SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 114
Baixar para ler offline
คํานํา

          อุ ต สาหกรรมน้ํ า ตาลทรายเป น อุ ต สาหกรรมที่ มี มู ล ค า การส ง ออกเป น
อันดับตนๆ ของประเทศไทย ทิศทางความตองการน้ําตาลของตลาดโลกเพื่อการ
บริโภค และความตองการออยเพื่อเปนพลังงานทดแทนที่เพิ่มมากขึ้น สงผลให
น้ํ า ตาลทรายมี ร าคาเพิ่ ม ขึ้ น ด ว ยเช น เดี ย วกั น อย า งไรก็ ดี ก ารพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง
กระบวนการผลิตน้ําตาลทรายใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ยังเปนสิ่งที่สําคัญและ
จําเปนในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันกับประเทศคูแขงขันทางการคา
การพัฒนาดังกลาวตองรวมถึงระบบการทดสอบและวิเคราะหถึงคุณภาพออยและ
น้ําตาลทราย ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายโดยตรง
          สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติไดตระหนักถึงความสําคัญของอุตสาหกรรม
ออยและน้ําตาลทรายของประเทศ จึงไดดําเนินการจัดทําโครงการวิจัยผลกระทบ
ทางเศรษฐกิจจากมาตรวิทยาเคมีตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย โดยมี
วัตถุประสงคเพื่อศึกษาการลดมูลคาของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขาย
ออย จากการใชระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีความถูกตองมากขึ้นตามมาตรฐานสากล
และเพื่อเปรียบเทียบตนทุนการซื้อวัสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ที่
ใชสอบเทียบเครื่องมือวัดคา % Brix ระหวางโรงงานที่ซื้อจากในประเทศ และจาก
ตางประเทศ และศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจของระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีตอ
อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย
          โดยสถาบันฯ เล็งเห็นวาผลจากการศึกษาคนควาตามโครงการดังกลาวจะ
กอใหเกิดประโยชนตอผูที่เกี่ยวของทุกฝายในประเด็นที่ทําใหทราบถึงผลกระทบ
ของมาตรวิทยาเคมีที่มีผลตออุตสาหกรรมน้ําตาลทราย อันจะนําไปสูการพัฒนาใหมี
การใชระบบมาตรวิทยาในอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายอยางกวางขวางมากขึ้น เพื่อให
ผลิตภัณฑน้ําตาลทรายของประเทศไทยมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและเปนที่
ยอมรับของประเทศคูคาและนานาประเทศ
                                                                                             1
บทสรุป
                          ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
          จากมาตรวิทยาเคมีตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย

           อุ ต สาหกรรมน้ํ า ตาลทรายเป น อุ ต สาหกรรมที่ มี มู ล ค า การส ง ออกเป น
อันดับตนๆ ของประเทศไทย ดุลน้ําตาลของโลกในปการผลิต พ.ศ.2551/52 มีปริมาณ
การผลิตน้ําตาลจํานวน 156.63 ลานตัน สวนปริมาณการบริโภคน้ําตาลของโลกใน
ปการผลิต พ.ศ.2551/52 มีจํานวน 164.41 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปการผลิต พ.ศ.2550/51
จํานวน 3.77 ลานตัน (คิดเปนรอยละ 1.91) สงผลใหน้ําตาลทรายมีราคาเพิ่มขึ้นดวย
เชนเดียวกัน ปริมาณผลผลิตออยฤดูการผลิตป พ.ศ. 2551/52 มีปริมาณออยเขาหีบ
66.46 ลานตัน ออยสามารถผลิตน้ําตาลได 7.19 ลานตัน แบงเปนน้ําตาลทรายดิบ
3.91 ลานตัน และน้ําตาลทรายขาว 3.28 ลานตัน สงผลใหทิศทางราคาออยของ
เกษตรกรชาวไรออยทั่วประเทศที่มีประมาณ 1 ลานคน อยูในเกณฑดี น้ําตาลที่ผลิต
ไดนอกจากจะใชบริโภคภายในประเทศแลว ยังสามารถสงออกไปยังตางประเทศนํา
รายไดเขาประเทศเปนจํานวนมาก โดยในป พ.ศ.2552 (มกราคม -ตุลาคม 2552)
ประเทศไทยมีรายไดจากการสงออกน้ําตาลทรายดิบ และน้ําตาลทรายรวมกันเปน
มูลคาถึง 51,770.30 ลานบาท
           อยางไรก็ดีการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตออยและน้ําตาลทรายใหมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น ยังเปนสิ่งที่สําคัญและจําเปนในการเพิ่มขีดความสามารถใน
การแขงขันกับประเทศคูแขงขันทางการคา การพัฒนาดังกลาวตองรวมถึงระบบการ
ทดสอบและวิเคราะหถึงคุณภาพออยและน้ําตาลทราย สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ
ตระหนักถึงความสําคัญของอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายของประเทศจึงไดดําเนินการ
จัดทําโครงการวิจัยผลกระทบเชิงเศรษฐกิจของมาตรวิทยาเคมีตออุตสาหกรรม
น้ําตาลทรายในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการลดมูลคาของความ
ไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขายออย จากการใชระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีความ

2
ถู ก ต อ งมากขึ้ น ตามมาตรฐานสากล เพื่ อ เปรี ย บเที ย บต น ทุ น การซื้ อ วั ส ดุ อ า งอิ ง
รับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ที่ใชสอบเทียบเครื่องมือวัดคา % Brix ระหวาง
โรงงานน้ําตาลทรายที่ซื้อจากตางประเทศและในประเทศ และศึกษาผลกระทบทาง
เศรษฐกิจของระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย
         จากผลการสํารวจพบวา โรงงานน้ําตาลทรายสวนใหญเขารวมโปรแกรม
ทดสอบความชํานาญคิดเปนรอยละ 96.30 และมีการใชวัสดุอางอิงรับรองในการ
ควบคุมคุณภาพคิดเปนรอยละ 55.56 โดยโรงงานน้ําตาลทรายรอยละ 85.19 ไมมี
นโยบายระบบจัดการคุณภาพ และมีโรงงานน้ําตาลทรายเพียงรอยละ 11.11 ที่ไดรับ
การรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ISO/IEC 17025:2005 นั่นแสดงใหเห็นวา
โรงงานยั ง ไม ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการได รั บ การรั บ รองระบบคุ ณ ภาพ
หองปฏิบัติการ ISO/IEC 17025:2005
          ในงานวิจัยฉบับนี้ไดทําการศึกษาสมมติฐานการวิจัยทั้งสิ้น 2 สมมติฐาน
ดังนี้ สมมติฐานการวิจัยที่ 1 ระบบมาตรวิทยาเคมีดานการวัดความหวานที่มีขีด
ความสามารถในการวัดไดถูกตองมากขึ้นตามมาตรฐานสากล สงผลกระทบอยางมี
นัยสําคัญตอมูลคาของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขายออย และสมมติฐาน
การวิจัยที่ 2 โรงงานน้ําตาลทรายที่ใชวัสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs)
สําหรับใชในการสอบเทียบเครื่องมือวัดคา Brix ที่ผลิตในประเทศไทย จะสามารถ
ลดตนทุนการซื้อวัดสุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ไดมากกวาเมื่อเทียบ
กับโรงงานน้ําตาลทรายที่ใชวัดสุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ที่นําเขา
จากตางประเทศ
          ผลการแทนคาสมการของสมมติฐานการวิจัยที่ 1 จาก พ.ศ.2550 ถึง 2553
มีขอสรุปตรงกันวาการใชเครื่องมือวัดความหวานที่มีความถูกตองตางกัน 10 เทา จะ
ทําใหท ราบมูลคาของความไดเ ปรีย บ/เสียเปรียบในการซื้อขายออย และการใช
เครื่องมือวัดความหวานที่มีความถูกตองมากขึ้นตามมาตรฐานสากลจะชวยลดมูลคา
ความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขายออยของเกษตรกรและโรงงานน้ําตาลทราย
                                                                                            3
ไดอยางชัดเจน ตัวอยางเชน จากขอมูลการซื้อขายออยในป พ.ศ.2553 พบวามูลคา
ของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการชื้อขายออยที่เกิดจากการใชเครื่องมือวัดความหวาน
ที่มีความถูกตองสองตําแหนง (วัดไดละเอียดถึง 0.01) เปรียบเทียบกับเครื่องมือที่มี
ความถูกตองหนึ่งตําแหนง (วัดไดละเอียดถึง 0.1) มีมูลคาสูงถึง 90 ลานบาท และ
มูลคาของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการชื้อขายออยที่เกิดจากการใชเครื่องมือวัด
ความหวานที่มีความถูกตองสามตําแหนง (วัดไดละเอียดถึง 0.001) เปรียบเทียบกับ
เครื่องมือที่มีความถูกตองสองตําแหนง จะมีมูลคาเพียง 7 ลานบาท
              ผลการแทนคาสมการของสมมติฐานการวิจัยที่ 2 จาก พ.ศ.2550-2553
มีขอสรุปตรงกันวาในแตละปมูลคาในการสั่งซื้อวัสดุอางอิงรับรองจากตางประเทศ
สูงกวาการซื้อวัสดุอางอิงรับรองที่ผลิตภายในประเทศ รวมเปนมูลคาการสูญเสียที่
เกิดจากการนําเขาวัสดุอางอิงรับรองจากตางประเทศถึง 373,967 บาท สงผลให
ประเทศไทยประสบปญหาการสูญเสียเงินตราจากการนําเขาวัสดุอางอิงรับรองจาก
ต างประเทศ ตั้งแต ป พ.ศ.2550-2553 คิด เปน มูลค า 92,510 บาท, 89,510 บาท,
116,427 บาท และ 75,520 บาท ตามลําดับ แตอยางไรก็ตามคาใชจายในการซื้อ
วัสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ทั้งที่ผลิตในประเทศและตางประเทศ
ยังมีปริมาณนอยเมื่อเทียบกับปริมาณน้ําตาลทรายที่ผลิตไดในแตละป มูลคาการสั่งซื้อ
วั ส ดุ อ า งอิ ง รั บ รอง/วั ส ดุอ า งอิง (CRMs/RMs) ที่มี จํ า นวนน อ ยสะทอ นใหเ ห็ น ว า
โรงงานน้ําตาลทรายยังไมตระหนักถึงความสําคัญของการใชวัสดุอางอิงรับรอง/
วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ในการประกันคุณภาพการผลิตน้ําตาลทราย สอดคลอง
กับผลการสํารวจที่พบวาโรงงานน้ําตาลทรายมีการใชสารละลายน้ําตาลที่เตรียมขึ้นเอง
เพื่อใชประกันคุณภาพผลการวิเคราะหเบื้องตน (Daily Check) คิดเปนรอยละ 100




4
สารบัญ 

                                                                                                                        หนา
คํานํา.....................................................................................................................1
บทสรุป………………………………………………………………………… 2
บทที่ 1 บทนํา................................................................................................... 11
             1. ภาวะตลาดน้ําตาลโลก…………………………………………......11
             2. ภาวะอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายของประเทศไทย…………………. 13
             3. ความสําคัญของระบบมาตรวิทยาตออุตสาหกรรมน้ําตาลทราย…... 17
             4. ปญหาและอุปสรรคของการผลิตน้ําตาลทราย..................................20
             5. หวงโซมูลคาออยและน้ําตาลทราย................................................... 20
             6. ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพออย............................................................. 22
             7. การกําหนดราคาซื้อขายออย.............................................................24
             8. วัตถุประสงคการวิจัย……………………………………………... 27
             9. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ……………………………………….. 27
บทที่ 2 แนวความคิดทางทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ.............................. 29
             1. แนวความคิดทางทฤษฎี................................................................... 29
             2. ทฤษฎีการคาระหวางประเทศ.......................................................... 32
             3. วรรณกรรมที่เกี่ยวของ..................................................................... 35
บทที่ 3 ระเบียบวิธีศึกษา.................................................................................... 39
             1. ระเบียบวิธีวิจัย................................................................................. 39
             2. สมมติฐานการวิจัย………………………………………………... 51
             3. แบบจําลองที่ใชในการศึกษา และกรอบแนวคิด………………….. 52



                                                                                                                               5
สารบัญ 

                                                                                                                 หนา
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล........................................................................... 55
        1. นโยบายระบบคุณภาพของโรงงานอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย……. 55
        2. การซื้อ/ขายออยของโรงงานอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย……………66
        3. การใชวสดุอางอิงรับรองสําหรับการวัดความหวานและ
                        ั
            ความเปนกรด-ดางของโรงงานอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย.............. 72
        4. สมมติฐานการวิจัย………………………………………………... 80
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย………………………………………………………. 93
        1. สรุปผลการวิจัย................................................................................ 93
        2. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย………………………………………….. 99
        3. ขอเสนอแนะเชิงบริหาร.................................................................... 99
บรรณานุกรม........................................................................................................102
ภาคผนวก............................................................................................................. 103




6
สารบัญตาราง
                                                                                                             หนา
ตารางที่ 1    ดุลน้ําตาลโลก ปการผลิต 2550/51-2551/52 ...................................11
ตารางที่ 2    ราคาน้ําตาลทรายดิบตลาดนิวยอรก
              (เฉลี่ยรายเดือน นับแตป 2548 – 2552)............................................12
ตารางที่ 3    ราคาซื้อขายลวงหนาน้ําตาลทรายดิบนิวยอรก
              (วันที่ 5 ตุลาคม 2552) .....................................................................13
ตารางที่ 4    ปริมาณการผลิตออยของไทย ..........................................................14
ตารางที่ 5    ปริมาณและมูลคาการสงออกน้ําตาลดิบและน้ําตาลทราย
              ของไทย ป พ.ศ.2549-2552 .............................................................15
ตารางที่ 6    เกณฑกําหนดคาสีของผลิตภัณฑน้ําตาลชนิดตางๆ และ
              วิธวิเคราะห .....................................................................................19
                 ี
ตารางที่ 7    โรงงานน้ําตาลทรายในประเทศไทย ...............................................39
ตารางที่ 8    กลุมตัวอยางโรงงานน้ําตาลทรายที่ทําการศึกษา .............................46
ตารางที่ 9    จํานวนและรอยละของระบบคุณภาพโรงงานน้ําตาลทราย
              จําแนกตามสภาพการรับรองระบบคุณภาพที่มีใน
              โรงงานน้ําตาลทราย ........................................................................57
ตารางที่ 10   จํานวนและรอยละความรวมมือในการเขารวมโปรแกรม
              ทดสอบความชํานาญ (PT) ของโรงงานน้ําตาล จําแนกตาม
              ความรวมมือ ....................................................................................58
ตารางที่ 11   จํานวนและรอยละของนโยบายประกันคุณภาพของผล
              การวิเคราะหและทดสอบผลิตภัณฑของโรงงานน้ําตาลที่ไมไดรับ
              การรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ISO/IEC 17025:2005
              จําแนกตามวิธีการประกันความถูกตอง...........................................60


