SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
ประวัติความเปนมาของประเพณีการทําบุญเดือนสิบ
       วันแรม 15 ค่ําเดือน 10 เปนวันสารทไทย ทั่วทุกภาคจะมีการทําบุญ ทางภาค
กลางเรียกวา “ ทําบุญสาทร” ภาคใตเรียกวา “ ทําบุญตา-ยายหรือบุญเดือนสิบหรือบุญ
ชิงเปรต” ภาคใตตางจากภาคอื่น คือ ภาคใตจะมี ๒ วัน คือ วันรับและวันสง ถาจังหวัด
                       พังงาจะรับตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ําเดือน๑๐ คนจังหวัดสุราษฎร
                       ธานี นครศรีธรรมราชชุมพร จะรับตรงกับวันเเรม ๑ ค่ํา เดือน
                       สิบ เเตถาเปนวันสงเหมือนกัน คือ เเรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๐ เปน
                       ประเพณีเกาแกของไทยซึ่งผสมผสานกับวัฒนธรรมอินเดีย เปน
                       การแสดงออกซึ่งความกตัญูกตเวทีตอผูมีพระคุณทําบุญให
                       บรรพบุรุษผูลวงลับไปแลวและยังเปนการรวมกับประพฤติ
ธรรมเชนความสามัคคี ความเมตตาเปนตน เกิดขึ้นเนื่องจากบรรพบุรษผูฉลาดมอง ุ
การณไกลวา อนาคตของหนาเมื่อโลกเปลี่ยนแปลงเจริญดานวัตถุ คนจะหลงมัวเมาจน
ทิ้งทางศาสนาและศีลธรรม จึงไดหาวิธีตั้งประเพณีนี้ขึ้น เพื่อใหลูกหลานพากัน
ประพฤติธรรม จะไดอยูกันอยางมีความสุข โดยพยายามสอดแทรกสาระธรรมไว
มากมาย         ฉะนั้นขอใหลูกหลานทั้งหลายใหเขาใจจุดมุงหมายใหถูกตองไมใชทําแต
พอแลวเสร็จตามประเพณีเทานั้น มักจะกลายเปนความงมงายไรสาระ
ความมุงหมายของการทําบุญสารทเดือนสิบ
        ประเพณีทําบุญสารทเดือนสิบ มีเปาหมายหลักอยูที่การอุทิศสวนบุญสวนกุศลไป
ให พอแม ปูยา ตายาย ตลอดจนญาติพี่นองที่ลวงลับไปแลว แตดวยชวงเวลาปฏิบัติและ
วิถี ปฏิบัติของผูซึ่งเปนพุทธศาสนิกชน จึงทําใหประเพณีนี้มีความมุงหมายอื่น ๆ เขา
ประกอบดวย ดังตอไปนี้
        1. เพื่อเปนการทําบุญอุทิศสวนกุศลไปใหพอแม ปูยา ตายาย ญาติ พี่นอง หรือ
บุคคลอื่น ทีลวงลับไปแลว
             ่
        2. เปนการทําบุญ แสดงความชื่นชมยินดี ในโอกาสที่ไดรับผลิตผลทางการเกษตร
ในชวงปลาย เดือน 10 ซึ่งตรงกับประเพณีสารท เปนระยะที่พืชพันธุตาง ๆ กําลังใหผล
ชาวบานจะนําพืชผล ทั้งในลักษณะที่ไมแปรสภาพและแปรสภาพเปนอาหารตาง ๆ แลว
ไปถวายพระสงฆ เพื่อความ เปนสิริมงคลแกตนเองและครอบครัว
        3. เพื่อเปนการอํานวยประโยชน ในดานปจจัยอาหารแดภิกษุสงฆ ในชวงฤดูฝน
โดยนําพืชผลไม และอาหารแหงไปถวายพระสงฆเพื่อเก็บไวเปนเสบียงในฤดูฝน ซึ่งจะ
เริ่มในตอนปลายเดือน 10 การจัดเสบียงอาหารนี้ จะจัดเปนสํารับที่ชาวใตเรียกวา
"หมรับ" แลวถวายโดยวิธีใหพระภิกษุ จัดสลากเรียกวา "สลากภัต" พระภิกษุจะใหศิษย
เก็บหมรับรับไว เพื่อนํามาประเคนถวายเปนมื้อๆ
        4. เพื่อเปนการแสดงความสนุกสนานรื่นเริงประจําปรวมกัน เพราะญาติมิตรที่อยู
ใกลไกลจะกลับ สูภูมิลาเนาคอนขางพรอมหนาพรอมตากัน จึงมักมีการจัดงานรื่นเริง
                           ํ
เฉลิมฉลองกันในลักษณะ ตางๆ จังหวัดนครศรีธรรมราชมีการจัดงานรื่นเริงควบคูกับ
ประเพณีทําบุญเดือน 10 เปนงาน ใหญโต เรียกวา "งานเดือนสิบ" ซึ่งยังคงจัดมาจนถึง
ปจจุบัน
                    ปริศนาธรรมในการทําในวันบุญตายาย
         สําหรับปริศนาธรรมในการทําบุญตายายจึงขอใครเฉลยปริศนาธรรมที่สอดแทรก
ไวในงานทําบุญตายายเพื่อลูกหสานจะไดทําถูกตองโดยเฉพาะของภาคใตเปนเรื่องๆไป
