัติธรรม, หากยังมีสิ่งใด บกพรอง, หรือผิดพลาดประการใด, กรุณาวากลาวตักเตือนแนะนํา, หรือลงโทษตามสมควร , พวกขาพเจาขอนอมรับ, คําสั่งสอนดวยความเคารพ, ทั้งนี้เพื่อความเจริญในธรรม, แก ขาพเจาทั้งหลายดวยเทอญ" ๙. นักเรียนทั้งหมดกราบพระอาจารย แลวจึงกราบคณะครู ๑๐. นักเรียนอาราธนาศีล ๕ พรอมกัน  คําอาราธนาศีล  มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ, ทุติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ, ตะติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ. ๑๑. พระอาจารยใหศีลและกลาวใหโอวาทรับนักเรียนเปนศิษย ๑๒.นักเรียนกราบขอบคุณพระอาจารยพรอมกัน กราบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง คูมืออบรม ๑๕ “ ยุวพุทธ ” "ขอใหนักเรียนทุกคนกลาว ตามขาพเจาดังนี้" "ขาพเจาทั้งหลาย, ขอมอบตัวเปนศิษยของพระอาจารย, และคณะครูอาจารยทุกทาน, ขอทานไดโปรดเมตตา, รับขาพเจาทั้งหลายไว, ในฐานะเปนศิษย, ขอเมตตาธรรมอันเปยมลน ของทาน, ไดโปรดกรุณาอบรมสั่งสอน, ใหความรูและแนวทางปฏิบัติธรรม, หากยังมีสิ่งใด บกพรอง, หรือผิดพลาดประการใด, กรุณาวากลาวตักเตือนแนะนํา, หรือลงโทษตามสมควร , พวกขาพเจาขอนอมรับ, คําสั่งสอนดวยความเคารพ, ทั้งนี้เพื่อความเจริญในธรรม, แก ขาพเจาทั้งหลายดวยเทอญ" ๙. นักเรียนทั้งหมดกราบพระอาจารย แลวจึงกราบคณะครู ๑๐. นักเรียนอาราธนาศีล ๕ พรอมกัน  คําอาราธนาศีล  มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ, ทุติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ, ตะติยัมป มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ ติสะระเณนะสะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ. ๑๑. พระอาจารยใหศีลและกลาวใหโอวาทรับนักเรียนเปนศิษย ๑๒.นักเรียนกราบขอบคุณพระอาจารยพรอมกัน กราบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง คูมืออบรม ๑๕ “ ยุวพุทธ”
  • 17. ยุวพุทธขอสัญญาวา -ขอเคารพ -เชื่อฟง -ตั้งใจเรียน -เพียรขยัน -ไมดื้อรั้น -มารยาทดี -มีระเบียบวินัย -น้ําใจเอื้อเฟอ -เชื่อมั่นตนเอง -เกรงกลัวความชั่ว -ทําตัวกลาหาญ -การงานซื่อตรง -ตรงตอเวลา -วาจานารัก -รูจักพอดี -มีความอดทน -เปนคนกตัญู -รูจักคิดใชปญญา คูมืออบรม ๑๖ “ ยุวพุทธ ” ยุวพุทธขอสัญญาวา -ขอเคารพ -เชื่อฟง -ตั้งใจเรียน -เพียรขยัน -ไมดื้อรั้น -มารยาทดี -มีระเบียบวินัย -น้ําใจเอื้อเฟอ -เชื่อมั่นตนเอง -เกรงกลัวความชั่ว -ทําตัวกลาหาญ -การงานซื่อตรง -ตรงตอเวลา -วาจานารัก -รูจักพอดี -มีความอดทน -เปนคนกตัญู -รูจักคิดใชปญญา คูมืออบรม ๑๖ “ ยุวพุทธ”
  • 18. อุดมการณของยุวพุทธ “น อนริยํ กริสฺสามิ (นะ อะนะริยัง กะริสสามิ) = ยุวพุทธจะไมกระทําสิ่งที่ต่ําทราม” ยุวพุทธขอรักผูอื่น ยุวพุทธขอบังคับตนเอง ยุวพุทธขอทํางานใหสนุก เปนสุขเมื่อทํางาน คูมืออบรม ๑๗ “ ยุวพุทธ ” อุดมการณของยุวพุทธ “น อนริยํ กริสฺสามิ (นะ อะนะริยัง กะริสสามิ) = ยุวพุทธจะไมกระทําสิ่งที่ต่ําทราม” ยุวพุทธขอรักผูอื่น ยุวพุทธขอบังคับตนเอง ยุวพุทธขอทํางานใหสนุก เปนสุขเมื่อทํางาน คูมืออบรม ๑๗ “ ยุวพุทธ”
  • 19. บทพิจารณาอาหาร คํากลาวระลึกถึงผูมีพระคุณกอนรับประทานอาหาร ขาวทุกจาน อาหารทุกอยาง อยากินทิ้งขวาง เปนของมีคา พอแมเหนื่อยยาก ลําบากหนักหนา สงสารบรรดา คนยากคนจน ขอบคุณ ขอบคุณ ขอบคุณ ขอบคุณที่กรุณา เมตตาทําอาหารให พวกเราไมมีสิ่งใด ขอตั้งใจทําความดีตอบแทน ขอบคุณพระพุทธ ขอบคุณพระธรรม ขอบคุณพระสงฆ ขอบคุณคุณพอคุณแม ขอบคุณคุณครูอาจารย ขอบคุณผูมีพระคุณทุก ๆ ทาน ในโลกนี้ยังมีคนที่จนยาก แสนลําบากอัตคัดและขัดสน อยากินทิ้งกินขวางตามใจตน สงสารคนอื่นที่ไมมีกิน คูมืออบรม ๑๘ “ ยุวพุทธ ” บทพิจารณาอาหาร คํากลาวระลึกถึงผูมีพระคุณกอนรับประทานอาหาร ขาวทุกจาน อาหารทุกอยาง อยากินทิ้งขวาง เปนของมีคา พอแมเหนื่อยยาก ลําบากหนักหนา สงสารบรรดา คนยากคนจน ขอบคุณ ขอบคุณ ขอบคุณ ขอบคุณที่กรุณา เมตตาทําอาหารให พวกเราไมมีสิ่งใด ขอตั้งใจทําความดีตอบแทน ขอบคุณพระพุทธ ขอบคุณพระธรรม ขอบคุณพระสงฆ ขอบคุณคุณพอคุณแม ขอบคุณคุณครูอาจารย ขอบคุณผูมีพระคุณทุก ๆ ทาน ในโลกนี้ยังมีคนที่จนยาก แสนลําบากอัตคัดและขัดสน อยากินทิ้งกินขวางตามใจตน สงสารคนอื่นที่ไมมีกิน คูมืออบรม ๑๘ “ ยุวพุทธ”
  • 20. คําอธิษฐานหลังรับประทานอาหาร ขาพเจาขอตั้งจิตอธิษฐานวา , เมื่อขาพเจาไดชีวิตเลือดเนื้อ, จากอาหารมื้อนี้แลว, ขาพเจาไมขอลืมพระคุณของผูมีพระคุณ, และขอใชกายวาจาใจ, เคลื่อนไหวไปใหเปนประโยชน, ทั้งแกตนเองและผูอื่นทุกเมื่อเทอญ. คูมืออบรม ๑๙ “ ยุวพุทธ ” คําอธิษฐานหลังรับประทานอาหาร ขาพเจาขอตั้งจิตอธิษฐานวา , เมื่อขาพเจาไดชีวิตเลือดเนื้อ, จากอาหารมื้อนี้แลว, ขาพเจาไมขอลืมพระคุณของผูมีพระคุณ, และขอใชกายวาจาใจ, เคลื่อนไหวไปใหเปนประโยชน, ทั้งแกตนเองและผูอื่นทุกเมื่อเทอญ. คูมืออบรม ๑๙ “ ยุวพุทธ”
  • 21. เมื่อยุวพุทธไปวัด ยุวพุทธแสดงความเคารพ กราบพระประธานกอน แลวจึงกราบหรือไหวพระอาจารย-เจาอาวาส และเมื่อพบพระรูปอื่นก็พึงทําความเคารพทานดวย คูมืออบรม ๒๐ “ ยุวพุทธ ” เมื่อยุวพุทธไปวัด ยุวพุทธแสดงความเคารพ กราบพระประธานกอน แลวจึงกราบหรือไหวพระอาจารย-เจาอาวาส และเมื่อพบพระรูปอื่นก็พึงทําความเคารพทานดวย คูมืออบรม ๒๐ “ ยุวพุทธ”