                                                                                                                7
สารบัญตาราง
                                                                                                        หนา
ตารางที่ 12   จํานวนและรอยละของกิจกรรมการเขารวมโปรแกรมทดสอบ
              ความชํานาญ (PT) ของโรงงานน้ําตาล จําแนกตามประเภท
              กิจกรรมการเขารวม ........................................................................ 62
ตารางที่ 13   จํานวนและรอยละของโรงงานน้ําตาลที่เขารวมกิจกรรมใน
              โปรแกรมทดสอบความชํานาญ (PT) จําแนกตามหนวยงานที่จัด
              โปรแกรมทดสอบความชํานาญ ประเภทกิจกรรมการเขารวม
              และจํานวนการเขารวม ................................................................... 64
ตารางที่ 14   ปริมาณรวม คาต่ําสุด คาสูงสุด และคาเฉลี่ยของปริมาณชื้อ/
              ขายออยตอป ราคาออยที่ 10 CCS และคาความหวานของ
              ผลผลิตออยโดยเฉลี่ย (CCS/ป) จําแนกตามป พ.ศ. ........................ 67
ตารางที่ 15   จํานวนและรอยละการใชวสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง
                                              ั 
              ในการควบคุมคุณภาพของโรงงานน้ําตาล จําแนกตาม
              การใชวัสดุอางอิง............................................................................ 72
ตารางที่ 16   จํานวนและรอยละโรงงานน้ําตาลที่ใชวัสดุอางอิงในการควบคุม
              คุณภาพ จําแนกตามประเภทวัสดุอางอิง สถานที่สั่งซื้อวัสดุอางอิง
              รับรอง/วัสดุอางอิง และประเภทเครื่องมือ ..................................... 74
ตารางที่ 17   มูลคาการลงทุนในการซื้อวัสดุอางอิงรับรอง /วัสดุอางอิง
              (CRMs/RMs) และจํานวนการใช CRMs/RMs ของ
              โรงงานน้ําตาลทราย จําแนกตามสถานที่สั่งซื้อวัสดุอางอิง
              ประเภทเครื่องมือ และป พ.ศ.......................................................... 76
ตารางที่ 18   มูลคาการลงทุนคาใชจายในการสอบเทียบเครื่องมือของโรงงาน
              น้ําตาลทราย จําแนกตามประเภทเครื่องมือ และป พ.ศ. ................. 79


8
สารบัญแผนภาพ
                                                                                              หนา
แผนภาพที่ 1   หวงโซมูลคาออยและน้ําตาลทราย...............................................21
แผนภาพที่ 2   รายละเอียดการเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดตนทุน ............21
แผนภาพที่ 3   รายละเอียดการแปรรูปและสรางคุณคา .......................................22
แผนภาพที่ 4   มาตรวิทยาสาขาตางๆ ที่เกี่ยวของในกระบวนการผลิตน้ําตาล ....26
แผนภาพที่ 5   ระบบมาตรวิทยากับการเพิ่มมูลคา อธิบายมาตรวิทยา และ
              ผลตอขั้นตอนตางๆ ของอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย .....................31
แผนภาพที่ 6   รอยละของระบบคุณภาพโรงงานน้ําตาลทราย จําแนกตาม
              สภาพการรับรองระบบคุณภาพที่มีในโรงงานน้ําตาลทราย .........56
แผนภาพที่ 7   รอยละของนโยบายประกันคุณภาพของผลการวิเคราะหและ
              ทดสอบผลิตภัณฑ ของโรงงานน้ําตาลที่ไมไดรับการรับรอง
              ระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ISO/IEC17025:2005 จําแนกตาม
              วิธีการประกันความถูกตอง ..........................................................60
แผนภาพที่ 8   รอยละของกิจกรรมการเขารวมโปรแกรมทดสอบ
              ความชํานาญ (PT) ของโรงงานน้ําตาลทราย จําแนกตาม
              ประเภทกิจกรรมการเขารวม ........................................................62
แผนภาพที่ 9   ผลของการเขารวมโปรแกรมทดสอบความชํานาญของโรงงาน
              น้ําตาลทรายเมื่อป พ.ศ 2553โดยการวัดคา % Brix ดวยเครื่อง
              refractometer แบบ bench-top โดยใช target measurement
              uncertainty ที่ 0.05% brix ปนเกณฑในการประเมิน
              ความสามารถของหองปฏิบัติการ ................................................70




                                                                                                 9
สารบัญแผนภาพ
                                                                                       หนา
แผนภาพที่ 10 ผลของการเขารวมโปรแกรมทดสอบความชํานาญของโรงงาน
             น้ําตาลทรายเมื่อป พ.ศ 2553โดยการวัดคา % Brix ดวยเครื่อง
             refractometer แบบ bench-top โดยใช target measurement
             uncertainty ที่ 0.01% brix เปนเกณฑในการประเมิน
             ความสามารถของหองปฏิบัติการ ................................................ 71




10
บทที่ 1
                                       บทนํา

1. ภาวะตลาดน้ําตาลโลก
           ดุลน้ําตาลของโลกในปการผลิต พ.ศ.2551/52 มีปริมาณการผลิตน้ําตาล
จํานวน 156.63 ลานตัน ลดลงจากปการผลิต พ.ศ.2550/51 จํานวน 10.66 ลานตัน
(คิดเปนรอยละ 6.37) สวนปริมาณการบริโภคน้ําตาลของโลกในปการผลิต พ.ศ.2551/52
มีจํานวน 164.41 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปการผลิต พ.ศ.2550/51 จํานวน 3.77 ลานตัน
(คิดเปนรอยละ 1.91) สาเหตุที่ปริมาณการผลิตน้ําตาลของโลกลดลงก็เนื่องจากใน
หลายประเทศซึ่งเปนผูผลิตน้ําตาลรายใหญประสบกับภัยธรรมชาติ ทําใหผลผลิต
น้ําตาลลดลงจึงตองนําเขาน้ําตาลมากขึ้น (รายละเอียดดังตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 ดุลน้ําตาลโลก ปการผลิต 2550/51-2551/52
                           ปการผลิต     ปการผลิต                       อัตราการ
                                                       เปลี่ยนแปลง
         ปริมาณ             2551/52       2550/51                      เปลี่ยนแปลง
                                                            (ตัน)
                           (ลานตัน)     (ลานตัน)                          (%)
ปริมาณการผลิต                156.625      167.289         -10.664         -6.370
ปริมาณการบริโภค              164.412      161.335         +3.770         +1.910
เกินดุล/ขาดดุล                -7.787      +5.954               -             -
ปริมาณนําเขา                 50.258       45.864         +4.394         +9.580
ปริมาณสงออก                  20.146       46.623         +3.523         +7.560
ปริมาณสต็อก                   62.048       69.723          -7.675        -11.010
อัตราการใชน้ําตาลตอ         37.740       43.220             -               -
สต็อกน้ําตาล (%)
ที่มา : จาก การประชุมคณะมนตรีองคการน้ําตาลระหวางประเทศ ณ 26 – 28 พ.ค.52 คนเมือ่
        6 พฤศจิกายน 2552,จาก http://www.konthairakkan.com/2009-10-07-17-13-17.html

                                                                                     11
และการคาดการณ ผ ลผลิ ต น้ํ า ตาลโลกป ก ารผลิ ต พ.ศ.2552/53 ของ
กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาคาดวามีจํานวน 159.90 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก พ.ศ.2551/52
รอยละ 7.50 แตหากเปรียบเทียบกับความตองการเพื่อการบริโภคน้ําตาลโลก พ.ศ.2552/53
ที่มีจํานวน 159 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากป พ.ศ.2551/52 รอยละ 1.00 แสดงใหเห็นวา
ปริมาณความตองการใกลเคียงกับผลผลิต ซึ่งในภาวะที่ประเทศผูผลิตน้ําตาลรายใหญ
ลวนมีปริมาณผลผลิตลดลงโดยเฉพาะอินเดียมีความจําเปนตองหันมานําเขาน้ําตาล
แลวประมาณ 7 ลานตัน เนื่องจากผลกระทบของภาวะภัยแลง ขณะที่บราซิลให
ความสําคัญกับการผลิตพลังงานทดแทนจากออย รวมทั้งการลดการอุดหนุนใน
อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายของสหภาพยุโรป ลวนเปนปจจัยเสี่ยงตอปริมาณสต็อก
น้ําตาลโลกที่ยังคงลดลงตอเนื่อง สงผลใหราคาน้ําตาลอยูในระดับที่ดีมาก คาดการณ
วาราคาออยขั้นตน ในฤดูการผลิตป 2552/53 จะไมต่ํากวา 1,150 บาทตอตันออยที่มี
ความหวาน(ซี.ซี.เอส) เฉลี่ย ซึ่งถือเปนระดับราคาที่สูงสุดในรอบ 28 ป นับตั้งแตฤดู
การผลิตป 2525/26 (รายละเอียดดังตารางที่ 2 และ 3)

ตารางที่ 2 ราคาน้าตาลทรายดิบตลาดนิวยอรก (เฉลี่ยรายเดือน นับแตป 2548 – 2552)
                 ํ
                                                                     เฉลี่ย
  ป ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. (เซนต/
                                                                            ปอนด)
2548 10.32 10.51 10.57 10.19 10.20 10.45 10.89 11.09 11.59 12.67 12.86 15.12 11.37
2549 17.39 18.93 18.00 18.25 17.88 16.18 16.61 13.60 12.46 12.08 12.38 12.46 15.52
2550 11.85 11.63 11.45 10.85 10.76 11.05 12.18 11.66 11.61 11.82 11.82 12.49 11.60
2551 13.75 15.16 14.54 13.68 12.18 13.29 14.90 15.58 14.74 13.02 12.88 12.31 13.84
2552 13.11 13.90 13.87 14.43 16.76 16.95 18.57 22.41                         16.25
ที่มา :   บจ.ออยและน้ําตาลไทย คนเมือ 13 พฤศจิกายน 2552,
                                     ่
          จาก www.konthairakkan.com/2009-10-07-17-13-17.html



12
ตารางที่ 3 ราคาซื้อขายลวงหนาน้ําตาลทรายดิบนิวยอรก (วันที่ 5 ตุลาคม 2552)
            เดือน / ป                     ราคาปด                    +/-
         มกราคม 2553                         23.65                    0.45
         มีนาคา 2553                         24.07                    0.29
        พฤษภาคม 2553                         23.03                    0.25
        กรกฎาคม 2553                         21.46                    0.17
         ตุลาคม 2553                         20.74                    0.31
         มกราคม 2554                         20.13                    ----
         มีนาคม 2554                         20.15                    0.29
        พฤษภาคม 2554                         18.75                    0.28
หนวย: เซ็นต/ปอนด
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย คนเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2552,
       จาก www.konthairakkan.com/2009-10-07-17-13-17.html


2. ภาวะอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายของประเทศไทย
           อ อ ยเป น พื ชเศรษฐกิ จชนิ ด เดี ยวที่ ผู ป ลู ก ต อ งจดทะเบี ย นตาม
พระราชบัญญัติออยและน้ําตาล พ.ศ. 2527 โดยมีวัตถุประสงคดังนี้ (1) เพื่อปฏิบัติ
ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติออยและน้ําตาล พ.ศ. 2527 (2) เพื่อใหมีขอมูลพื้นฐาน
ที่ถูกตองในการกําหนดนโยบายควบคุมการผลิตจัดระเบียบจําหนายออยและน้ําตาล
ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในแตละป (3) เพื่อรักษาระดับเสถียรภาพ
ของราคาออยและน้ําตาล
           อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญอันดับตนๆ ตอ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย เพราะกอใหเกิดการสรางงานแกภาคการเกษตร
และภาคอุตสาหกรรม และจากการคาดการณของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
                                                                                13
กระทรวงเกษตรและสหกรณ (กษ.) คาดวาฤดูการผลิตป 2552/53 ซึ่งจะเริ่มเปดหีบออย
ในเดือนพฤศจิกายน 2552 มีปริมาณออยเขาหีบประมาณ 74.19 ลานตัน ปริมาณออย
เพิ่มขึ้นจากฤดูการผลิตป 2551/52 รอยละ 6.38 ตามการเพิ่มขึ้นของพื้นที่เพาะปลูก
ที่มีแรงจูงใจจากราคาน้ําตาลโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นนับแตป พ.ศ. 2551 และผลักดันให
ราคาออยของเกษตรกรชาวไรออยมีทิศทางที่ดีขึ้น ขณะที่ปริมาณผลผลิตออยฤดูการผลิต
พ.ศ. 2551/52 มีปริมาณออยเขาหีบ 66.46 ลานตันออย สามารถผลิตน้ําตาลได 7.19
ลานตัน แบงเปนน้ําตาลทรายดิบ 3.91 ลานตัน และน้ําตาลทรายขาว 3.28 ลานตัน
อันทําใหทิศทางราคาออยของเกษตรกรชาวไรออยทั่วประเทศที่มีประมาณ 1 ลานคน
อยูในเกณฑดี (รายละเอียดดังตารางที่ 4) น้ําตาลที่ผลิตไดนอกจากจะใชบริโภค
ภายในประเทศแลว ยังสามารถสงออกไปยังตางประเทศนํารายไดเขาประเทศเปน
จํานวนมาก โดยในป พ.ศ. 2552 (มกราคม 2552-ตุลาคม 2552) ประเทศไทยมีรายได
จากการสงออกน้ําตาลทรายดิบ และน้ําตาลทรายรวมกันเปนมูลคาถึง 51,770.30
ลานบาท (รายละเอียดดังตารางที่ 5)

ตารางที่ 4 ปริมาณการผลิตออยของประเทศไทย
                          ฤดูการ   ฤดูการ    ฤดูการ                  การ
                                                                                อัตราการ
                           ผลิต      ผลิต      ผลิต            เปลี่ยนแปลง
        ออย                                                                  เปลี่ยนแปลง
                            ป        ป        ป             (ป 2551/52 –
                                                                                   (%)
                         2550/51 2551/52 2552/53                 2552/53)
พื้นที่เพาะปลูก (ไร)   6,877,183 6,282,740 6,534,125                 251,385      4.00
ผลผลิต (ตัน)            76,734,556   69,740,220   74,192,212        4,451,992      6.38
ผลผลิตตอไร (กก.)        11,158       11,100       11,355                255      2.30
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ (กษ.) คนเมื่อ
        6 พฤศจิกายน 2552, จาก http://www.konthairakkan.com/2009-10-07-17-13-17.html




14
ตารางที่ 5 ปริมาณและมูลคาการสงออกน้ําตาลดิบและน้ําตาลทรายของไทย ป พ.ศ.2549-2552
                      น้ําตาลดิบ              น้ําตาลทราย                     รวม
    พ.ศ.          ปริมาณ        มูลคา       ปริมาณ       มูลคา        ปริมาณ         มูลคา
                   (ตัน)      (ลานบาท)       (ตัน)      (ลานบาท)       (ตัน)      (ลานบาท)
    2549       1,291,670.00   14,957.60   981,463.00     13,151.60   2,273,133.00   28,109.20
    2550       2,104,593.00   18,423.70   2,321,484.00   25,383.00   4,426,077.00   43,806.70
    2551       2,996,811.00   25,904.00   2,015,012.00   21,733.50   5,011,823.00   47,637.50
    2552
             2,059,448.00     22,525.00 2,271,603.00 29,245.30 4,331,051.00 51,770.30
 (ม.ค.-ต.ค.)
ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความรวมมือของ กรมศุลกากร คนเมื่อ
        9 ธันวาคม 2552, จาก http://www.oae.go.th/oae_report/export_import/export_result.php