         เรื่องแรกคือ “ เปรตพระเจาพิมพิสาร” เปรตเปนญาติของพระเจาพิมพิสารไดตก
นรก เพราะ ยักยอกเงินที่พระเจาพิมพิสารใหนําไปทําบุญถวายพระ เเละไดตกนรกชดใช
กรรม 60,000 ป เปนเรื่องไวสอนเตือนลูกหลานวาอยาใหไดตกไปเปนเปรตแมในขณะที่
ยังมีชีวีตอยู เนื่องจากโลกเจริญขึ้นคนมากขึ้นวัตถุมีจํากัด จึงเกิดการแยงวัตถุ จิตใจจึงมี
แตความหิวกระหายหลายเปนเปรตทั้งที่ยังมีชีวิตอยู ตายายจึงเอาเรื่องนี้แทรกไวเตือนลูก
หลาน ในเรืองเลางา เปรต 4 ตัวที่อยูในนรกนั้นไดโผลขึ้นมาเพื่อที่จะแกมนุษย แตทุก
               ่
ตัวโผลขึ้นมาพูดไดเพียงคําเดียวแลวจมหายไป เนื่องจากเคยไดทําบาปกรรมไวมากเชน
โกงกิน คอรัปชั่นเปนตน มันจะสาระภาพผิดเพื่อรองเตือนมนุษยดังนี้วา
         ตัวทีหนึ่งโผลขึ้นมารองวา “ ทุ” แลวจมหายไป คือมันพยายามจะบอกวาสมัย
อยูเมืองมนุษยมีสมบัติอยูมากแตไมเคยใหทาน ทําที่พึ่งแกตน จึงตองทุกขอยูในนรก
ทรมานปานนี้
         ตัวที่สองโผลขึ้นมารองคําวา “ สะ” แลวจมหายไป คือมันจะบอกวา หกหมื่นป
เต็มๆ ที่ตองหมกไหมในนรก เมื่อไรจะสิ้นสุดสักที
         ตัวที่สามโผลขึ้นมารองคําวา “ นะ” แลวจมหายไป คือมันจะบอกวา จะเอาที่สุด
มาจากไหน ไมมีที่สุดสําหรับเรา เนื่องจากทําบาปไวมาก
         ตัวที่สี่โผลขึ้นมารองคําวา “ โส” แลวจมหายไป คือมันจะบอกวา หากมันได
ไปเกิดเปนมนุษยอีกครั้ง จะรีบทําตนใหถึงพรอมดวยทาน ศีล ภาวนาประกอบบุญกุศล
ใหมาก
         เปรตทั้งสี่ตัวตายายนํามาผูกไวเพื่อเตือนลูกหลานอยาใหมัวเมา กอบ โกย โกงกิน
คอรัปชั่นเห็นแกความโลภอยากไดจะกลายเปนเปรตไป
         เรื่องที่สองคือรานเปรต มีไวเพื่อตองการหัดใหลกหลานเปนนิสัยใจกวางทําทาน
                                                         ู
ไมเลือกหนา ไมเลือกชันวรรณะ โดยเฉพาะใหสงเคราะหคนยากคนจนที่ลําบากกวา
                              ้
มิใชมีเพียงใหลูกหลานไดแยงชิงขนมกันนอกจากนี้ยังมีอีกชุดดับใสกระทงนําไปวางไว
นอกกําแพงวัดสําหรับพวกเปรตที่บาปหนักคือพวกที่สังคมรังเกียจเชนพวกโรคเรื้อน
ติดตอเปนตน นี่เปนความฉลาดของตายายที่หัดใหลูกหลานทําทานชนิด ที่ไมเลือกหนา
ไมวาเปรตชั้นไหน แมสตวเดรัจฉานหมากาไกก็พลอยอิ่มสําราญดวย
                            ั
         เรื่องขนมนมเนย นั้นมีมากมายหลายชนิดเชน ขนมพง-ลา ขนมไขปลา ขนม
แหวน ขนมบัว ฯลฯนั้นตายายตองการสอนใหเห็นถึงเรื่อง สังขารธรรม วาทุกสิ่งทุก
อยางเกิดขึ้นจากเหตุปจจัยปรุงแตง ไมวาจะเปนขนมอะไรก็ลวนแตเปนสังขาร เกิดจาก
การปรุงแตง รางกายก็เชนกันอยาไดมัวเมานัก
         เอกลักษณขนมของภาคใตที่ขาดมิได คือ๑.ขนมพอง ๒. ขนมลาเอกลักษณขนม
ของภาคกลางเรียกวา ขนมกระยาศาสตร กลวยไข
หัวใจคือสําคัญของหมรับ คือ ขนม 5 อยาง
       ซึ่งมีความหมายตอการ อุทิศสวนกุศลใหญาติผูลวงลับ และถือวาเปนสัญลักษณ
ของงานบุญสารท เดือน 10
       ขนมพอง เปนสัญลักษณแทนแพ สําหรับญาติผูลวงลับใชลองขามหวงมหรรณพ
ตามคติ ทางพุทธศาสนา
       ขนมลา เปนสัญลักษณแทนแพรพรรณเครื่องนุงหม
       ขนมกง (ขนมไขปลา) เปนสัญลักษณแทนเครื่องประดับ
       ขนมดีซํา เปนสัญลักษณแทนเงินเบี้ยสําหรับใชสอย
       ขนมบา เปนสัญลักษณแทนสะบา สําหรับญาติผูตายจะไดใชเลนสะบาในวัน
สงกรานต
       ผูสูงอายุบางคนกลาววา ขนมที่เปนหัวใจของการจัดหมรับมี 6 อยาง โดยเพิ่มลา
ลอยมัน ซึ่งเปนสัญลักษณแทนฟูกหมอนเขาไปดวยขนมตาง ๆ เหลานี้เปนขนมที่
สามารถเก็บไวไดนานไมบูด เสียงาย เหมาะที่จะเปนเสบียงเลี้ยงสงฆไปไดตลอดฤดูฝน

