SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 188
แผนที่ทางเดินสำเร็จรูปจากส่วนกลาง                     เรียนท่านผู้อ่านทุกท่าน<br />เอกสารฉบับนี้เป็นฉบับดิจิตอลซึ่งผมได้รับจากกรมอนามัยผู้กรุณารวบรวม เอกสารนี้กำลังจัดพิมพ์เป็นเล่ม ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จ และส่งให้จังหวัดได้หลังปีใหม่ 2544 นี้<br />เอกสารจึงอาจมีบางส่วนที่ขาดหาย หากท่านมีความสงสัยประการใด กรุณาติดต่อกับคณะผู้เขียนโดยตรง<br />อย่างไรก็ดี เห็นว่าเอกสารจะเป็นประโยชน์ต่อท่านผู้กำลังปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ จึงขอส่งมาให้อ่านก่อนที่ฉบับจริงจะออกมา<br />โปรดสังเกตุว่า  ช่องต่างๆโดยเฉพาะ ช่องที่ 1 ถึง 3 ควรยึดตามที่เอกสารได้กำหนดไว้ สำหรับมาตรการ(งาน)ทางวิชาการ (ช่อง 4 ) ควรใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน  แต่จังหวัดรวมทั้งพื้นที่อาจจะขยายความ เพิ่มเติม รวมทั้งปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับบริบทได้<br />                                       อมร  นนทสุต<br />                                       12 ธันวาคม 2553<br />คำนำ<br />หนังสือเล่มนี้ ได้รวบรวมผลงานของกรมต่าง ๆ ในกระทรวงสาธารณสุขที่ได้ร่วมมือกันพิจารณาองค์ประกอบที่สำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 4 ประการ ได้แก่<br />1.  จุดหมายปลายทาง  สำหรับระดับต่าง ๆ  ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ได้แก่  ระดับประชาชน   ภาคี กระบวนการ และรากฐาน ทั้งหมดนี้ประกอบกันขึ้นเป็นจุดหมายปลายทางสุดท้าย คือ การที่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ<br />2.  แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ฉบับบูรณาการ ซึ่งได้ยุบย่อ และบูรณาการมาจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับหลักของกรมวิชาการต่างๆ <br />3.  ตารางนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (ตาราง 11 ช่อง) ซึ่งให้รายละเอียดของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ จนถึงรายการมาตรการทางวิชาการ (ช่องที่ 4)<br />4.  แผนปฏิบัติการฉบับพื้นฐาน  ซึ่งแสดง  7  กิจกรรมสำคัญในระดับประชาชน และภาคี  ซึ่งได้มีการพิสูจน์แล้วว่าสามารถทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้จริง<br />ทั้ง  4  รายการนี้  มีวัตถุประสงค์ที่จะช่วยให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติในระดับท้องถิ่น ตำบลสามารถเปิดงานโครงการสุขภาพต่าง ๆ ตามความจำเป็นและบริบทของพื้นที่ได้โดยเร็ว เพียงแต่ทำงานต่อไปเกี่ยวกับรายละเอียดของตาราง 11 ช่องตั้งแต่ช่องที่ 5 มาตรการทางสังคมเป็นต้นไปจนครบทั้ง 11 ช่อง ท้องถิ่น ตำบล จะไม่ต้องกังวลกับเทคนิคของการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพราะขั้นตอนเกี่ยวกับการสร้างแผนที่ฯได้ดำเนินการโดยระดับต่างๆขององค์กรสาธารณสุขมาแล้ว อีกประการหนึ่ง วัตถุประสงค์ของการสร้าง และใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ก็เพื่อให้หน่วยงานท้องถิ่น ตำบล และชุมชนสามารถผลิตโครงการและผลงานที่มีความสมบูรณ์ สามารถบรรลุสู่จุดหมายปลายทางคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย มากกว่าการมีเครื่องมือบริหารจัดการที่สวยหรูคือ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์<br />อย่างไรก็ดี หากท้องถิ่น/ตำบลเห็นว่าควรปรับแก้เอกสารเหล่านี้ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่  ก็อาจจะกระทำได้ แต่ควรยกเว้นไม่แก้จุดหมายปลายทาง หรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ซึ่งจะใช้ร่วมกันทั้งประเทศ วิธีการที่แนะนำคือ ให้ลดระดับจุดหมายปลายทางหรือเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ลงเป็นกลยุทธ์หรือกิจกรรม แล้วไปกำหนดไว้ในตาราง 11 ช่อง ช่องที่ 3 หรือ 4 ตามลำดับ<br />เมื่อเปิดงานตามแผนงานโครงการแล้ว ควรบันทึกข้อสังเกตต่าง ๆ ทั้งบวกและลบ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงระบบต่อไปในอนาคต<br />              ผู้เขียนขอถือโอกาสนี้ขอบคุณคณะผู้จัดทำเอกสารทั้งสี่ฉบับ รวมทั้งท่านผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุข ตลอดจนองค์กร หน่วยงานต่าง ๆ และชุมชน ที่มีส่วนทำให้งานชิ้นนี้เป็นรูปร่าง มีความสมบูรณ์ในระดับที่น่าพอใจ<br />                                                                   อมร นนทสุต<br />                                                                     9 /8/2553<br />คำบรรยายในพิธีเปิดการประชุมการพัฒนามาตรการทางวิชาการในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์<br />ของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกองทุนสุขภาพตำบล<br />กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค  ได้เรียนรู้การจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) และแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ  (Strategic linkage model : SLM)  เพื่อเป็นเครื่องมือบริหารจัดการของการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน และพัฒนาบทบาทประชาชนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างยั่งยืน และได้นำร่องศึกษาในพื้นที่โดยการบูรณาการร่วมกันของทั้ง 2 กรม ร่วมกับศูนย์วิชาการเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแกนนำชุมชนบังเกิดกระบวนการพัฒนาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนได้แนวทางการพัฒนาของการกำหนดบทบาทบุคลากรรัฐ บทบาทท้องถิ่น และบทบาทชุมชนได้อย่างชัดเจน<br />ในพื้นที่นำร่องภาคีที่ได้ร่วมกันพัฒนา ได้กำหนดประเด็นของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันเป็นสาเหตุหลักของปัญหาสุขภาพ 9 ประเด็น   คือ  1. ไข้เลือดออก  2. เอดส์ 3. เบาหวานและความดันโลหิตสูง 4. อาหารปลอดภัยและโภชนาการ 5. ขยะชุมชน     6. อนามัยแม่และเด็ก 7. สุขภาพวัยเรียนและวัยรุ่น 8. สุขภาพผู้สูงอายุ  9. ภาวะซึมเศร้าและฆ่าตัวตาย  ประเด็นดังกล่าวได้ถ่ายระดับสู่เขตสาธารณสุขและจังหวัด/เพื่อเริ่มขยายผลในกองทุนสุขภาพตำบลบ้างแล้ว อนาคตจะเพิ่มประเด็นการควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน เพื่อพัฒนาสติปัญญาคนไทย ซึ่งเป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล<br />การจัดทำแผนสุขภาพชุมชนให้บรรลุวัตถุประสงค์ ด้วยการทำตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์ของแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (ตาราง 11 ช่อง) ให้สมบูรณ์ ซึ่งตารางช่องที่ 1 – 3 ได้แก่ 1. เป้าประสงค์  2. กลยุทธ์สำคัญ  3. กิจกรรมสำคัญ ได้จัดทำเป็นแนวทางเดียวกันแล้วโดยกรมวิชาการ นักวิชาการสาธารณสุขและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย จะมาร่วมแรง ร่วมใจกันจัดทำมาตรการทางวิชาการในวันนี้ เพื่อส่งมอบให้ท้องถิ่น แกนนำชุมชน และประชาชน ได้ร่วมกันเติมเต็มตารางช่องที่ 5  คือ มาตรการทางสังคม และกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ ปัจจัยความสำเร็จ งบประมาณ และผู้รับผิดชอบในตารางช่องที่ 6 – 11 ให้สมบูรณ์<br />ประเด็นทั้ง 10 ของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างยั่งยืน ในส่วนของมาตรการของวิชาการที่กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องนั้น