            แมปจจุบันประเทศไทยจะถูกจัดใหเปนประเทศผูนําอันดับตนๆ ในตลาด
น้ําตาลโลก รวมทั้งเปนผูผลิตที่ถือวามีตนทุนคอนขางต่ําอยูแลวก็ตาม แตในชวงที่
ผานมาตนทุนการผลิตและการตลาดน้ําตาลของไทยมีแนวโนมสูงขึ้นเมื่อเทียบกับ
คูแขง และยังมีรูรั่วในกระบวนการผลิตที่สามารถลดตนทุนใหต่ําลงไดอีกหลายจุด
ปญหาที่อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายประสบในขณะนี้ ไดแก ปญหาในการผลิตออย
อันเนื่องมาจากการขาดแคลนแรงงานและประสิทธิภาพแรงงานต่ํา ขาดการวาง
แผนการจัดการเกษตรกร ราคาวัตถุดิบออยมีแนวโนมที่สูงขึ้น ในขณะที่มีคุณภาพ
ต่ําลงเนื่องจากใชวธีการเก็บเกี่ยวที่ไมเหมาะสม สําหรับปญหาดานการผลิตน้ําตาล
                      ิ
ไดแก เทคโนโลยีที่ไมเหมาะสม ทําใหมีการสูญเสียน้ําตาลในกระบวนการผลิต
ปญหาดานการขนสงและขนถายที่ไมมีประสิทธิภาพ และที่สําคัญคือ ขาดการวิจัย
และพัฒนาเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนอยางตอเนื่อง ทั้งเกษตรกรและโรงงาน
น้ํ า ตาลทรายยั ง ขาดวิ สั ย ทั ศ น ที่ จ ะให ค วามสนใจกั บ ผลตอบแทนในระยะยาว
มากกวาระยะสั้น จึงไมอยากลงทุนในการวิจัยและพัฒนาซึ่งยังไมเห็นผลตอบแทน
ในทันที
                                                                                          15
ดังนั้นหากประเทศไทยตองการคงความเปนผูนําในตลาดน้ําตาลโลก
ตอไป อาวุธที่สําคัญในการตอสูกับคูแขงขันในตลาดโลกยุคโลกาภิวัฒน คือ ความ
มีประสิทธิภาพในดานตนทุน (Cost Efficiency) ตองมีการลดความสูญเสียที่ไม
จําเปนทุกดานตั้งแตการรับซื้อออยหนาโรงงานน้ําตาลทราย กระบวนการผลิต
การตลาด ตลอดจนตองมีการพัฒนาคุณภาพของออยซึ่งใชเปนวัตถุดิบใหมีผลผลิต
และความหวานปริ ม าณสู ง พั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารผลิ ต และการตลาดให มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจากนั้นควรมีการวิจัยและพัฒนาสินคาใหมตอเนื่องจาก
น้ําตาลใหไดผลิตภัณฑท่ีมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา
อยางต อเนื่อ งเปนสิ่งจําเปนสําหรับ อุตสาหกรรมน้ําตาลทราย และการพัฒนานี้
จะต อ งคํ า นึ ง ถึ ง คุ ณ ภาพของสิ่ ง แวดล อ มด ว ย เพราะคงไม มี ป ระโยชน ใ ดหาก
ผลตอบแทนของอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายจะไดมาจากตนทุนของสังคมที่เกิดขึ้น
จากการทําลายสภาพแวดลอมโดยอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย เปนตน

           ความมีประสิทธิภาพในดานตนทุน (Cost Efficiency) ในดานของการลด
ความสูญเสียในกระบวนการผลิตนั้น ระบบมาตรวิทยา (Metrology) สามารถเขาไป
เปนสวนหนึ่งในการชวยลดความสูญเสียที่ไมจําเปนในกระบวนการผลิตน้ําตาลทราย
ได ซึ่ ง หากเครื่ อ งมื อ วั ด ที่ ใ ช มี ค วามถู ก ต อ งแม น ยํ า นอกจากจะส ง ผลดี กั บ
ผูประกอบการเองแลว เกษตรกรชาวไรผูปลูกออยจะไดรับความเปนธรรมในเรื่อง
ของราคาขายออยหนาโรงงาน (ราคาจะขึ้นอยูกับระดับความหวาน (CCS) ของออย
โดยผูประกอบการจะมีเครื่องมือวัดระดับความหวานของออยที่ชาวไรนํามาขาย
หนาโรงงานน้ําตาลทราย)




16
3. ความสําคัญของระบบมาตรวิทยาตออุตสาหกรรมน้ําตาลทราย
            ปจจัยที่สงผลกระทบตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายทั้งระบบคือ ปริมาณ
ออ ยที่ส งเขาโรงงานน้ําตาลทรายในแตละป ซึ่งขึ้น อยูกับ ปริมาณพื้นที่ป ลูกออ ย
ปริมาณออยและพันธุออยที่ปลูก ในการพัฒนาพันธุออย จําเปนตองมีการวิเคราะห
คุณภาพความหวานของออย เพื่อใชเปนตัวชี้วัดในการคัดเลือกและพัฒนาพันธุออย
กอนสงเสริมใหเกษตรกรปลูก
          การพัฒนาและสงเสริมดานน้ําตาลจะมุงเนนใหมีการวิเคราะหคุณภาพ
ของน้ําตาล และกากน้ําตาลของโรงงานน้ําตาลทรายใหมีความถูกตอง เที่ยงตรงและ
เปนที่ยอมรับของทุกฝาย ทั้งนี้ผลการวิเคราะหคุณภาพจะถูกนําไปใชเปนเกณฑใน
การกําหนดชนิดของน้ําตาลนั้นๆ หากผลการวิเคราะหคลาดเคลื่อนก็จะสงผลให
เกิดความสูญเสียมูลคาที่ไมจําเปนขึ้นในอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย
             เพื่อสงเสริมใหการวิเคราะหและทดสอบผลิตภัณฑที่ไดจากกระบวนการ
ตางๆ ในโรงงานผลิตน้ําตาลทราย เชน น้ําออย น้ําออยขน ซึ่งโดยทั่วไปการทดสอบ
ตางๆ จะดําเนินการโดยหองปฏิบัติการภายในโรงงานน้ําตาลทราย จึงไดมีการลง
นามในบันทึกความรวมมือของหนวยงานที่เกี่ยวของไดแก สํานักงานคณะกรรมการ
อ อ ยและน้ํ า ตาลทราย สถาบั น มาตรวิ ท ยาแห ง ชาติ กรมวิ ท ยาศาสตร บ ริ ก าร
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน)
ซึ่ ง หน ว ยงานเหล า นี้ ไ ด เ ล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ ของการพั ฒ นาระบบคุ ณ ภาพของ
ห อ งปฏิ บั ติ ก ารด า นการวิ เ คราะห อ อ ยและน้ํ า ตาล เพื่ อ ให ก ารทดสอบของ
หอ งปฏิบัติก ารมีความถู กตอ งแมนยํ า ไดม าตรฐาน มีค วามน าเชื่อ ถื อและเปน ที่
ยอมรับในระดับสากล ทั้งนี้เพื่อลดปญหาความขัดแยงและเพิ่มขีดความสามารถใน
การแข งขั นในเวทีก ารค าระดั บ สากล โดยมี เปา หมายใหทุ กหอ งปฏิบั ติก ารของ
โรงงานน้ําตาลทรายไดรับการรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ (ISO/IEC
17025:2005) โดยมีการริเริ่มใหหองปฏิบัติการตางๆ ใชวัสดุอางอิงรับรอง เชน
Quartz control plates, Glass fiters, pH buffers, Standard sucrose solutions ในการ
                                                                                    17
สอบเทียบเครื่องมือวิเคราะหตางๆที่เกี่ยวของเชน Polarimeter, Spectrophotometer, pH
meter, Refractometer รวมทั้งการเขารวมโครงการทดสอบความชํานาญ เพื่อให
มั่นใจวาหองปฏิบัติการของโรงงานน้ําตาลทรายจะมีความสามารถในการวิเคราะห
ทดสอบ และผลการวิเคราะหทดสอบมีความถูกตอง

                การดําเนินงานของหองปฏิบัติการของโรงงานผลิตน้ําตาลทรายที่ตองการ
การรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการตามระบบมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005
กํ า หนดให ต อ งมี ก ารสอบเที ย บเครื่ อ งมื อ และเครื่ อ งทดสอบทั้ ง หมดที่ มี ผ ลต อ
คุณภาพของผลิตภัณฑตามชวงเวลาที่กําหนดหรือกอนใชงาน ดังนั้นโรงงานน้ําตาลทราย
ควรขอการรั บ รองระบบคุ ณ ภาพห อ งปฏิ บั ติ ก ารตามระบบมาตรฐาน ISO/IEC
17025:2005 เพื่อเปนการแสดงผลการวัดที่เชื่อถือได และเกิดความมั่นใจในคุณภาพ
การผลิตและคุณภาพของผลิตภัณฑน้ําตาลทรายนั้นไดมาตรฐานตามที่กําหนด โดย
ผลิตภัณฑท่ีไดในแตละกระบวนการขางตน เชน น้ําออยใส น้ําเชื่อม และน้ําตาลดิบ
ตองมีการทดสอบเพื่อหาคาความหวาน ซึ่งตองใชการวัดคา Pol หรือ Polarization
และคา brix ดวยเครื่อง Polarimeter และ Refractometer ในการสอบเทียบเครื่องมือ
ดังกลาว ตองอาศัยวัสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิงที่ไดมาตรฐานและสามารถสอบกลับ
ค า ที่ ไ ด ไ ปยั ง หน ว ยการวั ด พื้ น ฐาน ดั ง นั้ น มาตรวิ ท ยาเคมี จึ ง เข า มามี บ ทบาทต อ
อุตสาหกรรมการผลิตน้ําตาลในการวัดความหวาน กอนหนานี้โรงงานน้ําตาลทราย
มี ก ารเตรี ย มน้ํ า เชื่ อ มมาตรฐานขึ้ น ใช เ องในห อ งปฏิ บั ติ ก าร เพื่ อ ใช ส อบเที ย บ
เครื่ อ งมื อ ซึ่ ง การสอบเที ย บโดยใช ส ารละลายน้ํ า ตาลที่ เ ตรี ย มขึ้ น เองนี้ ทํ า ให
หองปฏิบัติการและลูกคาเกิดความไมมั่นใจในความถูกตองในการวัด นอกจากนี้
ความไมแนนอนในการวัดความหวานยังสงผลตอคาใชจายและเพิ่มเวลา โดยเฉพาะ
ในกระบวนการตกผลึกน้ําตาล เพราะน้ําออยที่มีความหวานมากจะใชเวลาในการตก
ผลึกนอยกวาน้ําออยที่มีความหวานนอย



18
นอกจากนี้ยังมีหนวยงานระดับนานาชาติ ชื่อ International Commission
for Uniform Methods of Sugar Analysis: ICUMSA) ที่ทําหนาที่กําหนดวิธีวิเคราะห
ผลิตภัณฑน้ําตาล ซึ่งวิธีวิเคราะหนั้นไดรับการยอมรับจาก Codex Alimentarius
Commission, OIML, EU, และ US Food Chemicals Codex โดยทั่วไปน้ําตาลที่ผลิต
ในประเทศไทยจะถูกแบงเกรดตามคาสีที่กําหนดโดยคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย
(กอน.) ตามวิธีวิเคราะหของ ICUMSA Methods (รายละเอียดดังตารางที่ 6)

ตารางที่ 6 เกณฑกําหนดคาสีของผลิตภัณฑน้ําตาลชนิดตางๆ และวิธีวิเคราะห
                              เกณฑ        วิธีการวิเคราะหคาสี    คาสีที่
                           กําหนดคาสี ที่ สอน. ใชตามวิธี กําหนดตาม
   ผลิตภัณฑน้ําตาล
                           ตามที่ กอน.         วิเคราะหของ       ICUMSA
                           กําหนด (IU) ICUMSA Methods Methods (IU)
น้ําตาลขาวบริสุทธิ์               0-45           GS2/3-10 (2005)         ไมเกิน 50
น้ําตาลขาว เกรด 1               46-200            GS2/3-9 (2005)         ไมเกิน 600
น้ําตาลขาว เกรด 2               201-400           GS2/3-9 (2005)         ไมเกิน 600
น้ําตาลขาว เกรด 3               401-1000          GS1/3-7 (2002)         250 ขึ้นไป
น้ําตาลดิบ                     1001 ขึ้นไป        GS1/3-7 (2002)         250 ขึ้นไป
น้ําตาลแดง                     8000 ขึ้นไป        GS1/3-7 (2002)         250 ขึ้นไป
ที่มา :   สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย ศอภ. 1
          กอน. หมายถึง คณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย
                        (Cane and Sugar Board, Thailand)
          สอน. หมายถึง สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย
                        (Office of the Cane and Sugar Board)
          ศอภ. หมายถึง ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย ภาคที่ 1
                        (Cane and Sugar Industrial Promotion Center of Region 1)

                                                                                      19
4. ปญหาและอุปสรรคของการผลิตน้ําตาลทราย
           4.1 ควรมี ก ารพิ จ ารณาคั ด เลื อ กพั นธุ อ อ ย อายุ ก ารเก็ บ เกี่ ย ว และพื้ น ที่
เพาะปลูกที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพผลผลิต
           4.2 ผูผลิตขาดความตระหนักในการผลิตใหเกิดประสิทธิภาพในการแขงขัน
เนื่องจากมีผูประกอบการนอยรายทั้งในและตางประเทศ
           4.3 กระบวนการผลิตไมไดใหความสําคัญกับความถูกตองในการแบง
เกรดคุณภาพผลิตภัณฑปลายทาง (น้ําตาล)
           4.4 กระบวนการผลิตไมได ใหความสําคัญ กับมาตรฐานการวัด ความ
นาเชื่อถือของเครื่องมือวัด ซึ่งเปนปจจัยหนึ่งที่สงผลตอคุณภาพผลิตภัณฑ
           4.5 ขาดมาตรฐานการวัดที่เชื่อถือได อาทิ วัสดุอางอิงในการวัดความหวาน

5. หวงโซมลคาออยและน้ําตาลทราย
             ู
         ปญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายสามารถพิจารณาตั้งแต
ขั้นตอนเริ่มตนที่เกษตรกรคัดเลือกพันธุและพื้นที่เพาะปลูก จนกระทั่งไดผลผลิตที่
จะสงเขาสูโรงงานน้ําตาลทราย กระบวนการผลิตในโรงงานน้ําตาลทรายจนกระทั่ง
ไดเปนผลิตภัณฑที่จะสงจําหนาย ดังแสดงในหวงโซคุณคา (แผนภาพที่ 1) การเพิ่ม
ผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดตนทุน (แผนภาพที่ 2) และการแปรรูปและสรางคุณคา
(แผนภาพที่ 3)




20
Pre-Harvest            Post-Harvest                    Manufac.                             Trade
                 การเพิมผลผลิต
                       ่                                        การแปรรูป                     การพัฒนา
                 พัฒนาคุณภาพ                                   เพิมและสราง
                                                                  ่                             ระบบ
                  และลดตนทุน                                       คุณคา                    การตลาด
                                                                                          การเพิ่ม
                               การตรวจสอบ         การตรวจสอบ                    การ                     ศูนย
     การจัดการ    การจัดการ                                                               ขีดความ
                               มาตรฐาน             มาตรฐาน         การ       พัฒนา                    กระจาย
        ดาน      ดานการนํา                                                              สามารถ
                                เพื่อการ            เพื่อการ      แปรรูป    คุณภาพ                   สินคาและ
      การปลูก     สงผลผลิต                                                                ในการ
                                จําหนาย            ซื้อขาย                เพื่อสงออก               โลจิสติกส
                                                                                          แขงขัน


                          โครงสรางพื้นฐาน สารสนเทศ การวิจัยและพัฒนา

                                                          การสรางจิตสํานึก               การขับเคลื่อน
            การสงเสริมการรวมกลุมและ                   ความเปนผูประกอบการ             โดยใชการตลาด
       เพิ่มความเขมแข็งเกษตรกร/สถาบัน                     และการเขมงวด
                                                                                               นํา
                                                          คุณภาพมาตรฐาน

           นโยบาย การกํากับและสนับสนุน จากหนวยงานภาครัฐทีสอดคลองกัน
                                                          ่

แผนภาพที่ 1 หวงโซมูลคาออยและน้ําตาลทราย

  การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพ
           และลดตนทุน


                               • พื้นที่การปลูก
                               • คุณภาพพันธุออย
     การจัดการ
                               • คุณภาพดินและจัดสรรน้ํา
    ดานการปลูก



                               • ระยะเวลาการตัดตนออย
    การจัดการ                  • เทคนิคการตัดตนออยเพื่อเพิ่มคุณภาพ
    ดานการนํา                 • ระยะเวลาการขนสง
    สงผลผลิต