        เรื่องการสวดบังสกุลกระดูก ถาไมมีก็เอารูปถายแทน นี่ตายายก็สรางการสอน
ไมใหลูกหลานหลงมัวเมาในชีวิต      ใหเจริญมรณานุสติ      โดยมีกระดูกตายายเปน
พยานหลักฐานฉะนั้นอยาไดหลงมัวเมาเลย สังขารนี้ไมเทียงตองเกิดแกเจ็บ ตายเปน
ธรรมดา อยาหลงยึดถือวาเปนตัวตนของเราจนประมาท ลืมสรางคุณงามความดีกอนที่
จะตายไปจากโลกนี้
ขั้นตอนในการประกอบพิธี
         สําหรับในสมัยโบราณเริ่มตั้งเเตเชาตรู ไดสวดบทพระเจาพิมพิสารมีพระสงฆ
๔ รูปสวดทีศาลาหนาโบสถบทสวดจะบอกถึงที่มาของการทําบุญตายายสวนที่ศาลาการ
              ่
เปรียญก็จะเตรียมอาหารถวายพระมีการไหวพระสวดมนต รับศีล ฟงธรรม ถวาย
สังฆทาน         เเละหลังจากพระสวดบังสุกุลเสร็จลูกหลานก็มักจะมาชิงเปรตเพราะถือวา
อาหารนั้นเปนอาหารที่ศักดิ์สิทธิ์เเละเมื่อกินเเลวก็จะโชคดี เเตหลวงพุทธทาสเปนเคล็ด
อุบายทําลายการถือชั้นวรรณะ นอกจากนี้ยังมีการวางกระธงไวนอกวัด ไวให เยาะ เงาะ
งอย (กระจอกงอก งอย) เนื่องจากชั้นวรรณะต่ําของอินเดียตองอยูรับทานขางนอกเมื่อ
เสร็จก็มีการทําบุญถวายอาหารเเละของเเหง สําหรับภาชนะที่ใสอาหารจะเเตกตางกันไป
เชน ชาวนครศรีธรรมราชจะใชกระจาด หรือ เรียกวา หมับ ชาวสุราษฎรธานีจะใสถาด
เรียกวา ถาดบิณฑ ปจจุบันที่เห็นบางเเหงใสตะกราพลาสติก ใสขันเเทนกระทงก็มี
                  ประโยชนที่ไดจากการบําเพ็ญบุญตายาย
พอสรุปเปนขอใหญดังนี้
        1.ไดรวมประพฤติธรรม กตัญูกตเวทิตา ระลึกถึงคุณของบรรพบุรุษมีตายาย
เปนตน แลวไดกระทําตอบดวยการบูชาอยางใหญหลวง
        2.เปนการบํารุงพระศาสนา ใหกําลังแกภิกษุสงฆ เพื่อศึกษาและปฏิบัติธรรมสืบ
พระศาสนาตอไป โดยนําอาหารทั้งสดและแหงมาถวายทาน
        3.เปนการทําลายความเห็นแกตัวไดรับบุญคือความสุขใจไมนอยการทําบุญตายาย
คือการทําลายศัตรูของมนุษยคือ กิเลส ทาน-ชําระความโลภ ศีล มีเมตตาสามัคคี อาฆาต
พยาบาทปญญาพิจารณาเห็นความจริงของสังขารวาไมเที่ยงเปนทุกข ไมใชตัวตนที่เที่ยง
แทถาวรจะทําลายความหลงมัวเมาในชีวิต
        เราจะตองตอบแทนตายายอยางไร โดยแทจริงแลงตายายไมไดเปนเปรตชั้นตําใน
นรกดังที่กลาวแลวนั้น คําวา “ เปตะ” ภาษาขาลี หมายถึง ผูที่ลวงลับไปแลว ตายายเปน
ตัวอยางแหงความดีตายายแทจริงไมใช-เนื้อหนังรางกาย แตเปนคุณธรรมภายในใจคือ
        ตามีคุณธรรมแหงความเปนตา 3 ขอใหญๆ คือ
        1. ความเมตา เห็นสัตวทั้งหลายเปนเพื่อน รวมทุกขเกิดแกเจ็บตายดวยกันจึงไม
เบียดเบียนกันกอนนอนจะแผเมตตาทุกคืน
2. ตถตา คือปญญาที่รูเห็นสิ่งทั้งหลายตามเปนจริงวามันเปน อนิจจตา คือ ไม
เที่ยง เปน ทุกขตา คือเปนทุกข อนัตตา ไมใชตัวตนที่แทจริงไมหลงยึดถือตัวตน เห็น
เกิดแกเจ็บตายเปนธรรมดามันเชนนั้นเอง จึงไมหลงมัวเมาในชีวิต
         3. สุญญตา คือความวางจากกิเลส เมื่อจิตรูเห็นสิ่งทั้งหลายตามเปนจริงก็จะเบื่อ
หายคลายกําหนัดจิตก็หลุดพนจากกิเลสเปนจิตวางเขาถึง “ สุญญตา” อันเปนหัวใจของ
พระพุธศาสนาอันสูงสุด
         สวนคุณธรรมของยายนั้น ภาษาบาลีวา “ ญายะ” คือการปฏิบัติเพื่อออกจาก
ทุกข ทุกอริยาบทของคุณยายไมวาพูดคิดจะไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่นเปนไปเพื่อ
ประโยชนสกแกตนเองและผูอื่นเปนไปเพื่อความสิ้นทุกข
             ุ
         ฉะนั้นโอกาส แหงการทําบุญตายายเราจะตอบแทนทานไดถึงที่สุดก็ดวยการ
กระทําให คุณธรรมเหลานั้นมีในใจตน ไมใชทําขนมไปใหทานกินตัวเนื้อหนัวรางกาย
เปนเรื่องภายนอกเปนคาเราไมสามารถตอบแทนได แตอาศัยการกระทําตอพระเพื่อให
เกิดบุญ ขอใหลูกหลานทําบุญตายายกันใหถูกตองสุดทายก็ไดสรุปเปนคํากลอนในเสียง
สะทอนจากกลอนธรรมไวหมด
                           เสียงสะทอนจากกลอนธรรม
                               ประเพณีทําบุญตายาย
       ประเพณีบุญตายายของชาวใต              นั้นมีไวใหลูกหลานสมานฉันท
       สามัคคีรวมพี่นองปรองดองกัน          จิตผูกพันคุณธรรมไวในใจตน
       ขอพวกเราเขาใจในความหมาย              เพื่อคลี่คลายปริศนานาฉงน
       ที่ตองมีราเปรตเปนเลศกล             ดวยเหตุผลใหทําทานทั้งมีจน
       ไมวาเปรตชั้นต่ําหรือชั้นไหน         ก็มีใจเอื้อเฟอแผกุศล
       ชําระจิตความอยากจากใจตน               ก็จะพนจากเปรตในอุรา
       อีกขนมนมเนยมีมากหลาย                  ลวนแตใหมองเห็นเปนสังขาร
       ไมวาหนมตมพองหรือหนมลา              นั้นก็มาจากปรุงแตงแหงปจจัย
       อีกกระดูกโกศตายายเหลานั้นไซร        วางตั้งไวบังสกุลเปนไฉน
       วาอยาหลงมั่วมัวเมาและเขลาไป         ทุกสิ่งไมจีรังยั่งยืนนาน
       ขอลูกหลานทั้งหลายจงรีบตื่น            รับตายายใหทําชื่อรื่นสุขสันต
       ปฏิบัติรักใครพรอมใจกัน              ใหกํานัลดวยศีลธรรมด่ําดื่มใจ
ตัวตายายคือคุณธรรมล้ําเลิศจิต         อยาเห็นผิดเปนตัวคนจนหลงไหล
มีเมตตา ตถตา (สุญญตา)ไวในใจ          ญายะใหปฏิบัติดีหนีทุกขทน
นี่คือการ บูชาสง ตายายแท            เปนเครื่องแผอุทิศคุณบุญกุศล
ไดชื่อวากตัญูรูคุณคน              เปนมงคลเพราะทําถูกลูกหลานเอย
                              -นิราลัย-
              ประเพณีบุญตายาย (ของเกาผูรูเขาแตงไว)
      จะกลาวถึงเขาเรื่อง        อันนับเนื่องวันตายาย
      ประเพณีชาวใต               ดํารงไวสืบกันมา
      โลหะกุมภิชา                 ดกนี้หนาเชิญฟงกัน
      พระเจาพิมพิสาร             เขากราบกรานภควัน
      ทูลเหตุอาเภทนั้น            กลาวหมอมฉันไดยินเสียง
      โลมาสยองเพียง               ไดยินเสียงตื่นตกใจ
      อรรถกถาจารย                ทานกลาวขานเปนคําไข
      สําเนียงเสียงนั้นไซร       คือเสียงเปรตอสุรกาย
      ปากเล็กเทารูเข็ม           เนื้อตัวเต็มดวยหนอนตาย
      โกฎิที่เวียนวาย            ดําผุดในเตาไฟหลอม
      ผุดรองไดคําเดียว          น้ํารอนเชี่ยวกระชากออม
      วนกนหมอเล็กหยอม          กวาโผลไดพุทธันดร
      เปรตหนึ่งรองเสียง “ทุ”     ทานระบุถึงโทษกร
      ศีลทานพาลขอดขอน             สรางทุกขรอนผลาญวงศวาร
      เปรตสองรองเสียง “สะ”       ตั้งใจจะสมาทาน
      หมกไหมทรมาน                หกหมื่นปมิสิ้นสุด
      เปรตสามกลาวเพียง “นะ”      ใจหยาบชาคราเปนมนุษย
      โทษทันนั้นเอกอุตม          จะสิ้นสุดไดอยางไร
      เปรตสี่รองเพียง “โส”       จะไมโงถาเกิดใหม
      ไดเปนมนุษยไซร           จะเพาะกุศลศีลปญญา
      สงสารเปรตสี่ตน              ยังไมพนนรกหนา
      โกฎิผุดสักครา               กลาวสมาไดคําเดียว
กษัตริยพิมพพิสาร          ใหสะทานหทัยเสียว
      โอกรรมนําแทเทียว          จะชวยไดอยางไรดี
      หวนระลึกถึงญาติวงศ         ไดเพียงทรงทําทานผลี
      แผบุญกุศลนี้               หวังผลผอนใหผอนคลาย
      แมไมถึงกับเย็น            ก็พอเปนเครื่องชวยให
      คลายรอนผอนกระหาย          ใครอยูไดบางเวลา
      ดังนั้นทานผูใหญ          ทําตามไวมานานชา
      ขอโปรดทราบเถิดหนา           วันยายตาดังนี้แล.