  • 22. เมื่อมีการบรรยาย ทุกครั้งที่พระอาจารยหรือคุณครูบรรยายให(กรณีนั่งพื้นใหคุกเขาสําหรับพระ) แลวกลาวคําวา “ขอเคารพพระธรรมที่มีอยูในทานพระอาจารย (หรือคุณครู)" เมื่อพระอาจารยหรือคุณครูบรรยายจบ(กรณีนั่งพื้นใหคุกเขาสําหรับพระกลาวคํา"สาธุ") แลวกลาวคําวา "ขอขอบคุณพระธรรมที่มีอยูในทานพระอาจารย (หรือคุณครู), พวกเราไมมีสิ่งใดตอบแทน ขอรับธรรมะไปปฏิบัติบูชา" คูมืออบรม ๒๑ “ ยุวพุทธ ” เมื่อมีการบรรยาย ทุกครั้งที่พระอาจารยหรือคุณครูบรรยายให(กรณีนั่งพื้นใหคุกเขาสําหรับพระ) แลวกลาวคําวา “ขอเคารพพระธรรมที่มีอยูในทานพระอาจารย (หรือคุณครู)" เมื่อพระอาจารยหรือคุณครูบรรยายจบ(กรณีนั่งพื้นใหคุกเขาสําหรับพระกลาวคํา"สาธุ") แลวกลาวคําวา "ขอขอบคุณพระธรรมที่มีอยูในทานพระอาจารย (หรือคุณครู), พวกเราไมมีสิ่งใดตอบแทน ขอรับธรรมะไปปฏิบัติบูชา" คูมืออบรม ๒๑ “ ยุวพุทธ”
  • 23. คูมืออบรม ๒๒ “ ยุวพุทธ” คูมืออบรม ๒๒ “ ยุวพุทธ”
  • 24. พิธีกรรมแมจะเปนเปลือกมิใชแกนของ ศาสนาก็ตาม แตก็เปนสิ่งที่จูงใจคนใหละชั่วทําดีทํา จิตใจใหบริสุทธิ์ กอใหเกิดคุณคาทางจิตใจเปนการ รักษาเอกลักษณของชาติ เพราะพิธีกรรมเปน วัฒนธรรมที่บงบอกถึงความเปนชาติไทย การทําพิธีกรรมทางศาสนาตองถือหลัก ๔ ประการ คือ.- ๑. ประหยัด ๒.ไดประโยชน ๓.ถูกตอง ๔.เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ คูมืออบรม ๒๓ “ ยุวพุทธ” พิธีกรรมแมจะเปนเปลือกมิใชแกนของ ศาสนาก็ตาม แตก็เปนสิ่งที่จูงใจคนใหละชั่วทําดีทํา จิตใจใหบริสุทธิ์ กอใหเกิดคุณคาทางจิตใจเปนการ รักษาเอกลักษณของชาติ เพราะพิธีกรรมเปน วัฒนธรรมที่บงบอกถึงความเปนชาติไทย การทําพิธีกรรมทางศาสนาตองถือหลัก ๔ ประการ คือ.- ๑. ประหยัด ๒.ไดประโยชน ๓.ถูกตอง ๔.เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ คูมืออบรม ๒๓ “ ยุวพุทธ”
  • 25. ศาสนพิธีระเบียบปฏิบัติที่ยุวพุทธควรรูจัก ก. ความหมายของคําวาศาสนพิธี ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมหรือระเบียบแบบแผนตางๆ ที่ดีงาม ที่พึงปฏิบัติในทางพระศาสนา ข. ประโยชนของการประกอบศาสนพิธี ๑. ประโยชนทางใจ ชวยใหเกิดคุณธรรมขึ้นในตัวผูปฏิบัติ ไดแก ก. ความมีสติ. ข. ความสามัคคี. ค. ความเปนระเบียบประณีตงดงาม. ง. เกิดความชุมชื่นเบิกบานใจ. จ. เกิดความฉลาด. ๒. เพื่อรักษาเอกลักษณของชาติ ที่ไมมีชาติใดเหมือน แสดงถึงความเปนไท มิใชทาสของชาติใด ทั้ง ยังปองกันมิใหชาติถูกกลืน. ๓. มีสวนชวยธํารงพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีเปนขั้นตอนชักจูงใหผูปฏิบัติซาบซึ้ง เกิดศรัทธาใน พระพุทธศาสนา มีใจมุงมั่นที่จะศึกษาแกนแทของพุทธศาสนาในชั้นลึกตอไปไดดวยดี. .......... .......... .......... คูมืออบรม ๒๔ “ ยุวพุทธ” ศาสนพิธีระเบียบปฏิบัติที่ยุวพุทธควรรูจัก ก. ความหมายของคําวาศาสนพิธี ศาสนพิธี คือ พิธีกรรมหรือระเบียบแบบแผนตางๆ ที่ดีงาม ที่พึงปฏิบัติในทางพระศาสนา ข. ประโยชนของการประกอบศาสนพิธี ๑. ประโยชนทางใจ ชวยใหเกิดคุณธรรมขึ้นในตัวผูปฏิบัติ ไดแก ก. ความมีสติ. ข. ความสามัคคี. ค. ความเปนระเบียบประณีตงดงาม. ง. เกิดความชุมชื่นเบิกบานใจ. จ. เกิดความฉลาด. ๒. เพื่อรักษาเอกลักษณของชาติ ที่ไมมีชาติใดเหมือน แสดงถึงความเปนไท มิใชทาสของชาติใด ทั้ง ยังปองกันมิใหชาติถูกกลืน. ๓. มีสวนชวยธํารงพระพุทธศาสนา ศาสนพิธีเปนขั้นตอนชักจูงใหผูปฏิบัติซาบซึ้ง เกิดศรัทธาใน พระพุทธศาสนา มีใจมุงมั่นที่จะศึกษาแกนแทของพุทธศาสนาในชั้นลึกตอไปไดดวยดี. .......... .......... ......... . คูมืออบรม ๒๔ “ ยุวพุทธ”
  • 26. ค. ประเภทของศาสนพิธี ศาสนพิธีโดยสรุปแบงออกไดเปน ๔ หมวด คือ.- ๑. หมวดกุศลพิธี วาดวย พิธีบําเพ็ญกุศล ไดแก พิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะ พิธีรักษาอุโบสถศีล พิธีเวียนเทียน เปนตน. ๒. หมวดบุญพิธี วาดวย พิธีบําเพ็ญบุญเลี้ยงพระไดแก พิธีแตงงาน,พิธีขึ้นบานใหมเปนตน ๓. หมวดทานพิธี วาดวย พิธีถวายทาน ไดแก ทานวัตถุ ๑๐ อยาง. ๔. หมวดปกิณกะ วาดวย พิธีเบ็ดเตล็ด ไดแก พิธีแสดงความเคารพ การประเคนของ การกรวดน้ํา และคําอาราธนาคําถวายทานตาง ๆ. ง. พิธีเวียนเทียน ในวันสําคัญในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งมีอยู ๔ วัน คือ.- ๑. วันวิสาขบูชา (วันพระพุทธ) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ เปนวันคลายวันประสูติ ตรัสรูปรินิพพาน. ๒. วันมาฆบูชา (วันพระสงฆ) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๓ เปนวันที่มีเหตุการณเกิดขึ้น ๔ ประการ เรียกวา “จาตุรงคสันนิบาต” พระพุทธองคทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข ทามกลางพระสงฆ ๑,๒๕๐ รูป ณ เวฬุวันมหาวิหาร ในกรุงราชคฤห ๓. วันอาสาฬหบูชา (วันพระธรรม) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๘ วันที่พระพุทธเจาแสดงธรรม เปนครั้งแรก เปนวันพระรัตนตรัยครอบองค อัญญาโกณฑัญญะ ไดฟงธรรมแลวเกิดดวงตาเห็น ธรรม ไดทูลขอบรรพชาเปนภิกษุองคแรกในพระพุทธศาสนา. คูมืออบรม ๒๕ “ ยุวพุทธ” ค. ประเภทของศาสนพิธี ศาสนพิธีโดยสรุปแบงออกไดเปน ๔ หมวด คือ.- ๑. หมวดกุศลพิธี วาดวย พิธีบําเพ็ญกุศล ไดแก พิธีแสดงตนเปนพุทธมามกะ พิธีรักษาอุโบสถศีล พิธีเวียนเทียน เปนตน. ๒. หมวดบุญพิธี วาดวย พิธีบําเพ็ญบุญเลี้ยงพระไดแก พิธีแตงงาน,พิธีขึ้นบานใหมเปนตน ๓. หมวดทานพิธี วาดวย พิธีถวายทาน ไดแก ทานวัตถุ ๑๐ อยาง. ๔. หมวดปกิณกะ วาดวย พิธีเบ็ดเตล็ด ไดแก พิธีแสดงความเคารพ การประเคนของ การกรวดน้ํา และคําอาราธนาคําถวายทานตาง ๆ. ง. พิธีเวียนเทียน ในวันสําคัญในทางพระพุทธศาสนา ซึ่งมีอยู ๔ วัน คือ.