   การตรวจสอบ                  • จัดตั้งสหกรณผูผลิตออยเพื่อเพิ่มอํานาจการตอรองในการซื้อขาย

   มาตรฐานเพื่อ                • ความสามารถในการตรวจวัดคุณภาพความหวานจากน้ําออยโดยกลุมสหกรณน้ําต าล

   การจําหนาย



แผนภาพที่ 2 รายละเอียดการเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดตนทุน
                                                                                                                  21
การแปรรูปและสรางคุณคา


                                                     การสงเสริมมาตรฐานการวัดเพือ
                                                                                ่
                                               สรางการยอมรับของผลการวัดในการซื้อขาย
                            • การชังน้ําหนัก
                                   ่            --------------------------   ความถูกตองของเครื่องชัง
                                                                                                    ่
      การตรวจสอบ
                            • การวัดคุณภาพออย
      มาตรฐานเพื่อ
       การซื้อขาย            ความหวาน           -------   ความถูกตองของ Reference Materials (RMs)

                                    การสงเสริมมาตรฐานการวัดเพือเพิมประสิทธิภาพการผลิต
                                                               ่   ่
                                                       (ลดตนทุน)
                            ความถูกตองของเครื่องมือวัด อาทิ อุณหภูมิหมอตม, แรงบดตนออย,วัสดุอางอิง ฯลฯ
       การเพิ่ม
     ประสิทธิภาพ                      การสงเสริมความรู ความเขาใจที่ถูกตองในระบบการวัด
      ในกระบวน                • สรางความเขาใจในเรื่องคาความผิดพลาดของเครื่องมือวัดตอคุณภาพผลิตภัณฑ
      การแปรรูป                 และ ตนทุนการผลิต



                                       การสงเสริมผลิตภัณฑน้ําตาลใหเปนไปตามขอกําหนด
      การพัฒนา                                           มาตรฐานสากล
     คุณภาพเพื่อ            • สรางระบบการตรวจสอบผลิตภัณฑใหเปนไปตามมาตรฐาน
     การสงออก


แผนภาพที่ 3 รายละเอียดการแปรรูปและสรางคุณคา


6. ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพออย
           6.1 พันธุและอายุการเก็บเกี่ยว
              การศึกษาออย 5 พันธุคือ SC1, SC2, SC3, SC4 และ SC5 ที่มีอายุ 10
11 และ 12 เดือน พบวาพันธุ SC1 SC3 และ SC5 มีปริมาณซูโครสเพิ่มขึ้นในเดือนที่ 11
และลดลงในเดือนที่ 12 ในขณะที่พันธุ SC2 และ SC4 มีปริมาณซูโครสเพิ่มขึ้นอยาง
ตอเนื่องจนถึงเดือนที่ 12 ออยทั้ง 5 พันธุมีปริมาณแปงเพิ่มขึ้นในเดือนที่ 11 แลว
ลดลงในเดื อ นที่ 12 สํ า หรั บ เส น ใยทุ ก พั น ธุ ย กเว น SC5 มี ป ริ ม าณเพิ่ ม ขึ้ น อย า ง
ตอเนื่องจนถึงเดือนที่ 12 การเก็บเกี่ยวออยสดและออยเผา พบวาออยเผามีปริมาณ
ซูโครสและ เสนใยสูงกวาออยสด แตมีปริมาณแปงต่ํากวา (4) อยางไรก็ตามการเผา
ออยอาจสงผลเสียมากกวาผลดี กลาวคือ เปนการทําลายระบบนิเวศนในแปลงออย
ทําลายสารอาหารและโครงสรางดิน ทําใหน้ําหนักและความหวานออยลดลงอยาง

22
รวดเร็ว อีกทั้งทําใหน้ําออยที่หีบไดมีความสกปรก สูญเสียคาใชจายในการทําความ
สะอาด ใชเวลาและพลังงานเพิ่มขึ้นในการเคี่ยวเปนน้ําตาล คาจางในการตัดออย
ปจจุบัน (49/50) คิดราคาดังนี้ ออยไฟไหม 100 มัด (มัดละ 13-15 ลํา) ราคา 100 บาท
ออยสด 100 มัด (มัดละ 13-15 ลํา) ราคา 120 บาท จะเห็นไดวาการตัดออยสดมีราคา
สูงกวาออยไฟไหม 20 บาท แตการเก็บเกี่ยวออยไฟไหม ใชเวลานอยกวาในการเก็บ
เกี่ยวออยสดประมาณรอยละ 50 โดยเฉลี่ยแรงงาน 1 คน จะตัดออยสดได 150 - 200 มัด/วัน
นั่นก็คือแรงงานจะมีรายไดวันละ 180 - 240 บาท แตถาตัดออยไฟไหม แรงงานจะ
ตัดได 225 - 300 มัด จะไดเงิน 225 - 300 บาท/วัน


          6.2 พื้นที่เพาะปลูกและธาตุอาหารมีผลตอคุณภาพของออย
                 ปจ จั ย ต า งๆ ที่ มี ผ ลต อ การเจริ ญ เติ บ โตของออ ยได แ ก ไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เหล็ก สังกะสี และ pH ในการวิเคราะหหาไนโตรเจนใน
ดินจะใชวิธี Kjedahl method ปริมาณฟอสฟอรัสวิเคราะหโดยใชนํ้ายาสกัดของ
Bray II และวัดดวย Spectrophotometer สวนโพแทสเซียม เหล็กและสังกะสี
วิเคราะหโดยใช Atomic Absorption Spectrophotometer ปริมาณธาตุไนโตรเจนใน
ดินที่เหมาะสมควรมีมากกวา 1.75% (กรมพัฒนาที่ดิน 2530) สําหรับธาตุฟอสฟอรัส
ซึ่งมีความสําคัญตอการเจริญเติบโตในระยะแรก ฟอสฟอรัสจะกระตุนใหรากพืช
เจริญเติบโตอยางรวดเร็ว ปริมาณฟอสฟอรัสในดินที่นับวาเพียงพอตอการเจริญเติบโต
ของพืชคือมีมากกวา 25 (ppm) หรือรอยละ 0.025 (กรมพัฒนาที่ดิน 2530) ปริมาณ
ธาตุโพแทสเซียมควรมีมากกวา 100-400 ppm จึงจะเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืช
ถาตนออยขาดธาตุอาหารชนิดนี้จะทําใหลําตนแคระแกรน ลําเล็กและมีปริมาณ
น้ํ า ตาลต่ํ า (นภดล เรี ย บเลิ ศ หิ รั ญ 2538) ธาตุ เ หล็ ก เป น สารหลั ก ในโครงสร า ง
คลอโรฟลล ซึ่งจําเปนตอการสังเคราะหแสงของพืช ธาตุเหล็กในดินควรมีปริมาณ
มากกวา 800 ppm เพื่อไมใหพืชเกิดโรคใบดาง ธาตุที่จําเปนอีกธาตุหนึ่งแตพืช
ตองการเพียงเล็กนอย (นอยกวา 1 ppm, นภดล เรียบเลิศหิรัญ 2540) คือ สังกะสี
                                                                                         23
ซึ่งปริมาณสังกะสีในดินไมควรเกิน 100 ppm พืชจําเปนตองใชสังกะสีเพื่อการ
สังเคราะหฮอรโมนออกซินที่ปลายยอด ใบออนและตาออน การขาดสังกะสีจะทํา
ใหพืชมีลําตนเตี้ย ใบเล็ก ปจจัยที่ควบคุมการละลายของธาตุอาหารในดินที่ใชปลูก
พืชคือคาความเปนกรด-ดางของดิน จากการศึกษาพบวาคาความเปนกรด-ดางที่
เหมาะสมตอการปลูกออยคือชวง 5.30-6.50 (นภดล เรียบเลิศหิรัญ 2540) การวิเคราะห
ธาตุตางๆ รวมทั้งคาความเปนกรด-ดางของดินที่ใชเพาะปลูกนั้น ใชเทคนิคแตกตางกัน
อยางไรก็ตามเพื่อใหการวิเคราะหมีความถูกตอง เครื่องมือตางๆ ที่ใชในการวิเคราะห
ตองผานการสอบเทียบ

7. การกําหนดราคาซื้อขายออย
          การซื้อขายออยที่นิยมใชในประเทศไทยมี 2 ระบบ คือ การซื้อขายตาม
น้ําหนักและการซื้อขายตามคุณภาพ หรือซีซีเอส (CCS = Commercial Cane Sugar)
ปญหาของการซื้อขายตามน้ําหนักคือออยที่มีคุณภาพตางกันจะซื้อขายดวยราคา
เดียวกัน สวนการซื้อขายตามคุณภาพหรือตามคา CCS นั้น (คา CCS หมายถึง
ปริมาณรอยละของน้ําตาลพาณิชยที่คิดไดจากออยเชน CCS 10 หมายถึง น้ําหนัก
ออย 1 ตันสามารถผลิตน้ําตาลพาณิชยได 100 กิโลกรัม เมื่อโรงงานมีประสิทธิภาพ
100%) อยางไรก็ตามการวัดคา CCS ไมสามารถวัดไดโดยตรง แตจะไดจากสูตร
คํานวณจากผลการวิเคราะหของหองปฏิบัติการดังนี้

         CCS             =           Pol ในออย = (impurity/2)
         Pol ในออย      =           Pol ในน้ําออย + [100-(Fiber+5)/100]
         Impurity ในออย =           Brix ในออย-Pol ในออย




24
โดยที่ Pol           =        ค า ร อ ยละโดยน้ํ า หนั ก โดยประมาณค า ใกล เ คี ย งของ
                              น้ําตาลซูโครสหรือเปน % โพลาไรเซชันของน้ําออยที่
                              หีบดวยลูกหีบชุดแรกที่วัดดวยเครื่อง Polarimeter
           Brix      =        คารอยละโดยน้ําหนักของของแข็งที่ละลายน้ําไดที่มีอยู
                              ในน้ําออย (ซึ่งหมายถึงน้ําตาลและสิ่งเจือปนหรือเปน %
                              บริ ก ซ ข องน้ํ า อ อ ยจากลู ก หี บ ชุ ด แรกซึ่ ง วั ด จากเครื่ อ ง
                              Refractometer)
           Fiber     =        คารอยละโดยน้ําหนักของชานออยที่สกัดเอาของแข็งที่
                              ละลายน้ําออกหมดแลว


            การกําหนดราคาตามคาซีซีเอส จะยึดหลักปฏิบัติวา ออยที่มีซีซีเอส จะได
ราคาเทากับราคาที่ซื้อขายตามน้ําหนัก แตละหนวยของซีซีเอสที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง
จะสงผลตอการเพิ่มลดราคาออยตอตัน เชน ถาออยของเกษตรกรมีคาซีซีเอสเพิ่มขึ้น
1 หนวย เกษตรกรจะไดราคาออยเพิ่มขึ้นตันละ 50-60 บาท ในขณะที่โรงงานจะได
น้ําตาลเพิ่ม ขึ้นถึง 10 กิโลกรัม ต อ 1 หนวยซีซีเ อส ซึ่งไมเปน ธรรมตอ เกษตรกร
เพราะราคาน้ําตาล 10 กิโลกรัมยอมมีคามากกวา 60 บาท ยิ่งไปกวานั้นการวิเคราะห
คา Polarization, Brix และ Fiber ของหองปฏิบัติการตองมีความถูกตองแมนยําและ
นาเชื่อถือ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมตอทั้งสองฝาย และการมีผลการวัดที่ถูกตองจะ
สงผลใหโรงงานน้ําตาลสามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตใหดีขึ้น ทั้งยังชวยลด
ปริ ม าณกากน้ํ า ตาลให นอ ยลง รวมถึ ง ใช เ ปน ขอ มู ล ในการประเมิ นคุ ณ ภาพของ
ผลิตภัณฑไดโดยพิจารณาจากคุณภาพของวัตถุดิบ โดยทั่วไปอายุของออยจะมีผลตอ
คา Fiber กลาวคือออยที่อายุมากมีคา Fiber เพิ่มขึ้นทําใหน้ําออยที่หีบไดนอยลงเมื่อ
เทีย บกับ อ อ ยที่ มีอ ายุนอ ยกวา และเมื่ อ ออ ยมีค วามหวานมากกวา จะผลิตน้ํ า ตาล
ได ม ากขึ้ น นั บ ตั้ ง แต ป ก ารผลิ ต พ.ศ.2535/2536 ที่ เ ปลี่ ย นระบบการรั บ ซื้ อ อ อ ย
จากระบบน้ําหนักมาเปนระบบการวัดความหวานสงผลใหเกษตรกรตองปรับตัวเพื่อ
                                                                                               25
เพิ่ม คุณ ภาพออ ย โดยการเปลี่ย นพัน ธุออ ย เปลี่ย นแปลงวิธีก ารเพาะปลูก และ
การบํารุงรักษา หรือโดยการตัดออยในชวงที่มีความหวานมากที่สุด


                 Measuring Instruments
                                    Weight              Force
                                                                     Length




 Temperature



                                                                   Chemical
                                                                RMs : Sugar, CO2
                                                                  Reagent :
                                                                  Phosphate




แผนภาพที่ 4 มาตรวิทยาสาขาตางๆ ที่เกี่ยวของในกระบวนการผลิตน้ําตาล


โดยเฉลี่ยในการหีบออย 1 ตัน จะไดสวนประกอบหลักตางๆ ดังนี้
     1. น้ําตาล 105-110 กิโลกรัม
     2. น้ํา 500-510 กิโลกรัม
     3. กากออย (ความชื้นรอยละ 50-52) 270-290 กิโลกรัม
     4. กากตะกอนหมอกรอง (ความชื้นรอยละ 70-72) 28-40 กิโลกรัม
     5. กากน้ําตาล 50-60 กิโลกรัม




26
8. วัตถุประสงคการวิจย ั
         8.1 เพื่อศึกษาการลดมูลคาของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขาย
ออย จากการใชระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีความถูกตองมากขึ้นตามมาตรฐานสากล
         8.2 เพื่ อ เปรี ย บเที ย บต น ทุ น การซื้ อ วั ส ดุ อ า งอิ ง รั บ รอง/วั ส ดุ อ า งอิ ง
(CRMs/RMs) ที่ใชสอบเทียบเครื่องมือวัดคา Brix ระหวางโรงงานที่ซ้ือจากใน
ประเทศและจากตางประเทศ
         8.3 เพื่อศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจของระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีตอ
อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย

9. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
         ผลการศึ ก ษาจะทํ า ให ท ราบถึ ง ผลกระทบของมาตรวิ ท ยาที่ มี ต อ
อุตสาหกรรมน้ําตาลทราย เพื่อจะนําไปสูการพัฒนาใหมีการใชระบบมาตรวิทยา
อยางกวางขวางในอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย เพื่อใหผลิตภัณฑที่ไดมีคุณภาพเปนที่
ยอมรับของผูบริโภคและประเทศคูคา




                                                                                                27
28
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การชั้งการตวง
การชั้งการตวงการชั้งการตวง
การชั้งการตวง
Oopip' Orranicha
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
Nattakorn Sunkdon
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
supap6259
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
Nattakorn Sunkdon
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
Kittiya GenEnjoy
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
Sivagon Soontong
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
Petsa Petsa
 

Mais procurados (20)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
การชั้งการตวง
การชั้งการตวงการชั้งการตวง
การชั้งการตวง
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้ ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
ศึกษากลยุทธ์การดำเนินธุรกิจร้านดอกไม้
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
5 (1)
5 (1)5 (1)
5 (1)
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
Jigsaw
JigsawJigsaw
Jigsaw
 
แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา (5).pdf
แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา (5).pdfแบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา (5).pdf
แบบฝึกทักษะ โจทย์ปัญหาการบวกเกี่ยวกับเวลาและระยะเวลา (5).pdf
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 