                      สิ่งที่ตายายตองการ
ตาและยายขอลาหลานกลับฐานถิ่น น้ําตารินหลั่งไหลเพราะสงสาร
มาปไหนก็เหลวไหลไมเอาการ         หาแตความสนุกสนานลูกหลานตา
รับยายมาเครื่องบูชาหาไมได       ยัดเหยียดใหแตขนมไมรูสา
ของอยางนี้มีคานอยดอยราคา      อยาเอามาบูชายายนาอายเกิน
ศีลนี่แหละที่ตายายอยากไดนัก      ขอหลานรักจงรับศีลอยาเกอเขิน
ศีลนี่แหละที่ตายายอยากไดเกิน     อยามัวเพลินขาดหุนนักหลานรักตา.
                              -ทยาลุ-

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิตคำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิตWave RedCyber
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1Pakjira Prlopburi
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กPraew Pizz
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรNhui Srr
 
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกาลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกาWat Pasantidhamma
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดานTongsamut vorasan
 
Photo caption sbc3_สงกรานต์
Photo caption sbc3_สงกรานต์Photo caption sbc3_สงกรานต์
Photo caption sbc3_สงกรานต์singhabizcourse
 

Mais procurados (12)

Heat12
Heat12Heat12
Heat12
 
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิตคำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
คำขอขมากรรมและอธิษฐานจิต
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกาลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
ลังกากถา ข้อคิด ของดีเมืองศรีลังกา
 
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดานอมรา สินทวีวงศ์   ธรรมะดัดสันดาน
อมรา สินทวีวงศ์ ธรรมะดัดสันดาน
 