- ๑. วันวิสาขบูชา (วันพระพุทธ) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๖ เปนวันคลายวันประสูติ ตรัสรูปรินิพพาน. ๒. วันมาฆบูชา (วันพระสงฆ) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๓ เปนวันที่มีเหตุการณเกิดขึ้น ๔ ประการ เรียกวา “จาตุรงคสันนิบาต” พระพุทธองคทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข ทามกลางพระสงฆ ๑,๒๕๐ รูป ณ เวฬุวันมหาวิหาร ในกรุงราชคฤห ๓. วันอาสาฬหบูชา (วันพระธรรม) ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๘ วันที่พระพุทธเจาแสดงธรรม เปนครั้งแรก เปนวันพระรัตนตรัยครอบองค อัญญาโกณฑัญญะ ไดฟงธรรมแลวเกิดดวงตาเห็น ธรรม ไดทูลขอบรรพชาเปนภิกษุองคแรกในพระพุทธศาสนา. คูมืออบรม ๒๕ “ ยุวพุทธ”
  • 27. ๔. วันอัฏฐมีบูชา ตรงกับวันแรม ๘ ค่ํา เดือน ๖ เปนวันคลายวันถวายพระเพลิงพระสรีระของ พระพุทธเจา. (ปจจุบันไมคอยไดเวียนเทียนกันในวันนี้) หมายเหตุ วันสําคัญทั้ง ๔ นี้ ถาปใดเปนปที่มีอธิกมาส(เดือน ๘ สองหน) ใหเลื่อนไปอีกเดือนหนึ่ง. วันสําคัญดังกลาวพุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติตนดังนี้ คือ.- ๑. ทําบุญตักบาตรในตอนเชา. ๒. ฟงเทศนที่วัดตอนเชา-บายหรือค่ํา. ๓. เวียนเทียนนําดอกไมธูปเทียนไปบูชาพระรัตนตรัยในตอนบายหรือกลางคืน ๔. รักษาศีล ทําสมาธิภาวนา. จ. หมวดที่ ๒ พิธีบําเพ็ญบุญ พิธีทําบุญในทางพระพุทธศาสนาแบงออกไดเปน ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. ทําบุญในงานมงคล เชน ขึ้นบานใหม แตงงานฯลฯ ๒. ทําบุญงานอวมงคล เชน งานศพ ทําบุญอุทิศใหผูตาย ฯลฯ คูมืออบรม ๒๖ “ ยุวพุทธ” ๔. วันอัฏฐมีบูชา ตรงกับวันแรม ๘ ค่ํา เดือน ๖ เปนวันคลายวันถวายพระเพลิงพระสรีระของพระพุทธเจา. (ปจจุบันไมคอยไดเวียนเทียนกันในวันนี้) หมายเหตุ วันสําคัญทั้ง ๔ นี้ ถาปใดเปนปที่มีอธิกมาส(เดือน ๘ สองหน) ใหเลื่อนไปอีกเดือนหนึ่ง. วันสําคัญดังกลาวพุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติตนดังนี้ คือ.- ๑. ทําบุญตักบาตรในตอนเชา. ๒. ฟงเทศนที่วัดตอนเชา-บายหรือค่ํา. ๓. เวียนเทียนนําดอกไมธูปเทียนไปบูชาพระรัตนตรัยในตอนบายหรือกลางคืน ๔. รักษาศีล ทําสมาธิภาวนา. จ. หมวดที่ ๒ พิธีบําเพ็ญบุญ พิธีทําบุญในทางพระพุทธศาสนาแบงออกไดเปน ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. ทําบุญในงานมงคล เชน ขึ้นบานใหม แตงงานฯลฯ ๒. ทําบุญงานอวมงคล เชน งานศพ ทําบุญอุทิศใหผูตาย ฯลฯ คูมืออบรม ๒๖ “ ยุวพุทธ”