Semelhante a ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย

อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชนแบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
84village
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
Nirut Uthatip
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timss
Biobiome
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
kunkrooyim
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
Naughtily NaRee
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
Nirut Uthatip
 
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
Nirut Uthatip
 
ใบงานประวัติ
ใบงานประวัติใบงานประวัติ
ใบงานประวัติ
poomarin
 

Semelhante a ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย (20)

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
Gmo in-usa
Gmo in-usaGmo in-usa
Gmo in-usa
 
สตรอว์เบอร์รี
สตรอว์เบอร์รีสตรอว์เบอร์รี
สตรอว์เบอร์รี
 
4สารบัญ
4สารบัญ4สารบัญ
4สารบัญ
 
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
7 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (ณัฐวัตน์)
 
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชนแบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
แบบรายงานผลการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิต ของหมู่บ้าน ชุมชน
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
Scireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timssScireleaseditem pisa-timss
Scireleaseditem pisa-timss
 
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSSตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ PISA และ TIMSS
 
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
12.ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa และ timss
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
5 หมู
5 หมู5 หมู
5 หมู
 
Organic agriculture
Organic agricultureOrganic agriculture
Organic agriculture
 
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
14 ตัวอย่างการประเมินผลนานาชาติ คณิตศาสตร์
 
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
 
วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34วารสารยางพาราฉบับที่ 4  ปีที่ 34
วารสารยางพาราฉบับที่ 4 ปีที่ 34
 
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
3 ผลงานภารกิจปลดทุกข์ลุงสำราญ (กลุ่มจิรวงศ์)
 
ใบงานประวัติ
ใบงานประวัติใบงานประวัติ
ใบงานประวัติ
 

Mais de NIMT

นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
NIMT
 
NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRM
NIMT
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their Suitability
NIMT
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
NIMT
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
NIMT
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
NIMT
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
NIMT
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
NIMT
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
NIMT
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
NIMT
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
NIMT
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
NIMT
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
NIMT
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
NIMT
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
NIMT
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
NIMT
 

Mais de NIMT (20)

Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
 
NIMT TRM
NIMT TRMNIMT TRM
NIMT TRM
 
Training Course NIMT
Training Course NIMTTraining Course NIMT
Training Course NIMT
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their Suitability
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
 