Photo caption sbc3_สงกรานต์
Photo caption sbc3_สงกรานต์Photo caption sbc3_สงกรานต์
Photo caption sbc3_สงกรานต์
 

Semelhante a ประเพณีทำบุญตายาย

รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555Carzanova
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Wat Thai Washington, D.C.
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555Carzanova
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603satriwitthaya
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยAchara Sritavarit
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อโครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อKey Heart
 
การลดกรรม 45 อย่าง
การลดกรรม 45 อย่างการลดกรรม 45 อย่าง
การลดกรรม 45 อย่างPanda Jing
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวPanda Jing
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 

Semelhante a ประเพณีทำบุญตายาย (20)

รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ
ฮารีรายอ
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
ระลึกบุญ มาฆบูชา 7 มีนาคม 2555
 
พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603พระพุทธม.6 SW603
พระพุทธม.6 SW603
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
ก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทรายก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทราย
 
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อโครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
โครงงานรื่องผีเปรตและตำนานความเชื่อ
 
การลดกรรม 45 อย่าง
การลดกรรม 45 อย่างการลดกรรม 45 อย่าง
การลดกรรม 45 อย่าง
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัวให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
ให้สุขแก่ท่าน สุขนั้นถึงตัว
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 

Mais de niralai

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10niralai
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชาniralai
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษาniralai
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทยniralai
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนาniralai
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)niralai
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีลniralai
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธniralai
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!niralai
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทยniralai
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศniralai
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูดniralai
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5niralai
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษาniralai
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษาniralai
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดีniralai
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12niralai
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6niralai
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4niralai
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3niralai
 

Mais de niralai (20)

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 

ประเพณีทำบุญตายาย

  • 1. ประวัติความเปนมาของประเพณีการทําบุญเดือนสิบ วันแรม 15 ค่ําเดือน 10 เปนวันสารทไทย ทั่วทุกภาคจะมีการทําบุญ ทางภาค กลางเรียกวา “ ทําบุญสาทร” ภาคใตเรียกวา “ ทําบุญตา-ยายหรือบุญเดือนสิบหรือบุญ ชิงเปรต” ภาคใตตางจากภาคอื่น คือ ภาคใตจะมี ๒ วัน คือ วันรับและวันสง ถาจังหวัด พังงาจะรับตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ําเดือน๑๐ คนจังหวัดสุราษฎร ธานี นครศรีธรรมราชชุมพร จะรับตรงกับวันเเรม ๑ ค่ํา เดือน สิบ เเตถาเปนวันสงเหมือนกัน คือ เเรม ๑๕ ค่ํา เดือน ๑๐ เปน ประเพณีเกาแกของไทยซึ่งผสมผสานกับวัฒนธรรมอินเดีย เปน การแสดงออกซึ่งความกตัญูกตเวทีตอผูมีพระคุณทําบุญให บรรพบุรุษผูลวงลับไปแลวและยังเปนการรวมกับประพฤติ ธรรมเชนความสามัคคี ความเมตตาเปนตน เกิดขึ้นเนื่องจากบรรพบุรษผูฉลาดมอง ุ การณไกลวา อนาคตของหนาเมื่อโลกเปลี่ยนแปลงเจริญดานวัตถุ คนจะหลงมัวเมาจน ทิ้งทางศาสนาและศีลธรรม จึงไดหาวิธีตั้งประเพณีนี้ขึ้น เพื่อใหลูกหลานพากัน ประพฤติธรรม จะไดอยูกันอยางมีความสุข โดยพยายามสอดแทรกสาระธรรมไว มากมาย ฉะนั้นขอใหลูกหลานทั้งหลายใหเขาใจจุดมุงหมายใหถูกตองไมใชทําแต พอแลวเสร็จตามประเพณีเทานั้น มักจะกลายเปนความงมงายไรสาระ
  • 2. ความมุงหมายของการทําบุญสารทเดือนสิบ ประเพณีทําบุญสารทเดือนสิบ มีเปาหมายหลักอยูที่การอุทิศสวนบุญสวนกุศลไป ให พอแม ปูยา ตายาย ตลอดจนญาติพี่นองที่ลวงลับไปแลว แตดวยชวงเวลาปฏิบัติและ วิถี ปฏิบัติของผูซึ่งเปนพุทธศาสนิกชน จึงทําใหประเพณีนี้มีความมุงหมายอื่น ๆ เขา ประกอบดวย ดังตอไปนี้ 1. เพื่อเปนการทําบุญอุทิศสวนกุศลไปใหพอแม ปูยา ตายาย ญาติ พี่นอง หรือ บุคคลอื่น ทีลวงลับไปแลว ่ 2. เปนการทําบุญ แสดงความชื่นชมยินดี ในโอกาสที่ไดรับผลิตผลทางการเกษตร ในชวงปลาย เดือน 10 ซึ่งตรงกับประเพณีสารท เปนระยะที่พืชพันธุตาง ๆ กําลังใหผล ชาวบานจะนําพืชผล ทั้งในลักษณะที่ไมแปรสภาพและแปรสภาพเปนอาหารตาง ๆ แลว ไปถวายพระสงฆ เพื่อความ เปนสิริมงคลแกตนเองและครอบครัว 3. เพื่อเปนการอํานวยประโยชน ในดานปจจัยอาหารแดภิกษุสงฆ ในชวงฤดูฝน โดยนําพืชผลไม และอาหารแหงไปถวายพระสงฆเพื่อเก็บไวเปนเสบียงในฤดูฝน ซึ่งจะ เริ่มในตอนปลายเดือน 10 การจัดเสบียงอาหารนี้ จะจัดเปนสํารับที่ชาวใตเรียกวา "หมรับ" แลวถวายโดยวิธีใหพระภิกษุ จัดสลากเรียกวา "สลากภัต" พระภิกษุจะใหศิษย เก็บหมรับรับไว เพื่อนํามาประเคนถวายเปนมื้อๆ 4. เพื่อเปนการแสดงความสนุกสนานรื่นเริงประจําปรวมกัน เพราะญาติมิตรที่อยู ใกลไกลจะกลับ สูภูมิลาเนาคอนขางพรอมหนาพรอมตากัน จึงมักมีการจัดงานรื่นเริง ํ เฉลิมฉลองกันในลักษณะ ตางๆ จังหวัดนครศรีธรรมราชมีการจัดงานรื่นเริงควบคูกับ ประเพณีทําบุญเดือน 10 เปนงาน ใหญโต เรียกวา "งานเดือนสิบ" ซึ่งยังคงจัดมาจนถึง ปจจุบัน ปริศนาธรรมในการทําในวันบุญตายาย สําหรับปริศนาธรรมในการทําบุญตายายจึงขอใครเฉลยปริศนาธรรมที่สอดแทรก ไวในงานทําบุญตายายเพื่อลูกหสานจะไดทําถูกตองโดยเฉพาะของภาคใตเปนเรื่องๆไป เรื่องแรกคือ “ เปรตพระเจาพิมพิสาร” เปรตเปนญาติของพระเจาพิมพิสารไดตก นรก เพราะ ยักยอกเงินที่พระเจาพิมพิสารใหนําไปทําบุญถวายพระ เเละไดตกนรกชดใช กรรม 60,000 ป เปนเรื่องไวสอนเตือนลูกหลานวาอยาใหไดตกไปเปนเปรตแมในขณะที่ ยังมีชีวีตอยู เนื่องจากโลกเจริญขึ้นคนมากขึ้นวัตถุมีจํากัด จึงเกิดการแยงวัตถุ จิตใจจึงมี
  • 3. แตความหิวกระหายหลายเปนเปรตทั้งที่ยังมีชีวิตอยู ตายายจึงเอาเรื่องนี้แทรกไวเตือนลูก หลาน ในเรืองเลางา เปรต 4 ตัวที่อยูในนรกนั้นไดโผลขึ้นมาเพื่อที่จะแกมนุษย แตทุก ่ ตัวโผลขึ้นมาพูดไดเพียงคําเดียวแลวจมหายไป เนื่องจากเคยไดทําบาปกรรมไวมากเชน โกงกิน คอรัปชั่นเปนตน มันจะสาระภาพผิดเพื่อรองเตือนมนุษยดังนี้วา ตัวทีหนึ่งโผลขึ้นมารองวา “ ทุ” แลวจมหายไป คือมันพยายามจะบอกวาสมัย อยูเมืองมนุษยมีสมบัติอยูมากแตไมเคยใหทาน ทําที่พึ่งแกตน จึงตองทุกขอยูในนรก ทรมานปานนี้ ตัวที่สองโผลขึ้นมารองคําวา “ สะ” แลวจมหายไป คือมันจะบอกวา หกหมื่นป เต็มๆ ที่ตองหมกไหมในนรก เมื่อไรจะสิ้นสุดสักที ตัวที่สามโผลขึ้นมารองคําวา “ นะ” แลวจมหายไป คือมันจะบอกวา จะเอาที่สุด มาจากไหน ไมมีที่สุดสําหรับเรา เนื่องจากทําบาปไวมาก ตัวที่สี่โผลขึ้นมารองคําวา “ โส” แลวจมหายไป คือมันจะบอกวา หากมันได ไปเกิดเปนมนุษยอีกครั้ง จะรีบทําตนใหถึงพรอมดวยทาน ศีล ภาวนาประกอบบุญกุศล ใหมาก เปรตทั้งสี่ตัวตายายนํามาผูกไวเพื่อเตือนลูกหลานอยาใหมัวเมา กอบ โกย โกงกิน คอรัปชั่นเห็นแกความโลภอยากไดจะกลายเปนเปรตไป เรื่องที่สองคือรานเปรต มีไวเพื่อตองการหัดใหลกหลานเปนนิสัยใจกวางทําทาน ู ไมเลือกหนา ไมเลือกชันวรรณะ โดยเฉพาะใหสงเคราะหคนยากคนจนที่ลําบากกวา ้ มิใชมีเพียงใหลูกหลานไดแยงชิงขนมกันนอกจากนี้ยังมีอีกชุดดับใสกระทงนําไปวางไว นอกกําแพงวัดสําหรับพวกเปรตที่บาปหนักคือพวกที่สังคมรังเกียจเชนพวกโรคเรื้อน ติดตอเปนตน นี่เปนความฉลาดของตายายที่หัดใหลูกหลานทําทานชนิด ที่ไมเลือกหนา ไมวาเปรตชั้นไหน แมสตวเดรัจฉานหมากาไกก็พลอยอิ่มสําราญดวย ั เรื่องขนมนมเนย นั้นมีมากมายหลายชนิดเชน ขนมพง-ลา ขนมไขปลา ขนม แหวน ขนมบัว ฯลฯนั้นตายายตองการสอนใหเห็นถึงเรื่อง สังขารธรรม วาทุกสิ่งทุก อยางเกิดขึ้นจากเหตุปจจัยปรุงแตง ไมวาจะเปนขนมอะไรก็ลวนแตเปนสังขาร เกิดจาก การปรุงแตง รางกายก็เชนกันอยาไดมัวเมานัก เอกลักษณขนมของภาคใตที่ขาดมิได คือ๑.ขนมพอง ๒. ขนมลาเอกลักษณขนม ของภาคกลางเรียกวา ขนมกระยาศาสตร กลวยไข
  • 4. หัวใจคือสําคัญของหมรับ คือ ขนม 5 อยาง ซึ่งมีความหมายตอการ อุทิศสวนกุศลใหญาติผูลวงลับ และถือวาเปนสัญลักษณ ของงานบุญสารท เดือน 10 ขนมพอง เปนสัญลักษณแทนแพ สําหรับญาติผูลวงลับใชลองขามหวงมหรรณพ ตามคติ ทางพุทธศาสนา ขนมลา เปนสัญลักษณแทนแพรพรรณเครื่องนุงหม ขนมกง (ขนมไขปลา) เปนสัญลักษณแทนเครื่องประดับ ขนมดีซํา เปนสัญลักษณแทนเงินเบี้ยสําหรับใชสอย ขนมบา เปนสัญลักษณแทนสะบา สําหรับญาติผูตายจะไดใชเลนสะบาในวัน สงกรานต ผูสูงอายุบางคนกลาววา ขนมที่เปนหัวใจของการจัดหมรับมี 6 อยาง โดยเพิ่มลา ลอยมัน ซึ่งเปนสัญลักษณแทนฟูกหมอนเขาไปดวยขนมตาง ๆ เหลานี้เปนขนมที่ สามารถเก็บไวไดนานไมบูด เสียงาย เหมาะที่จะเปนเสบียงเลี้ยงสงฆไปไดตลอดฤดูฝน เรื่องการสวดบังสกุลกระดูก ถาไมมีก็เอารูปถายแทน นี่ตายายก็สรางการสอน ไมใหลูกหลานหลงมัวเมาในชีวิต ใหเจริญมรณานุสติ โดยมีกระดูกตายายเปน พยานหลักฐานฉะนั้นอยาไดหลงมัวเมาเลย สังขารนี้ไมเทียงตองเกิดแกเจ็บ ตายเปน ธรรมดา อยาหลงยึดถือวาเปนตัวตนของเราจนประมาท ลืมสรางคุณงามความดีกอนที่ จะตายไปจากโลกนี้
  • 5. ขั้นตอนในการประกอบพิธี สําหรับในสมัยโบราณเริ่มตั้งเเตเชาตรู ไดสวดบทพระเจาพิมพิสารมีพระสงฆ ๔ รูปสวดทีศาลาหนาโบสถบทสวดจะบอกถึงที่มาของการทําบุญตายายสวนที่ศาลาการ ่ เปรียญก็จะเตรียมอาหารถวายพระมีการไหวพระสวดมนต รับศีล ฟงธรรม ถวาย สังฆทาน เเละหลังจากพระสวดบังสุกุลเสร็จลูกหลานก็มักจะมาชิงเปรตเพราะถือวา อาหารนั้นเปนอาหารที่ศักดิ์สิทธิ์เเละเมื่อกินเเลวก็จะโชคดี เเตหลวงพุทธทาสเปนเคล็ด อุบายทําลายการถือชั้นวรรณะ นอกจากนี้ยังมีการวางกระธงไวนอกวัด ไวให เยาะ เงาะ งอย (กระจอกงอก งอย) เนื่องจากชั้นวรรณะต่ําของอินเดียตองอยูรับทานขางนอกเมื่อ เสร็จก็มีการทําบุญถวายอาหารเเละของเเหง สําหรับภาชนะที่ใสอาหารจะเเตกตางกันไป เชน ชาวนครศรีธรรมราชจะใชกระจาด หรือ เรียกวา หมับ ชาวสุราษฎรธานีจะใสถาด เรียกวา ถาดบิณฑ ปจจุบันที่เห็นบางเเหงใสตะกราพลาสติก ใสขันเเทนกระทงก็มี ประโยชนที่ไดจากการบําเพ็ญบุญตายาย พอสรุปเปนขอใหญดังนี้ 1.ไดรวมประพฤติธรรม กตัญูกตเวทิตา ระลึกถึงคุณของบรรพบุรุษมีตายาย เปนตน แลวไดกระทําตอบดวยการบูชาอยางใหญหลวง 2.เปนการบํารุงพระศาสนา ใหกําลังแกภิกษุสงฆ เพื่อศึกษาและปฏิบัติธรรมสืบ พระศาสนาตอไป โดยนําอาหารทั้งสดและแหงมาถวายทาน 3.เปนการทําลายความเห็นแกตัวไดรับบุญคือความสุขใจไมนอยการทําบุญตายาย คือการทําลายศัตรูของมนุษยคือ กิเลส ทาน-ชําระความโลภ ศีล มีเมตตาสามัคคี อาฆาต พยาบาทปญญาพิจารณาเห็นความจริงของสังขารวาไมเที่ยงเปนทุกข ไมใชตัวตนที่เที่ยง แทถาวรจะทําลายความหลงมัวเมาในชีวิต เราจะตองตอบแทนตายายอยางไร โดยแทจริงแลงตายายไมไดเปนเปรตชั้นตําใน นรกดังที่กลาวแลวนั้น คําวา “ เปตะ” ภาษาขาลี หมายถึง ผูที่ลวงลับไปแลว ตายายเปน ตัวอยางแหงความดีตายายแทจริงไมใช-เนื้อหนังรางกาย แตเปนคุณธรรมภายในใจคือ ตามีคุณธรรมแหงความเปนตา 3 ขอใหญๆ คือ 1. ความเมตา เห็นสัตวทั้งหลายเปนเพื่อน รวมทุกขเกิดแกเจ็บตายดวยกันจึงไม เบียดเบียนกันกอนนอนจะแผเมตตาทุกคืน