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย

  • 1.
  • 2.
  • 3. คํานํา อุ ต สาหกรรมน้ํ า ตาลทรายเป น อุ ต สาหกรรมที่ มี มู ล ค า การส ง ออกเป น อันดับตนๆ ของประเทศไทย ทิศทางความตองการน้ําตาลของตลาดโลกเพื่อการ บริโภค และความตองการออยเพื่อเปนพลังงานทดแทนที่เพิ่มมากขึ้น สงผลให น้ํ า ตาลทรายมี ร าคาเพิ่ ม ขึ้ น ด ว ยเช น เดี ย วกั น อย า งไรก็ ดี ก ารพั ฒ นาปรั บ ปรุ ง กระบวนการผลิตน้ําตาลทรายใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ยังเปนสิ่งที่สําคัญและ จําเปนในการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันกับประเทศคูแขงขันทางการคา การพัฒนาดังกลาวตองรวมถึงระบบการทดสอบและวิเคราะหถึงคุณภาพออยและ น้ําตาลทราย ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่สงผลตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายโดยตรง สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติไดตระหนักถึงความสําคัญของอุตสาหกรรม ออยและน้ําตาลทรายของประเทศ จึงไดดําเนินการจัดทําโครงการวิจัยผลกระทบ ทางเศรษฐกิจจากมาตรวิทยาเคมีตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย โดยมี วัตถุประสงคเพื่อศึกษาการลดมูลคาของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขาย ออย จากการใชระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีความถูกตองมากขึ้นตามมาตรฐานสากล และเพื่อเปรียบเทียบตนทุนการซื้อวัสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ที่ ใชสอบเทียบเครื่องมือวัดคา % Brix ระหวางโรงงานที่ซื้อจากในประเทศ และจาก ตางประเทศ และศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจของระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีตอ อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย โดยสถาบันฯ เล็งเห็นวาผลจากการศึกษาคนควาตามโครงการดังกลาวจะ กอใหเกิดประโยชนตอผูที่เกี่ยวของทุกฝายในประเด็นที่ทําใหทราบถึงผลกระทบ ของมาตรวิทยาเคมีที่มีผลตออุตสาหกรรมน้ําตาลทราย อันจะนําไปสูการพัฒนาใหมี การใชระบบมาตรวิทยาในอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายอยางกวางขวางมากขึ้น เพื่อให ผลิตภัณฑน้ําตาลทรายของประเทศไทยมีคุณภาพตามมาตรฐานสากลและเปนที่ ยอมรับของประเทศคูคาและนานาประเทศ 1
  • 4. บทสรุป ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย อุ ต สาหกรรมน้ํ า ตาลทรายเป น อุ ต สาหกรรมที่ มี มู ล ค า การส ง ออกเป น อันดับตนๆ ของประเทศไทย ดุลน้ําตาลของโลกในปการผลิต พ.ศ.2551/52 มีปริมาณ การผลิตน้ําตาลจํานวน 156.63 ลานตัน สวนปริมาณการบริโภคน้ําตาลของโลกใน ปการผลิต พ.ศ.2551/52 มีจํานวน 164.41 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปการผลิต พ.ศ.2550/51 จํานวน 3.77 ลานตัน (คิดเปนรอยละ 1.91) สงผลใหน้ําตาลทรายมีราคาเพิ่มขึ้นดวย เชนเดียวกัน ปริมาณผลผลิตออยฤดูการผลิตป พ.ศ. 2551/52 มีปริมาณออยเขาหีบ 66.46 ลานตัน ออยสามารถผลิตน้ําตาลได 7.19 ลานตัน แบงเปนน้ําตาลทรายดิบ 3.91 ลานตัน และน้ําตาลทรายขาว 3.28 ลานตัน สงผลใหทิศทางราคาออยของ เกษตรกรชาวไรออยทั่วประเทศที่มีประมาณ 1 ลานคน อยูในเกณฑดี น้ําตาลที่ผลิต ไดนอกจากจะใชบริโภคภายในประเทศแลว ยังสามารถสงออกไปยังตางประเทศนํา รายไดเขาประเทศเปนจํานวนมาก โดยในป พ.ศ.2552 (มกราคม -ตุลาคม 2552) ประเทศไทยมีรายไดจากการสงออกน้ําตาลทรายดิบ และน้ําตาลทรายรวมกันเปน มูลคาถึง 51,770.30 ลานบาท อยางไรก็ดีการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการผลิตออยและน้ําตาลทรายใหมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ยังเปนสิ่งที่สําคัญและจําเปนในการเพิ่มขีดความสามารถใน การแขงขันกับประเทศคูแขงขันทางการคา การพัฒนาดังกลาวตองรวมถึงระบบการ ทดสอบและวิเคราะหถึงคุณภาพออยและน้ําตาลทราย สถาบันมาตรวิทยาแหงชาติ ตระหนักถึงความสําคัญของอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายของประเทศจึงไดดําเนินการ จัดทําโครงการวิจัยผลกระทบเชิงเศรษฐกิจของมาตรวิทยาเคมีตออุตสาหกรรม น้ําตาลทรายในประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการลดมูลคาของความ ไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขายออย จากการใชระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีความ 2
  • 5. ถู ก ต อ งมากขึ้ น ตามมาตรฐานสากล เพื่ อ เปรี ย บเที ย บต น ทุ น การซื้ อ วั ส ดุ อ า งอิ ง รับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ที่ใชสอบเทียบเครื่องมือวัดคา % Brix ระหวาง โรงงานน้ําตาลทรายที่ซื้อจากตางประเทศและในประเทศ และศึกษาผลกระทบทาง เศรษฐกิจของระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย จากผลการสํารวจพบวา โรงงานน้ําตาลทรายสวนใหญเขารวมโปรแกรม ทดสอบความชํานาญคิดเปนรอยละ 96.30 และมีการใชวัสดุอางอิงรับรองในการ ควบคุมคุณภาพคิดเปนรอยละ 55.56 โดยโรงงานน้ําตาลทรายรอยละ 85.19 ไมมี นโยบายระบบจัดการคุณภาพ และมีโรงงานน้ําตาลทรายเพียงรอยละ 11.11 ที่ไดรับ การรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ISO/IEC 17025:2005 นั่นแสดงใหเห็นวา โรงงานยั ง ไม ต ระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการได รั บ การรั บ รองระบบคุ ณ ภาพ หองปฏิบัติการ ISO/IEC 17025:2005 ในงานวิจัยฉบับนี้ไดทําการศึกษาสมมติฐานการวิจัยทั้งสิ้น 2 สมมติฐาน ดังนี้ สมมติฐานการวิจัยที่ 1 ระบบมาตรวิทยาเคมีดานการวัดความหวานที่มีขีด ความสามารถในการวัดไดถูกตองมากขึ้นตามมาตรฐานสากล สงผลกระทบอยางมี นัยสําคัญตอมูลคาของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขายออย และสมมติฐาน การวิจัยที่ 2 โรงงานน้ําตาลทรายที่ใชวัสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) สําหรับใชในการสอบเทียบเครื่องมือวัดคา Brix ที่ผลิตในประเทศไทย จะสามารถ ลดตนทุนการซื้อวัดสุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ไดมากกวาเมื่อเทียบ กับโรงงานน้ําตาลทรายที่ใชวัดสุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ที่นําเขา จากตางประเทศ ผลการแทนคาสมการของสมมติฐานการวิจัยที่ 1 จาก พ.ศ.2550 ถึง 2553 มีขอสรุปตรงกันวาการใชเครื่องมือวัดความหวานที่มีความถูกตองตางกัน 10 เทา จะ ทําใหท ราบมูลคาของความไดเ ปรีย บ/เสียเปรียบในการซื้อขายออย และการใช เครื่องมือวัดความหวานที่มีความถูกตองมากขึ้นตามมาตรฐานสากลจะชวยลดมูลคา ความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขายออยของเกษตรกรและโรงงานน้ําตาลทราย 3
  • 6. ไดอยางชัดเจน ตัวอยางเชน จากขอมูลการซื้อขายออยในป พ.ศ.2553 พบวามูลคา ของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการชื้อขายออยที่เกิดจากการใชเครื่องมือวัดความหวาน ที่มีความถูกตองสองตําแหนง (วัดไดละเอียดถึง 0.01) เปรียบเทียบกับเครื่องมือที่มี ความถูกตองหนึ่งตําแหนง (วัดไดละเอียดถึง 0.1) มีมูลคาสูงถึง 90 ลานบาท และ มูลคาของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการชื้อขายออยที่เกิดจากการใชเครื่องมือวัด ความหวานที่มีความถูกตองสามตําแหนง (วัดไดละเอียดถึง 0.001) เปรียบเทียบกับ เครื่องมือที่มีความถูกตองสองตําแหนง จะมีมูลคาเพียง 7 ลานบาท ผลการแทนคาสมการของสมมติฐานการวิจัยที่ 2 จาก พ.ศ.2550-2553 มีขอสรุปตรงกันวาในแตละปมูลคาในการสั่งซื้อวัสดุอางอิงรับรองจากตางประเทศ สูงกวาการซื้อวัสดุอางอิงรับรองที่ผลิตภายในประเทศ รวมเปนมูลคาการสูญเสียที่ เกิดจากการนําเขาวัสดุอางอิงรับรองจากตางประเทศถึง 373,967 บาท สงผลให ประเทศไทยประสบปญหาการสูญเสียเงินตราจากการนําเขาวัสดุอางอิงรับรองจาก ต างประเทศ ตั้งแต ป พ.ศ.2550-2553 คิด เปน มูลค า 92,510 บาท, 89,510 บาท, 116,427 บาท และ 75,520 บาท ตามลําดับ แตอยางไรก็ตามคาใชจายในการซื้อ วัสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ทั้งที่ผลิตในประเทศและตางประเทศ ยังมีปริมาณนอยเมื่อเทียบกับปริมาณน้ําตาลทรายที่ผลิตไดในแตละป มูลคาการสั่งซื้อ วั ส ดุ อ า งอิ ง รั บ รอง/วั ส ดุอ า งอิง (CRMs/RMs) ที่มี จํ า นวนน อ ยสะทอ นใหเ ห็ น ว า โรงงานน้ําตาลทรายยังไมตระหนักถึงความสําคัญของการใชวัสดุอางอิงรับรอง/ วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) ในการประกันคุณภาพการผลิตน้ําตาลทราย สอดคลอง กับผลการสํารวจที่พบวาโรงงานน้ําตาลทรายมีการใชสารละลายน้ําตาลที่เตรียมขึ้นเอง เพื่อใชประกันคุณภาพผลการวิเคราะหเบื้องตน (Daily Check) คิดเปนรอยละ 100 4
  • 7. สารบัญ  หนา คํานํา.....................................................................................................................1 บทสรุป………………………………………………………………………… 2 บทที่ 1 บทนํา................................................................................................... 11 1. ภาวะตลาดน้ําตาลโลก…………………………………………......11 2. ภาวะอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายของประเทศไทย…………………. 13 3. ความสําคัญของระบบมาตรวิทยาตออุตสาหกรรมน้ําตาลทราย…... 17 4. ปญหาและอุปสรรคของการผลิตน้ําตาลทราย..................................20 5. หวงโซมูลคาออยและน้ําตาลทราย................................................... 20 6. ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพออย............................................................. 22 7. การกําหนดราคาซื้อขายออย.............................................................24 8. วัตถุประสงคการวิจัย……………………………………………... 27 9. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ……………………………………….. 27 บทที่ 2 แนวความคิดทางทฤษฎีและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ.............................. 29 1. แนวความคิดทางทฤษฎี................................................................... 29 2. ทฤษฎีการคาระหวางประเทศ.......................................................... 32 3. วรรณกรรมที่เกี่ยวของ..................................................................... 35 บทที่ 3 ระเบียบวิธีศึกษา.................................................................................... 39 1. ระเบียบวิธีวิจัย................................................................................. 39 2. สมมติฐานการวิจัย………………………………………………... 51 3. แบบจําลองที่ใชในการศึกษา และกรอบแนวคิด………………….. 52 5
  • 8. สารบัญ  หนา บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล........................................................................... 55 1. นโยบายระบบคุณภาพของโรงงานอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย……. 55 2. การซื้อ/ขายออยของโรงงานอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย……………66 3. การใชวสดุอางอิงรับรองสําหรับการวัดความหวานและ ั ความเปนกรด-ดางของโรงงานอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย.............. 72 4. สมมติฐานการวิจัย………………………………………………... 80 บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย………………………………………………………. 93 1. สรุปผลการวิจัย................................................................................ 93 2. ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย………………………………………….. 99 3. ขอเสนอแนะเชิงบริหาร.................................................................... 99 บรรณานุกรม........................................................................................................102 ภาคผนวก............................................................................................................. 103 6
  • 9. สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 1 ดุลน้ําตาลโลก ปการผลิต 2550/51-2551/52 ...................................11 ตารางที่ 2 ราคาน้ําตาลทรายดิบตลาดนิวยอรก (เฉลี่ยรายเดือน นับแตป 2548 – 2552)............................................12 ตารางที่ 3 ราคาซื้อขายลวงหนาน้ําตาลทรายดิบนิวยอรก (วันที่ 5 ตุลาคม 2552) .....................................................................13 ตารางที่ 4 ปริมาณการผลิตออยของไทย ..........................................................14 ตารางที่ 5 ปริมาณและมูลคาการสงออกน้ําตาลดิบและน้ําตาลทราย ของไทย ป พ.ศ.2549-2552 .............................................................15 ตารางที่ 6 เกณฑกําหนดคาสีของผลิตภัณฑน้ําตาลชนิดตางๆ และ วิธวิเคราะห .....................................................................................19 ี ตารางที่ 7 โรงงานน้ําตาลทรายในประเทศไทย ...............................................39 ตารางที่ 8 กลุมตัวอยางโรงงานน้ําตาลทรายที่ทําการศึกษา .............................46 ตารางที่ 9 จํานวนและรอยละของระบบคุณภาพโรงงานน้ําตาลทราย จําแนกตามสภาพการรับรองระบบคุณภาพที่มีใน โรงงานน้ําตาลทราย ........................................................................57 ตารางที่ 10 จํานวนและรอยละความรวมมือในการเขารวมโปรแกรม ทดสอบความชํานาญ (PT) ของโรงงานน้ําตาล จําแนกตาม ความรวมมือ ....................................................................................58 ตารางที่ 11 จํานวนและรอยละของนโยบายประกันคุณภาพของผล การวิเคราะหและทดสอบผลิตภัณฑของโรงงานน้ําตาลที่ไมไดรับ การรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ISO/IEC 17025:2005 จําแนกตามวิธีการประกันความถูกตอง...........................................60 7
  • 10. สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 12 จํานวนและรอยละของกิจกรรมการเขารวมโปรแกรมทดสอบ ความชํานาญ (PT) ของโรงงานน้ําตาล จําแนกตามประเภท กิจกรรมการเขารวม ........................................................................ 62 ตารางที่ 13 จํานวนและรอยละของโรงงานน้ําตาลที่เขารวมกิจกรรมใน โปรแกรมทดสอบความชํานาญ (PT) จําแนกตามหนวยงานที่จัด โปรแกรมทดสอบความชํานาญ ประเภทกิจกรรมการเขารวม และจํานวนการเขารวม ................................................................... 64 ตารางที่ 14 ปริมาณรวม คาต่ําสุด คาสูงสุด และคาเฉลี่ยของปริมาณชื้อ/ ขายออยตอป ราคาออยที่ 10 CCS และคาความหวานของ ผลผลิตออยโดยเฉลี่ย (CCS/ป) จําแนกตามป พ.ศ. ........................ 67 ตารางที่ 15 จํานวนและรอยละการใชวสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิง ั  ในการควบคุมคุณภาพของโรงงานน้ําตาล จําแนกตาม การใชวัสดุอางอิง............................................................................ 72 ตารางที่ 16 จํานวนและรอยละโรงงานน้ําตาลที่ใชวัสดุอางอิงในการควบคุม คุณภาพ จําแนกตามประเภทวัสดุอางอิง สถานที่สั่งซื้อวัสดุอางอิง รับรอง/วัสดุอางอิง และประเภทเครื่องมือ ..................................... 74 ตารางที่ 17 มูลคาการลงทุนในการซื้อวัสดุอางอิงรับรอง /วัสดุอางอิง (CRMs/RMs) และจํานวนการใช CRMs/RMs ของ โรงงานน้ําตาลทราย จําแนกตามสถานที่สั่งซื้อวัสดุอางอิง ประเภทเครื่องมือ และป พ.ศ.......................................................... 76 ตารางที่ 18 มูลคาการลงทุนคาใชจายในการสอบเทียบเครื่องมือของโรงงาน น้ําตาลทราย จําแนกตามประเภทเครื่องมือ และป พ.ศ. ................. 79 8