  • 6. 2. ตถตา คือปญญาที่รูเห็นสิ่งทั้งหลายตามเปนจริงวามันเปน อนิจจตา คือ ไม เที่ยง เปน ทุกขตา คือเปนทุกข อนัตตา ไมใชตัวตนที่แทจริงไมหลงยึดถือตัวตน เห็น เกิดแกเจ็บตายเปนธรรมดามันเชนนั้นเอง จึงไมหลงมัวเมาในชีวิต 3. สุญญตา คือความวางจากกิเลส เมื่อจิตรูเห็นสิ่งทั้งหลายตามเปนจริงก็จะเบื่อ หายคลายกําหนัดจิตก็หลุดพนจากกิเลสเปนจิตวางเขาถึง “ สุญญตา” อันเปนหัวใจของ พระพุธศาสนาอันสูงสุด สวนคุณธรรมของยายนั้น ภาษาบาลีวา “ ญายะ” คือการปฏิบัติเพื่อออกจาก ทุกข ทุกอริยาบทของคุณยายไมวาพูดคิดจะไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่นเปนไปเพื่อ ประโยชนสกแกตนเองและผูอื่นเปนไปเพื่อความสิ้นทุกข ุ ฉะนั้นโอกาส แหงการทําบุญตายายเราจะตอบแทนทานไดถึงที่สุดก็ดวยการ กระทําให คุณธรรมเหลานั้นมีในใจตน ไมใชทําขนมไปใหทานกินตัวเนื้อหนัวรางกาย เปนเรื่องภายนอกเปนคาเราไมสามารถตอบแทนได แตอาศัยการกระทําตอพระเพื่อให เกิดบุญ ขอใหลูกหลานทําบุญตายายกันใหถูกตองสุดทายก็ไดสรุปเปนคํากลอนในเสียง สะทอนจากกลอนธรรมไวหมด เสียงสะทอนจากกลอนธรรม ประเพณีทําบุญตายาย ประเพณีบุญตายายของชาวใต นั้นมีไวใหลูกหลานสมานฉันท สามัคคีรวมพี่นองปรองดองกัน จิตผูกพันคุณธรรมไวในใจตน ขอพวกเราเขาใจในความหมาย เพื่อคลี่คลายปริศนานาฉงน ที่ตองมีราเปรตเปนเลศกล ดวยเหตุผลใหทําทานทั้งมีจน ไมวาเปรตชั้นต่ําหรือชั้นไหน ก็มีใจเอื้อเฟอแผกุศล ชําระจิตความอยากจากใจตน ก็จะพนจากเปรตในอุรา อีกขนมนมเนยมีมากหลาย ลวนแตใหมองเห็นเปนสังขาร ไมวาหนมตมพองหรือหนมลา นั้นก็มาจากปรุงแตงแหงปจจัย อีกกระดูกโกศตายายเหลานั้นไซร วางตั้งไวบังสกุลเปนไฉน วาอยาหลงมั่วมัวเมาและเขลาไป ทุกสิ่งไมจีรังยั่งยืนนาน ขอลูกหลานทั้งหลายจงรีบตื่น รับตายายใหทําชื่อรื่นสุขสันต ปฏิบัติรักใครพรอมใจกัน ใหกํานัลดวยศีลธรรมด่ําดื่มใจ
  • 7. ตัวตายายคือคุณธรรมล้ําเลิศจิต อยาเห็นผิดเปนตัวคนจนหลงไหล มีเมตตา ตถตา (สุญญตา)ไวในใจ ญายะใหปฏิบัติดีหนีทุกขทน นี่คือการ บูชาสง ตายายแท เปนเครื่องแผอุทิศคุณบุญกุศล ไดชื่อวากตัญูรูคุณคน เปนมงคลเพราะทําถูกลูกหลานเอย -นิราลัย- ประเพณีบุญตายาย (ของเกาผูรูเขาแตงไว) จะกลาวถึงเขาเรื่อง อันนับเนื่องวันตายาย ประเพณีชาวใต ดํารงไวสืบกันมา โลหะกุมภิชา ดกนี้หนาเชิญฟงกัน พระเจาพิมพิสาร เขากราบกรานภควัน ทูลเหตุอาเภทนั้น กลาวหมอมฉันไดยินเสียง โลมาสยองเพียง ไดยินเสียงตื่นตกใจ อรรถกถาจารย ทานกลาวขานเปนคําไข สําเนียงเสียงนั้นไซร คือเสียงเปรตอสุรกาย ปากเล็กเทารูเข็ม เนื้อตัวเต็มดวยหนอนตาย โกฎิที่เวียนวาย ดําผุดในเตาไฟหลอม ผุดรองไดคําเดียว น้ํารอนเชี่ยวกระชากออม วนกนหมอเล็กหยอม กวาโผลไดพุทธันดร เปรตหนึ่งรองเสียง “ทุ” ทานระบุถึงโทษกร ศีลทานพาลขอดขอน สรางทุกขรอนผลาญวงศวาร เปรตสองรองเสียง “สะ” ตั้งใจจะสมาทาน หมกไหมทรมาน หกหมื่นปมิสิ้นสุด เปรตสามกลาวเพียง “นะ” ใจหยาบชาคราเปนมนุษย โทษทันนั้นเอกอุตม จะสิ้นสุดไดอยางไร เปรตสี่รองเพียง “โส” จะไมโงถาเกิดใหม ไดเปนมนุษยไซร จะเพาะกุศลศีลปญญา สงสารเปรตสี่ตน ยังไมพนนรกหนา โกฎิผุดสักครา กลาวสมาไดคําเดียว
  • 8. กษัตริยพิมพพิสาร ใหสะทานหทัยเสียว โอกรรมนําแทเทียว จะชวยไดอยางไรดี หวนระลึกถึงญาติวงศ ไดเพียงทรงทําทานผลี แผบุญกุศลนี้ หวังผลผอนใหผอนคลาย แมไมถึงกับเย็น ก็พอเปนเครื่องชวยให คลายรอนผอนกระหาย ใครอยูไดบางเวลา ดังนั้นทานผูใหญ ทําตามไวมานานชา ขอโปรดทราบเถิดหนา วันยายตาดังนี้แล. สิ่งที่ตายายตองการ ตาและยายขอลาหลานกลับฐานถิ่น น้ําตารินหลั่งไหลเพราะสงสาร มาปไหนก็เหลวไหลไมเอาการ หาแตความสนุกสนานลูกหลานตา รับยายมาเครื่องบูชาหาไมได ยัดเหยียดใหแตขนมไมรูสา ของอยางนี้มีคานอยดอยราคา อยาเอามาบูชายายนาอายเกิน ศีลนี่แหละที่ตายายอยากไดนัก ขอหลานรักจงรับศีลอยาเกอเขิน ศีลนี่แหละที่ตายายอยากไดเกิน อยามัวเพลินขาดหุนนักหลานรักตา. -ทยาลุ-