  • 11. สารบัญแผนภาพ หนา แผนภาพที่ 1 หวงโซมูลคาออยและน้ําตาลทราย...............................................21 แผนภาพที่ 2 รายละเอียดการเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดตนทุน ............21 แผนภาพที่ 3 รายละเอียดการแปรรูปและสรางคุณคา .......................................22 แผนภาพที่ 4 มาตรวิทยาสาขาตางๆ ที่เกี่ยวของในกระบวนการผลิตน้ําตาล ....26 แผนภาพที่ 5 ระบบมาตรวิทยากับการเพิ่มมูลคา อธิบายมาตรวิทยา และ ผลตอขั้นตอนตางๆ ของอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย .....................31 แผนภาพที่ 6 รอยละของระบบคุณภาพโรงงานน้ําตาลทราย จําแนกตาม สภาพการรับรองระบบคุณภาพที่มีในโรงงานน้ําตาลทราย .........56 แผนภาพที่ 7 รอยละของนโยบายประกันคุณภาพของผลการวิเคราะหและ ทดสอบผลิตภัณฑ ของโรงงานน้ําตาลที่ไมไดรับการรับรอง ระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ ISO/IEC17025:2005 จําแนกตาม วิธีการประกันความถูกตอง ..........................................................60 แผนภาพที่ 8 รอยละของกิจกรรมการเขารวมโปรแกรมทดสอบ ความชํานาญ (PT) ของโรงงานน้ําตาลทราย จําแนกตาม ประเภทกิจกรรมการเขารวม ........................................................62 แผนภาพที่ 9 ผลของการเขารวมโปรแกรมทดสอบความชํานาญของโรงงาน น้ําตาลทรายเมื่อป พ.ศ 2553โดยการวัดคา % Brix ดวยเครื่อง refractometer แบบ bench-top โดยใช target measurement uncertainty ที่ 0.05% brix ปนเกณฑในการประเมิน ความสามารถของหองปฏิบัติการ ................................................70 9
  • 12. สารบัญแผนภาพ หนา แผนภาพที่ 10 ผลของการเขารวมโปรแกรมทดสอบความชํานาญของโรงงาน น้ําตาลทรายเมื่อป พ.ศ 2553โดยการวัดคา % Brix ดวยเครื่อง refractometer แบบ bench-top โดยใช target measurement uncertainty ที่ 0.01% brix เปนเกณฑในการประเมิน ความสามารถของหองปฏิบัติการ ................................................ 71 10
  • 13. บทที่ 1 บทนํา 1. ภาวะตลาดน้ําตาลโลก ดุลน้ําตาลของโลกในปการผลิต พ.ศ.2551/52 มีปริมาณการผลิตน้ําตาล จํานวน 156.63 ลานตัน ลดลงจากปการผลิต พ.ศ.2550/51 จํานวน 10.66 ลานตัน (คิดเปนรอยละ 6.37) สวนปริมาณการบริโภคน้ําตาลของโลกในปการผลิต พ.ศ.2551/52 มีจํานวน 164.41 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากปการผลิต พ.ศ.2550/51 จํานวน 3.77 ลานตัน (คิดเปนรอยละ 1.91) สาเหตุที่ปริมาณการผลิตน้ําตาลของโลกลดลงก็เนื่องจากใน หลายประเทศซึ่งเปนผูผลิตน้ําตาลรายใหญประสบกับภัยธรรมชาติ ทําใหผลผลิต น้ําตาลลดลงจึงตองนําเขาน้ําตาลมากขึ้น (รายละเอียดดังตารางที่ 1) ตารางที่ 1 ดุลน้ําตาลโลก ปการผลิต 2550/51-2551/52 ปการผลิต ปการผลิต อัตราการ เปลี่ยนแปลง ปริมาณ 2551/52 2550/51 เปลี่ยนแปลง (ตัน) (ลานตัน) (ลานตัน) (%) ปริมาณการผลิต 156.625 167.289 -10.664 -6.370 ปริมาณการบริโภค 164.412 161.335 +3.770 +1.910 เกินดุล/ขาดดุล -7.787 +5.954 - - ปริมาณนําเขา 50.258 45.864 +4.394 +9.580 ปริมาณสงออก 20.146 46.623 +3.523 +7.560 ปริมาณสต็อก 62.048 69.723 -7.675 -11.010 อัตราการใชน้ําตาลตอ 37.740 43.220 - - สต็อกน้ําตาล (%) ที่มา : จาก การประชุมคณะมนตรีองคการน้ําตาลระหวางประเทศ ณ 26 – 28 พ.ค.52 คนเมือ่ 6 พฤศจิกายน 2552,จาก http://www.konthairakkan.com/2009-10-07-17-13-17.html 11
  • 14. และการคาดการณ ผ ลผลิ ต น้ํ า ตาลโลกป ก ารผลิ ต พ.ศ.2552/53 ของ กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกาคาดวามีจํานวน 159.90 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก พ.ศ.2551/52 รอยละ 7.50 แตหากเปรียบเทียบกับความตองการเพื่อการบริโภคน้ําตาลโลก พ.ศ.2552/53 ที่มีจํานวน 159 ลานตัน เพิ่มขึ้นจากป พ.ศ.2551/52 รอยละ 1.00 แสดงใหเห็นวา ปริมาณความตองการใกลเคียงกับผลผลิต ซึ่งในภาวะที่ประเทศผูผลิตน้ําตาลรายใหญ ลวนมีปริมาณผลผลิตลดลงโดยเฉพาะอินเดียมีความจําเปนตองหันมานําเขาน้ําตาล แลวประมาณ 7 ลานตัน เนื่องจากผลกระทบของภาวะภัยแลง ขณะที่บราซิลให ความสําคัญกับการผลิตพลังงานทดแทนจากออย รวมทั้งการลดการอุดหนุนใน อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายของสหภาพยุโรป ลวนเปนปจจัยเสี่ยงตอปริมาณสต็อก น้ําตาลโลกที่ยังคงลดลงตอเนื่อง สงผลใหราคาน้ําตาลอยูในระดับที่ดีมาก คาดการณ วาราคาออยขั้นตน ในฤดูการผลิตป 2552/53 จะไมต่ํากวา 1,150 บาทตอตันออยที่มี ความหวาน(ซี.ซี.เอส) เฉลี่ย ซึ่งถือเปนระดับราคาที่สูงสุดในรอบ 28 ป นับตั้งแตฤดู การผลิตป 2525/26 (รายละเอียดดังตารางที่ 2 และ 3) ตารางที่ 2 ราคาน้าตาลทรายดิบตลาดนิวยอรก (เฉลี่ยรายเดือน นับแตป 2548 – 2552) ํ เฉลี่ย ป ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. (เซนต/ ปอนด) 2548 10.32 10.51 10.57 10.19 10.20 10.45 10.89 11.09 11.59 12.67 12.86 15.12 11.37 2549 17.39 18.93 18.00 18.25 17.88 16.18 16.61 13.60 12.46 12.08 12.38 12.46 15.52 2550 11.85 11.63 11.45 10.85 10.76 11.05 12.18 11.66 11.61 11.82 11.82 12.49 11.60 2551 13.75 15.16 14.54 13.68 12.18 13.29 14.90 15.58 14.74 13.02 12.88 12.31 13.84 2552 13.11 13.90 13.87 14.43 16.76 16.95 18.57 22.41 16.25 ที่มา : บจ.ออยและน้ําตาลไทย คนเมือ 13 พฤศจิกายน 2552, ่ จาก www.konthairakkan.com/2009-10-07-17-13-17.html 12
  • 15. ตารางที่ 3 ราคาซื้อขายลวงหนาน้ําตาลทรายดิบนิวยอรก (วันที่ 5 ตุลาคม 2552) เดือน / ป ราคาปด +/- มกราคม 2553 23.65 0.45 มีนาคา 2553 24.07 0.29 พฤษภาคม 2553 23.03 0.25 กรกฎาคม 2553 21.46 0.17 ตุลาคม 2553 20.74 0.31 มกราคม 2554 20.13 ---- มีนาคม 2554 20.15 0.29 พฤษภาคม 2554 18.75 0.28 หนวย: เซ็นต/ปอนด ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย คนเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2552, จาก www.konthairakkan.com/2009-10-07-17-13-17.html 2. ภาวะอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายของประเทศไทย อ อ ยเป น พื ชเศรษฐกิ จชนิ ด เดี ยวที่ ผู ป ลู ก ต อ งจดทะเบี ย นตาม พระราชบัญญัติออยและน้ําตาล พ.ศ. 2527 โดยมีวัตถุประสงคดังนี้ (1) เพื่อปฏิบัติ ใหเปนไปตามพระราชบัญญัติออยและน้ําตาล พ.ศ. 2527 (2) เพื่อใหมีขอมูลพื้นฐาน ที่ถูกตองในการกําหนดนโยบายควบคุมการผลิตจัดระเบียบจําหนายออยและน้ําตาล ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในแตละป (3) เพื่อรักษาระดับเสถียรภาพ ของราคาออยและน้ําตาล อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายเปนอุตสาหกรรมที่มีความสําคัญอันดับตนๆ ตอ ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย เพราะกอใหเกิดการสรางงานแกภาคการเกษตร และภาคอุตสาหกรรม และจากการคาดการณของสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 13
  • 16. กระทรวงเกษตรและสหกรณ (กษ.) คาดวาฤดูการผลิตป 2552/53 ซึ่งจะเริ่มเปดหีบออย ในเดือนพฤศจิกายน 2552 มีปริมาณออยเขาหีบประมาณ 74.19 ลานตัน ปริมาณออย เพิ่มขึ้นจากฤดูการผลิตป 2551/52 รอยละ 6.38 ตามการเพิ่มขึ้นของพื้นที่เพาะปลูก ที่มีแรงจูงใจจากราคาน้ําตาลโลกที่ปรับตัวสูงขึ้นนับแตป พ.ศ. 2551 และผลักดันให ราคาออยของเกษตรกรชาวไรออยมีทิศทางที่ดีขึ้น ขณะที่ปริมาณผลผลิตออยฤดูการผลิต พ.ศ. 2551/52 มีปริมาณออยเขาหีบ 66.46 ลานตันออย สามารถผลิตน้ําตาลได 7.19 ลานตัน แบงเปนน้ําตาลทรายดิบ 3.91 ลานตัน และน้ําตาลทรายขาว 3.28 ลานตัน อันทําใหทิศทางราคาออยของเกษตรกรชาวไรออยทั่วประเทศที่มีประมาณ 1 ลานคน อยูในเกณฑดี (รายละเอียดดังตารางที่ 4) น้ําตาลที่ผลิตไดนอกจากจะใชบริโภค ภายในประเทศแลว ยังสามารถสงออกไปยังตางประเทศนํารายไดเขาประเทศเปน จํานวนมาก โดยในป พ.ศ. 2552 (มกราคม 2552-ตุลาคม 2552) ประเทศไทยมีรายได จากการสงออกน้ําตาลทรายดิบ และน้ําตาลทรายรวมกันเปนมูลคาถึง 51,770.30 ลานบาท (รายละเอียดดังตารางที่ 5) ตารางที่ 4 ปริมาณการผลิตออยของประเทศไทย ฤดูการ ฤดูการ ฤดูการ การ อัตราการ ผลิต ผลิต ผลิต เปลี่ยนแปลง ออย เปลี่ยนแปลง ป ป ป (ป 2551/52 – (%) 2550/51 2551/52 2552/53 2552/53) พื้นที่เพาะปลูก (ไร) 6,877,183 6,282,740 6,534,125 251,385 4.00 ผลผลิต (ตัน) 76,734,556 69,740,220 74,192,212 4,451,992 6.38 ผลผลิตตอไร (กก.) 11,158 11,100 11,355 255 2.30 ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ (กษ.) คนเมื่อ 6 พฤศจิกายน 2552, จาก http://www.konthairakkan.com/2009-10-07-17-13-17.html 14
  • 17. ตารางที่ 5 ปริมาณและมูลคาการสงออกน้ําตาลดิบและน้ําตาลทรายของไทย ป พ.ศ.2549-2552 น้ําตาลดิบ น้ําตาลทราย รวม พ.ศ. ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา (ตัน) (ลานบาท) (ตัน) (ลานบาท) (ตัน) (ลานบาท) 2549 1,291,670.00 14,957.60 981,463.00 13,151.60 2,273,133.00 28,109.20 2550 2,104,593.00 18,423.70 2,321,484.00 25,383.00 4,426,077.00 43,806.70 2551 2,996,811.00 25,904.00 2,015,012.00 21,733.50 5,011,823.00 47,637.50 2552 2,059,448.00 22,525.00 2,271,603.00 29,245.30 4,331,051.00 51,770.30 (ม.ค.-ต.ค.) ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความรวมมือของ กรมศุลกากร คนเมื่อ 9 ธันวาคม 2552, จาก http://www.oae.go.th/oae_report/export_import/export_result.php แมปจจุบันประเทศไทยจะถูกจัดใหเปนประเทศผูนําอันดับตนๆ ในตลาด น้ําตาลโลก รวมทั้งเปนผูผลิตที่ถือวามีตนทุนคอนขางต่ําอยูแลวก็ตาม แตในชวงที่ ผานมาตนทุนการผลิตและการตลาดน้ําตาลของไทยมีแนวโนมสูงขึ้นเมื่อเทียบกับ คูแขง และยังมีรูรั่วในกระบวนการผลิตที่สามารถลดตนทุนใหต่ําลงไดอีกหลายจุด ปญหาที่อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายประสบในขณะนี้ ไดแก ปญหาในการผลิตออย อันเนื่องมาจากการขาดแคลนแรงงานและประสิทธิภาพแรงงานต่ํา ขาดการวาง แผนการจัดการเกษตรกร ราคาวัตถุดิบออยมีแนวโนมที่สูงขึ้น ในขณะที่มีคุณภาพ ต่ําลงเนื่องจากใชวธีการเก็บเกี่ยวที่ไมเหมาะสม สําหรับปญหาดานการผลิตน้ําตาล ิ ไดแก เทคโนโลยีที่ไมเหมาะสม ทําใหมีการสูญเสียน้ําตาลในกระบวนการผลิต ปญหาดานการขนสงและขนถายที่ไมมีประสิทธิภาพ และที่สําคัญคือ ขาดการวิจัย และพัฒนาเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนอยางตอเนื่อง ทั้งเกษตรกรและโรงงาน น้ํ า ตาลทรายยั ง ขาดวิ สั ย ทั ศ น ที่ จ ะให ค วามสนใจกั บ ผลตอบแทนในระยะยาว มากกวาระยะสั้น จึงไมอยากลงทุนในการวิจัยและพัฒนาซึ่งยังไมเห็นผลตอบแทน ในทันที 15
  • 18. ดังนั้นหากประเทศไทยตองการคงความเปนผูนําในตลาดน้ําตาลโลก ตอไป อาวุธที่สําคัญในการตอสูกับคูแขงขันในตลาดโลกยุคโลกาภิวัฒน คือ ความ มีประสิทธิภาพในดานตนทุน (Cost Efficiency) ตองมีการลดความสูญเสียที่ไม จําเปนทุกดานตั้งแตการรับซื้อออยหนาโรงงานน้ําตาลทราย กระบวนการผลิต การตลาด ตลอดจนตองมีการพัฒนาคุณภาพของออยซึ่งใชเปนวัตถุดิบใหมีผลผลิต และความหวานปริ ม าณสู ง พั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารผลิ ต และการตลาดให มี ประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจากนั้นควรมีการวิจัยและพัฒนาสินคาใหมตอเนื่องจาก น้ําตาลใหไดผลิตภัณฑท่ีมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้การลงทุนในการวิจัยและพัฒนา อยางต อเนื่อ งเปนสิ่งจําเปนสําหรับ อุตสาหกรรมน้ําตาลทราย และการพัฒนานี้ จะต อ งคํ า นึ ง ถึ ง คุ ณ ภาพของสิ่ ง แวดล อ มด ว ย เพราะคงไม มี ป ระโยชน ใ ดหาก ผลตอบแทนของอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายจะไดมาจากตนทุนของสังคมที่เกิดขึ้น จากการทําลายสภาพแวดลอมโดยอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย เปนตน ความมีประสิทธิภาพในดานตนทุน (Cost Efficiency) ในดานของการลด ความสูญเสียในกระบวนการผลิตนั้น ระบบมาตรวิทยา (Metrology) สามารถเขาไป เปนสวนหนึ่งในการชวยลดความสูญเสียที่ไมจําเปนในกระบวนการผลิตน้ําตาลทราย ได ซึ่ ง หากเครื่ อ งมื อ วั ด ที่ ใ ช มี ค วามถู ก ต อ งแม น ยํ า นอกจากจะส ง ผลดี กั บ ผูประกอบการเองแลว เกษตรกรชาวไรผูปลูกออยจะไดรับความเปนธรรมในเรื่อง ของราคาขายออยหนาโรงงาน (ราคาจะขึ้นอยูกับระดับความหวาน (CCS) ของออย โดยผูประกอบการจะมีเครื่องมือวัดระดับความหวานของออยที่ชาวไรนํามาขาย หนาโรงงานน้ําตาลทราย) 16
  • 19. 3. ความสําคัญของระบบมาตรวิทยาตออุตสาหกรรมน้ําตาลทราย ปจจัยที่สงผลกระทบตออุตสาหกรรมน้ําตาลทรายทั้งระบบคือ ปริมาณ ออ ยที่ส งเขาโรงงานน้ําตาลทรายในแตละป ซึ่งขึ้น อยูกับ ปริมาณพื้นที่ป ลูกออ ย ปริมาณออยและพันธุออยที่ปลูก ในการพัฒนาพันธุออย จําเปนตองมีการวิเคราะห คุณภาพความหวานของออย เพื่อใชเปนตัวชี้วัดในการคัดเลือกและพัฒนาพันธุออย กอนสงเสริมใหเกษตรกรปลูก การพัฒนาและสงเสริมดานน้ําตาลจะมุงเนนใหมีการวิเคราะหคุณภาพ ของน้ําตาล และกากน้ําตาลของโรงงานน้ําตาลทรายใหมีความถูกตอง เที่ยงตรงและ เปนที่ยอมรับของทุกฝาย ทั้งนี้ผลการวิเคราะหคุณภาพจะถูกนําไปใชเปนเกณฑใน การกําหนดชนิดของน้ําตาลนั้นๆ หากผลการวิเคราะหคลาดเคลื่อนก็จะสงผลให เกิดความสูญเสียมูลคาที่ไมจําเปนขึ้นในอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย เพื่อสงเสริมใหการวิเคราะหและทดสอบผลิตภัณฑที่ไดจากกระบวนการ ตางๆ ในโรงงานผลิตน้ําตาลทราย เชน น้ําออย น้ําออยขน ซึ่งโดยทั่วไปการทดสอบ ตางๆ จะดําเนินการโดยหองปฏิบัติการภายในโรงงานน้ําตาลทราย จึงไดมีการลง นามในบันทึกความรวมมือของหนวยงานที่เกี่ยวของไดแก สํานักงานคณะกรรมการ อ อ ยและน้ํ า ตาลทราย สถาบั น มาตรวิ ท ยาแห ง ชาติ กรมวิ ท ยาศาสตร บ ริ ก าร กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และสมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) ซึ่ ง หน ว ยงานเหล า นี้ ไ ด เ ล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ ของการพั ฒ นาระบบคุ ณ ภาพของ ห อ งปฏิ บั ติ ก ารด า นการวิ เ คราะห อ อ ยและน้ํ า ตาล เพื่ อ ให ก ารทดสอบของ หอ งปฏิบัติก ารมีความถู กตอ งแมนยํ า ไดม าตรฐาน มีค วามน าเชื่อ ถื อและเปน ที่ ยอมรับในระดับสากล ทั้งนี้เพื่อลดปญหาความขัดแยงและเพิ่มขีดความสามารถใน การแข งขั นในเวทีก ารค าระดั บ สากล โดยมี เปา หมายใหทุ กหอ งปฏิบั ติก ารของ โรงงานน้ําตาลทรายไดรับการรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการ (ISO/IEC 17025:2005) โดยมีการริเริ่มใหหองปฏิบัติการตางๆ ใชวัสดุอางอิงรับรอง เชน Quartz control plates, Glass fiters, pH buffers, Standard sucrose solutions ในการ 17
  • 20. สอบเทียบเครื่องมือวิเคราะหตางๆที่เกี่ยวของเชน Polarimeter, Spectrophotometer, pH meter, Refractometer รวมทั้งการเขารวมโครงการทดสอบความชํานาญ เพื่อให มั่นใจวาหองปฏิบัติการของโรงงานน้ําตาลทรายจะมีความสามารถในการวิเคราะห ทดสอบ และผลการวิเคราะหทดสอบมีความถูกตอง การดําเนินงานของหองปฏิบัติการของโรงงานผลิตน้ําตาลทรายที่ตองการ การรับรองระบบคุณภาพหองปฏิบัติการตามระบบมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005 กํ า หนดให ต อ งมี ก ารสอบเที ย บเครื่ อ งมื อ และเครื่ อ งทดสอบทั้ ง หมดที่ มี ผ ลต อ คุณภาพของผลิตภัณฑตามชวงเวลาที่กําหนดหรือกอนใชงาน ดังนั้นโรงงานน้ําตาลทราย ควรขอการรั บ รองระบบคุ ณ ภาพห อ งปฏิ บั ติ ก ารตามระบบมาตรฐาน ISO/IEC 17025:2005 เพื่อเปนการแสดงผลการวัดที่เชื่อถือได และเกิดความมั่นใจในคุณภาพ การผลิตและคุณภาพของผลิตภัณฑน้ําตาลทรายนั้นไดมาตรฐานตามที่กําหนด โดย ผลิตภัณฑท่ีไดในแตละกระบวนการขางตน เชน น้ําออยใส น้ําเชื่อม และน้ําตาลดิบ ตองมีการทดสอบเพื่อหาคาความหวาน ซึ่งตองใชการวัดคา Pol หรือ Polarization และคา brix ดวยเครื่อง Polarimeter และ Refractometer ในการสอบเทียบเครื่องมือ ดังกลาว ตองอาศัยวัสดุอางอิงรับรอง/วัสดุอางอิงที่ไดมาตรฐานและสามารถสอบกลับ ค า ที่ ไ ด ไ ปยั ง หน ว ยการวั ด พื้ น ฐาน ดั ง นั้ น มาตรวิ ท ยาเคมี จึ ง เข า มามี บ ทบาทต อ อุตสาหกรรมการผลิตน้ําตาลในการวัดความหวาน กอนหนานี้โรงงานน้ําตาลทราย มี ก ารเตรี ย มน้ํ า เชื่ อ มมาตรฐานขึ้ น ใช เ องในห อ งปฏิ บั ติ ก าร เพื่ อ ใช ส อบเที ย บ เครื่ อ งมื อ ซึ่ ง การสอบเที ย บโดยใช ส ารละลายน้ํ า ตาลที่ เ ตรี ย มขึ้ น เองนี้ ทํ า ให หองปฏิบัติการและลูกคาเกิดความไมมั่นใจในความถูกตองในการวัด นอกจากนี้ ความไมแนนอนในการวัดความหวานยังสงผลตอคาใชจายและเพิ่มเวลา โดยเฉพาะ ในกระบวนการตกผลึกน้ําตาล เพราะน้ําออยที่มีความหวานมากจะใชเวลาในการตก ผลึกนอยกวาน้ําออยที่มีความหวานนอย 18
  • 21. นอกจากนี้ยังมีหนวยงานระดับนานาชาติ ชื่อ International Commission for Uniform Methods of Sugar Analysis: ICUMSA) ที่ทําหนาที่กําหนดวิธีวิเคราะห ผลิตภัณฑน้ําตาล ซึ่งวิธีวิเคราะหนั้นไดรับการยอมรับจาก Codex Alimentarius Commission, OIML, EU, และ US Food Chemicals Codex โดยทั่วไปน้ําตาลที่ผลิต ในประเทศไทยจะถูกแบงเกรดตามคาสีที่กําหนดโดยคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย (กอน.) ตามวิธีวิเคราะหของ ICUMSA Methods (รายละเอียดดังตารางที่ 6) ตารางที่ 6 เกณฑกําหนดคาสีของผลิตภัณฑน้ําตาลชนิดตางๆ และวิธีวิเคราะห เกณฑ วิธีการวิเคราะหคาสี คาสีที่ กําหนดคาสี ที่ สอน. ใชตามวิธี กําหนดตาม ผลิตภัณฑน้ําตาล ตามที่ กอน. วิเคราะหของ ICUMSA กําหนด (IU) ICUMSA Methods Methods (IU) น้ําตาลขาวบริสุทธิ์ 0-45 GS2/3-10 (2005) ไมเกิน 50 น้ําตาลขาว เกรด 1 46-200 GS2/3-9 (2005) ไมเกิน 600 น้ําตาลขาว เกรด 2 201-400 GS2/3-9 (2005) ไมเกิน 600 น้ําตาลขาว เกรด 3 401-1000 GS1/3-7 (2002) 250 ขึ้นไป น้ําตาลดิบ 1001 ขึ้นไป GS1/3-7 (2002) 250 ขึ้นไป น้ําตาลแดง 8000 ขึ้นไป GS1/3-7 (2002) 250 ขึ้นไป ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย ศอภ. 1 กอน. หมายถึง คณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย (Cane and Sugar Board, Thailand) สอน. หมายถึง สํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาลทราย (Office of the Cane and Sugar Board) ศอภ. หมายถึง ศูนยสงเสริมอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย ภาคที่ 1 (Cane and Sugar Industrial Promotion Center of Region 1) 19
  • 22. 4. ปญหาและอุปสรรคของการผลิตน้ําตาลทราย 4.1 ควรมี ก ารพิ จ ารณาคั ด เลื อ กพั นธุ อ อ ย อายุ ก ารเก็ บ เกี่ ย ว และพื้ น ที่ เพาะปลูกที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพผลผลิต 4.2 ผูผลิตขาดความตระหนักในการผลิตใหเกิดประสิทธิภาพในการแขงขัน เนื่องจากมีผูประกอบการนอยรายทั้งในและตางประเทศ 4.3 กระบวนการผลิตไมไดใหความสําคัญกับความถูกตองในการแบง เกรดคุณภาพผลิตภัณฑปลายทาง (น้ําตาล) 4.4 กระบวนการผลิตไมได ใหความสําคัญ กับมาตรฐานการวัด ความ นาเชื่อถือของเครื่องมือวัด ซึ่งเปนปจจัยหนึ่งที่สงผลตอคุณภาพผลิตภัณฑ 4.5 ขาดมาตรฐานการวัดที่เชื่อถือได อาทิ วัสดุอางอิงในการวัดความหวาน 5. หวงโซมลคาออยและน้ําตาลทราย ู ปญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมน้ําตาลทรายสามารถพิจารณาตั้งแต ขั้นตอนเริ่มตนที่เกษตรกรคัดเลือกพันธุและพื้นที่เพาะปลูก จนกระทั่งไดผลผลิตที่ จะสงเขาสูโรงงานน้ําตาลทราย กระบวนการผลิตในโรงงานน้ําตาลทรายจนกระทั่ง ไดเปนผลิตภัณฑที่จะสงจําหนาย ดังแสดงในหวงโซคุณคา (แผนภาพที่ 1) การเพิ่ม ผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดตนทุน (แผนภาพที่ 2) และการแปรรูปและสรางคุณคา (แผนภาพที่ 3) 20
  • 23. Pre-Harvest Post-Harvest Manufac. Trade การเพิมผลผลิต ่ การแปรรูป การพัฒนา พัฒนาคุณภาพ เพิมและสราง ่ ระบบ และลดตนทุน คุณคา การตลาด การเพิ่ม การตรวจสอบ การตรวจสอบ การ ศูนย การจัดการ การจัดการ ขีดความ มาตรฐาน มาตรฐาน การ พัฒนา กระจาย ดาน ดานการนํา สามารถ เพื่อการ เพื่อการ แปรรูป คุณภาพ สินคาและ การปลูก สงผลผลิต ในการ จําหนาย ซื้อขาย เพื่อสงออก โลจิสติกส แขงขัน โครงสรางพื้นฐาน สารสนเทศ การวิจัยและพัฒนา การสรางจิตสํานึก การขับเคลื่อน การสงเสริมการรวมกลุมและ ความเปนผูประกอบการ โดยใชการตลาด เพิ่มความเขมแข็งเกษตรกร/สถาบัน และการเขมงวด นํา คุณภาพมาตรฐาน นโยบาย การกํากับและสนับสนุน จากหนวยงานภาครัฐทีสอดคลองกัน ่ แผนภาพที่ 1 หวงโซมูลคาออยและน้ําตาลทราย การเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพ และลดตนทุน • พื้นที่การปลูก • คุณภาพพันธุออย การจัดการ • คุณภาพดินและจัดสรรน้ํา ดานการปลูก • ระยะเวลาการตัดตนออย การจัดการ • เทคนิคการตัดตนออยเพื่อเพิ่มคุณภาพ ดานการนํา • ระยะเวลาการขนสง สงผลผลิต การตรวจสอบ • จัดตั้งสหกรณผูผลิตออยเพื่อเพิ่มอํานาจการตอรองในการซื้อขาย มาตรฐานเพื่อ • ความสามารถในการตรวจวัดคุณภาพความหวานจากน้ําออยโดยกลุมสหกรณน้ําต าล การจําหนาย แผนภาพที่ 2 รายละเอียดการเพิ่มผลผลิตพัฒนาคุณภาพและลดตนทุน 21
  • 24. การแปรรูปและสรางคุณคา การสงเสริมมาตรฐานการวัดเพือ ่ สรางการยอมรับของผลการวัดในการซื้อขาย • การชังน้ําหนัก ่ -------------------------- ความถูกตองของเครื่องชัง ่ การตรวจสอบ • การวัดคุณภาพออย มาตรฐานเพื่อ การซื้อขาย ความหวาน ------- ความถูกตองของ Reference Materials (RMs) การสงเสริมมาตรฐานการวัดเพือเพิมประสิทธิภาพการผลิต ่ ่ (ลดตนทุน) ความถูกตองของเครื่องมือวัด อาทิ อุณหภูมิหมอตม, แรงบดตนออย,วัสดุอางอิง ฯลฯ การเพิ่ม ประสิทธิภาพ การสงเสริมความรู ความเขาใจที่ถูกตองในระบบการวัด ในกระบวน • สรางความเขาใจในเรื่องคาความผิดพลาดของเครื่องมือวัดตอคุณภาพผลิตภัณฑ การแปรรูป และ ตนทุนการผลิต การสงเสริมผลิตภัณฑน้ําตาลใหเปนไปตามขอกําหนด การพัฒนา มาตรฐานสากล คุณภาพเพื่อ • สรางระบบการตรวจสอบผลิตภัณฑใหเปนไปตามมาตรฐาน การสงออก แผนภาพที่ 3 รายละเอียดการแปรรูปและสรางคุณคา 6. ปจจัยที่มีผลตอคุณภาพออย 6.1 พันธุและอายุการเก็บเกี่ยว การศึกษาออย 5 พันธุคือ SC1, SC2, SC3, SC4 และ SC5 ที่มีอายุ 10 11 และ 12 เดือน พบวาพันธุ SC1 SC3 และ SC5 มีปริมาณซูโครสเพิ่มขึ้นในเดือนที่ 11 และลดลงในเดือนที่ 12 ในขณะที่พันธุ SC2 และ SC4 มีปริมาณซูโครสเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่องจนถึงเดือนที่ 12 ออยทั้ง 5 พันธุมีปริมาณแปงเพิ่มขึ้นในเดือนที่ 11 แลว ลดลงในเดื อ นที่ 12 สํ า หรั บ เส น ใยทุ ก พั น ธุ ย กเว น SC5 มี ป ริ ม าณเพิ่ ม ขึ้ น อย า ง ตอเนื่องจนถึงเดือนที่ 12 การเก็บเกี่ยวออยสดและออยเผา พบวาออยเผามีปริมาณ ซูโครสและ เสนใยสูงกวาออยสด แตมีปริมาณแปงต่ํากวา (4) อยางไรก็ตามการเผา ออยอาจสงผลเสียมากกวาผลดี กลาวคือ เปนการทําลายระบบนิเวศนในแปลงออย ทําลายสารอาหารและโครงสรางดิน ทําใหน้ําหนักและความหวานออยลดลงอยาง 22
  • 25. รวดเร็ว อีกทั้งทําใหน้ําออยที่หีบไดมีความสกปรก สูญเสียคาใชจายในการทําความ สะอาด ใชเวลาและพลังงานเพิ่มขึ้นในการเคี่ยวเปนน้ําตาล คาจางในการตัดออย ปจจุบัน (49/50) คิดราคาดังนี้ ออยไฟไหม 100 มัด (มัดละ 13-15 ลํา) ราคา 100 บาท ออยสด 100 มัด (มัดละ 13-15 ลํา) ราคา 120 บาท จะเห็นไดวาการตัดออยสดมีราคา สูงกวาออยไฟไหม 20 บาท แตการเก็บเกี่ยวออยไฟไหม ใชเวลานอยกวาในการเก็บ เกี่ยวออยสดประมาณรอยละ 50 โดยเฉลี่ยแรงงาน 1 คน จะตัดออยสดได 150 - 200 มัด/วัน นั่นก็คือแรงงานจะมีรายไดวันละ 180 - 240 บาท แตถาตัดออยไฟไหม แรงงานจะ ตัดได 225 - 300 มัด จะไดเงิน 225 - 300 บาท/วัน 6.2 พื้นที่เพาะปลูกและธาตุอาหารมีผลตอคุณภาพของออย ปจ จั ย ต า งๆ ที่ มี ผ ลต อ การเจริ ญ เติ บ โตของออ ยได แ ก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม เหล็ก สังกะสี และ pH ในการวิเคราะหหาไนโตรเจนใน ดินจะใชวิธี Kjedahl method ปริมาณฟอสฟอรัสวิเคราะหโดยใชนํ้ายาสกัดของ Bray II และวัดดวย Spectrophotometer สวนโพแทสเซียม เหล็กและสังกะสี วิเคราะหโดยใช Atomic Absorption Spectrophotometer ปริมาณธาตุไนโตรเจนใน ดินที่เหมาะสมควรมีมากกวา 1.75% (กรมพัฒนาที่ดิน 2530) สําหรับธาตุฟอสฟอรัส ซึ่งมีความสําคัญตอการเจริญเติบโตในระยะแรก ฟอสฟอรัสจะกระตุนใหรากพืช เจริญเติบโตอยางรวดเร็ว ปริมาณฟอสฟอรัสในดินที่นับวาเพียงพอตอการเจริญเติบโต ของพืชคือมีมากกวา 25 (ppm) หรือรอยละ 0.025 (กรมพัฒนาที่ดิน 2530) ปริมาณ ธาตุโพแทสเซียมควรมีมากกวา 100-400 ppm จึงจะเพียงพอตอการเจริญเติบโตของพืช ถาตนออยขาดธาตุอาหารชนิดนี้จะทําใหลําตนแคระแกรน ลําเล็กและมีปริมาณ น้ํ า ตาลต่ํ า (นภดล เรี ย บเลิ ศ หิ รั ญ 2538) ธาตุ เ หล็ ก เป น สารหลั ก ในโครงสร า ง คลอโรฟลล ซึ่งจําเปนตอการสังเคราะหแสงของพืช ธาตุเหล็กในดินควรมีปริมาณ มากกวา 800 ppm เพื่อไมใหพืชเกิดโรคใบดาง ธาตุที่จําเปนอีกธาตุหนึ่งแตพืช ตองการเพียงเล็กนอย (นอยกวา 1 ppm, นภดล เรียบเลิศหิรัญ 2540) คือ สังกะสี 23
  • 26. ซึ่งปริมาณสังกะสีในดินไมควรเกิน 100 ppm พืชจําเปนตองใชสังกะสีเพื่อการ สังเคราะหฮอรโมนออกซินที่ปลายยอด ใบออนและตาออน การขาดสังกะสีจะทํา ใหพืชมีลําตนเตี้ย ใบเล็ก ปจจัยที่ควบคุมการละลายของธาตุอาหารในดินที่ใชปลูก พืชคือคาความเปนกรด-ดางของดิน จากการศึกษาพบวาคาความเปนกรด-ดางที่ เหมาะสมตอการปลูกออยคือชวง 5.30-6.50 (นภดล เรียบเลิศหิรัญ 2540) การวิเคราะห ธาตุตางๆ รวมทั้งคาความเปนกรด-ดางของดินที่ใชเพาะปลูกนั้น ใชเทคนิคแตกตางกัน อยางไรก็ตามเพื่อใหการวิเคราะหมีความถูกตอง เครื่องมือตางๆ ที่ใชในการวิเคราะห ตองผานการสอบเทียบ 7. การกําหนดราคาซื้อขายออย การซื้อขายออยที่นิยมใชในประเทศไทยมี 2 ระบบ คือ การซื้อขายตาม น้ําหนักและการซื้อขายตามคุณภาพ หรือซีซีเอส (CCS = Commercial Cane Sugar) ปญหาของการซื้อขายตามน้ําหนักคือออยที่มีคุณภาพตางกันจะซื้อขายดวยราคา เดียวกัน สวนการซื้อขายตามคุณภาพหรือตามคา CCS นั้น (คา CCS หมายถึง ปริมาณรอยละของน้ําตาลพาณิชยที่คิดไดจากออยเชน CCS 10 หมายถึง น้ําหนัก ออย 1 ตันสามารถผลิตน้ําตาลพาณิชยได 100 กิโลกรัม เมื่อโรงงานมีประสิทธิภาพ 100%) อยางไรก็ตามการวัดคา CCS ไมสามารถวัดไดโดยตรง แตจะไดจากสูตร คํานวณจากผลการวิเคราะหของหองปฏิบัติการดังนี้ CCS = Pol ในออย = (impurity/2) Pol ในออย = Pol ในน้ําออย + [100-(Fiber+5)/100] Impurity ในออย = Brix ในออย-Pol ในออย 24
  • 27. โดยที่ Pol = ค า ร อ ยละโดยน้ํ า หนั ก โดยประมาณค า ใกล เ คี ย งของ น้ําตาลซูโครสหรือเปน % โพลาไรเซชันของน้ําออยที่ หีบดวยลูกหีบชุดแรกที่วัดดวยเครื่อง Polarimeter Brix = คารอยละโดยน้ําหนักของของแข็งที่ละลายน้ําไดที่มีอยู ในน้ําออย (ซึ่งหมายถึงน้ําตาลและสิ่งเจือปนหรือเปน % บริ ก ซ ข องน้ํ า อ อ ยจากลู ก หี บ ชุ ด แรกซึ่ ง วั ด จากเครื่ อ ง Refractometer) Fiber = คารอยละโดยน้ําหนักของชานออยที่สกัดเอาของแข็งที่ ละลายน้ําออกหมดแลว การกําหนดราคาตามคาซีซีเอส จะยึดหลักปฏิบัติวา ออยที่มีซีซีเอส จะได ราคาเทากับราคาที่ซื้อขายตามน้ําหนัก แตละหนวยของซีซีเอสที่เพิ่มขึ้นหรือลดลง จะสงผลตอการเพิ่มลดราคาออยตอตัน เชน ถาออยของเกษตรกรมีคาซีซีเอสเพิ่มขึ้น 1 หนวย เกษตรกรจะไดราคาออยเพิ่มขึ้นตันละ 50-60 บาท ในขณะที่โรงงานจะได น้ําตาลเพิ่ม ขึ้นถึง 10 กิโลกรัม ต อ 1 หนวยซีซีเ อส ซึ่งไมเปน ธรรมตอ เกษตรกร เพราะราคาน้ําตาล 10 กิโลกรัมยอมมีคามากกวา 60 บาท ยิ่งไปกวานั้นการวิเคราะห คา Polarization, Brix และ Fiber ของหองปฏิบัติการตองมีความถูกตองแมนยําและ นาเชื่อถือ เพื่อใหเกิดความเปนธรรมตอทั้งสองฝาย และการมีผลการวัดที่ถูกตองจะ สงผลใหโรงงานน้ําตาลสามารถปรับปรุงกระบวนการผลิตใหดีขึ้น ทั้งยังชวยลด ปริ ม าณกากน้ํ า ตาลให นอ ยลง รวมถึ ง ใช เ ปน ขอ มู ล ในการประเมิ นคุ ณ ภาพของ ผลิตภัณฑไดโดยพิจารณาจากคุณภาพของวัตถุดิบ โดยทั่วไปอายุของออยจะมีผลตอ คา Fiber กลาวคือออยที่อายุมากมีคา Fiber เพิ่มขึ้นทําใหน้ําออยที่หีบไดนอยลงเมื่อ เทีย บกับ อ อ ยที่ มีอ ายุนอ ยกวา และเมื่ อ ออ ยมีค วามหวานมากกวา จะผลิตน้ํ า ตาล ได ม ากขึ้ น นั บ ตั้ ง แต ป ก ารผลิ ต พ.ศ.2535/2536 ที่ เ ปลี่ ย นระบบการรั บ ซื้ อ อ อ ย จากระบบน้ําหนักมาเปนระบบการวัดความหวานสงผลใหเกษตรกรตองปรับตัวเพื่อ 25
  • 28. เพิ่ม คุณ ภาพออ ย โดยการเปลี่ย นพัน ธุออ ย เปลี่ย นแปลงวิธีก ารเพาะปลูก และ การบํารุงรักษา หรือโดยการตัดออยในชวงที่มีความหวานมากที่สุด Measuring Instruments Weight Force Length Temperature Chemical RMs : Sugar, CO2 Reagent : Phosphate แผนภาพที่ 4 มาตรวิทยาสาขาตางๆ ที่เกี่ยวของในกระบวนการผลิตน้ําตาล โดยเฉลี่ยในการหีบออย 1 ตัน จะไดสวนประกอบหลักตางๆ ดังนี้ 1. น้ําตาล 105-110 กิโลกรัม 2. น้ํา 500-510 กิโลกรัม 3. กากออย (ความชื้นรอยละ 50-52) 270-290 กิโลกรัม 4. กากตะกอนหมอกรอง (ความชื้นรอยละ 70-72) 28-40 กิโลกรัม 5. กากน้ําตาล 50-60 กิโลกรัม 26
  • 29. 8. วัตถุประสงคการวิจย ั 8.1 เพื่อศึกษาการลดมูลคาของความไดเปรียบ/เสียเปรียบในการซื้อขาย ออย จากการใชระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีความถูกตองมากขึ้นตามมาตรฐานสากล 8.2 เพื่ อ เปรี ย บเที ย บต น ทุ น การซื้ อ วั ส ดุ อ า งอิ ง รั บ รอง/วั ส ดุ อ า งอิ ง (CRMs/RMs) ที่ใชสอบเทียบเครื่องมือวัดคา Brix ระหวางโรงงานที่ซ้ือจากใน ประเทศและจากตางประเทศ 8.3 เพื่อศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจของระบบมาตรวิทยาเคมีที่มีตอ อุตสาหกรรมน้ําตาลทรายในประเทศไทย 9. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ผลการศึ ก ษาจะทํ า ให ท ราบถึ ง ผลกระทบของมาตรวิ ท ยาที่ มี ต อ อุตสาหกรรมน้ําตาลทราย เพื่อจะนําไปสูการพัฒนาใหมีการใชระบบมาตรวิทยา อยางกวางขวางในอุตสาหกรรมน้ําตาลทราย เพื่อใหผลิตภัณฑที่ไดมีคุณภาพเปนที่ ยอมรับของผูบริโภคและประเทศคูคา 27
  • 30. 28