มีภาพรวมที่ได้ดำเนินการไว้ ดังนี้<br />1) การพัฒนาเครือข่ายและทีมงาน  ปัจจัยสำคัญแห่งการรวมพลัง ทำงานให้เกิดผลด้วยจุดประสงค์ร่วม เปิดใจ ให้เกียรติกัน รับฟังความคิดเห็นอย่างตั้งใจ และสร้างความไว้วางใจกันและกัน<br />2) การพัฒนาศักยภาพ เป็นการเสริมสร้างสมรรถนะตามความต้องการของผู้รับการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องร่วมกัน และพึ่งพากันและกันเป็นเครือข่าย<br />3) การสร้างกระแสสังคม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควรใช้ยุทธศาสตร์ทั้ง 2 ส่วน คือ การสร้างกระแสผ่านสื่อสาธารณะ (Air campaign)  และการสร้างกระแสในแนวราบในพื้นที่ (Ground campaign)  <br />4)  การสนับสนุนองค์ความรู้และสื่อให้พื้นที่และชุมชน ควรจัดทำเพื่อใช้ประโยชน์ได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา ด้วยหลัก 4 C คือ ชัดเจน (clear) กระชับ (Concise) เข้าใจง่าย (Concrete) และสมบูรณ์ (Complete)  <br />5) การนิเทศติดตาม  คือ  การสร้างแรงจูงใจอย่างกัลยาณมิตรเพื่อการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ด้วยบุคลิกน่ารัก น่าเคารพ น่าเจริญใจ พูดจาให้ได้ผล อดทนต่อถ้อยคำ แถลงเรื่องล้ำลึกได้ พูดจาแยบคาย และไม่ชักนำทางอบาย<br />6) การค้นหาการปฏิบัติที่ดี ด้วยการเรียนรู้ความดีงามที่ได้ปฏิบัติจนสำเร็จและนำความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุงในสอดคล้องกันแต่ละพื้นที่ ด้วยหัวใจแห่งนักปราชญ์ทั้ง สุตะ จินตนะ ปุจฉา และลิขิต     <br />7) การเสริมสร้างพลังชุมชน ซึ่งมิใช่เรื่องยากเพียงแต่เข้าใจคน เข้าใจชุมชนแล้วค้นหาความดีงามในชุมชน กำหนดทิศทางที่ชุมชนคาดหวัง ออกแบบการทำงานร่วมกันและกระตุ้นให้ชุมชนจัดทำมาตรการทางสังคมร่วมกัน<br />มาตรการทางวิชาการทั้ง 7 ประการข้างต้น เป็นต้นทางแห่งการขับเคลื่อนสังคม ผนวกกับพลังชุมชนที่จะวางทิศทางมาตรการทางสังคม จึงจะส่งผลต่อความสำเร็จของการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ซึ่งพวกเราควรจะช่วยกันจัดทำคู่มือปฏิบัติงานของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์<br />วันนี้พวกเราจะร่วมมือกัน ออกแบบ (Design) ตัดสินใจ (Decide) ทุ่มเท (Devote) และปิติร่วมกัน (Delight) ให้ชุมชนและประชาชนได้ใช้ศักยภาพแห่งชุมชน เพื่อสุขภาพที่ดีและคุณภาพชีวิตแห่งมวลหมู่คนไทย                <br />                                                                                               สมศักดิ์  ภัทรกุลวณิชย์<br />                                                               รองอธิบดีกรมอนามัย<br />                                                                  16 กรกฎาคม 2553<br /> <br />การกำหนดมาตรการทางวิชาการเพื่อสนับสนุนการขยายงาน          แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM)                  สู่การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ปี 2553<br />01079500<br />ในการสร้างและใช้แผนปฏิบัติการนั้น ได้ปรับปรุงโดยลดส่วนของแผนปฏิบัติการที่ไม่จำเป็นลง (แต่ไม่ได้ตัดออกทั้งหมด) ได้แก่ แผนปฏิบัติการของระดับกระบวนการและพื้นฐาน เหตุผลคือ   ในระดับทั้งสองนั้น องค์กรต่าง ๆ  โดยเฉพาะของกระทรวงสาธารณสุขได้ทำการพัฒนาตลอดเวลาอยู่แล้ว แผนปฏิบัติการยุคใหม่จึงไม่เน้นที่การพัฒนาระดับทั้งสอง แต่จะเน้นไปที่การพัฒนาที่จำเป็นในระดับประชาชนและภาคี (ที่อยู่นอกกระทรวงสาธารณสุข) เพื่อให้บรรลุจุดหมายปลายทางที่ต้องการ  ซึ่งจุดหมายปลายทางที่ได้ตัดสินใจ และกำหนดร่วมกัน ดังนี้<br />นอกจากนี้ได้พัฒนาแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ขึ้นมาใหม่ โดยในภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) จะแสดง Road Map ไว้ด้วย คือเส้นหนา ซึ่งแนะนำให้ใช้ก่อนเพื่อให้สามารถทำงานไปจนถึงขั้นการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์และพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางอย่างเร็วที่สุด อย่างไรก็ดี เมื่อสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้แล้ว ต้องย้อนกลับมาสร้างแผนปฏิบัติการให้กับกล่องเป้าประสงค์ที่เหลืออยู่ให้เต็มทั้งภาพแผนที่ ฯ เพื่อป้องกันการล้มเหลวหรือคืนกลับสู่สถานะเดิมในภายหลัง <br />หลังจากที่มีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการร่วม (SLM) แล้ว  ก็ได้พัฒนาแผนปฏิบัติการพื้นฐาน(ตาม Road map)  โดยได้กำหนดกิจกรรมสำคัญของเป้าประสงค์ต่างๆ ในระดับประชาชนและภาคี (เฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานสาธารณสุขกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) กิจกรรมสำคัญดังกล่าวมี 7 ประการ<br />3604260-7620(Micro SLM)00(Micro SLM)<br />ตารางนิยาม(ตาราง 11 ช่อง)<br />ได้มีการปรับปรุงวิธีสร้างตาราง 11 ช่องใหม่ สำหรับใช้โดยผู้ปฏิบัติระดับท้องถิ่น/ตำบล เพื่อความสะดวกรวดเร็วสำหรับผู้ปฏิบัติในระดับปลายซึ่งช่องที่ 1 – 4 ได้ทำเสร็จรูปไว้แล้ว โดยศูนย์ฯ / สำนัก / กอง / ในระดับส่วนกลาง/เขต / ภาค ของกรมวิชาการต่าง ๆ เพื่อส่งต่อไปยังจังหวัดผ่านไปยังอำเภอถึงท้องถิ่น / ตำบลได้เติมเต็ม<br />- ช่องที่ 5 จำเป็นต้องไปทำในพื้นที่ เพราะต้องผ่านการพิจารณารวมทั้งให้ความเห็นชอบของผู้บริหารและผู้นำในระดับนั้น อย่างไรก็ดี ฝ่ายบริหารสามารถแนะนำได้ เพราะงานทางสังคมต้องมีพื้นฐานทางวิชาการกำกับด้วย<br />- ช่องที่ 6 ตัวชี้วัดผลงาน งานในระดับประชาชนจะเป็นตัวกำหนดว่าจะใช้ตัวชี้วัดผลงานอะไร ดังนั้น งานที่จะนำมาสร้างตัวชี้วัดจะมาจากช่องที่ 5 ซึ่งเป็นงานทางสังคม<br />- ช่องที่ 7 ตัวชี้วัดผลสำเร็จ เนื่องจากเป็นงานระดับประชาชน ตัวชี้วัดนี้จะได้มาจากงานทางสังคม (ช่องที่ 5) เป็นสำคัญ<br />- ช่องที่ 8 - 11 ผู้ปฏิบัติจะเติมเต็มได้ จนครบถ้วน<br />            <br />ต่อไปนี้เป็นการนิยมเป้าประสงค์ของแผนที่ SLM (ตาราง 11 ช่อง) ที่ได้ทำเสร็จรูปไว้แล้วใน 8 ประเด็น โดยมีนิยามเป้าประสงค์ประชาชนกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ / พฤติกรรมว่าแต่ละประเด็น ประชาชนกลุ่มเป้าหมายคือใคร และ กระบวนทัศน์ / พฤติกรรมที่จะเปลี่ยนคืออะไร ?  ดังนี้<br />1. โรคไข้เลือดออก<br />               2. โรคเอดส์<br />3. เบาหวาน / ความดันโลหิตสูง<br />4. อาหารปลอดภัย/โภชนาการ<br />5. ขยะชุมชน<br />6. อนามัยแม่และเด็ก<br />7. วัยเรียน/วัยรุ่น<br />8. สุขภาพผู้สูงอายุ <br />125730023304500<br />การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่สำคัญของแผน<br />ปฏิบัติการพื้นฐาน (Road Map) 2553-2554<br />(สำหรับฝ่ายวิชาการ) ประเด็นโรคไข้เลือดออก<br />012382500<br />ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย :  คือ ประชาชน แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว  ,แกนนำชุมชน(แต่งตั้งเป็นทางการไม่เป็นทางการ) แกนนำนักเรียนระดับ ประถม มัธยม<br />กระบวนทัศน์/พฤติกรรมที่จะเปลี่ยน : คือ 1) ป้องกันยุงกัด 2) กำจัดลูกน้ำ 3) ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 4)ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1 พัฒนาระบบติดตาม ประเมิน และจัดการนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1 ติดตามพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายด้วยตัวชี้วัดที่เหมาะสม1.1.2 ติดตาม ประเมินกระบวนการที่นำไปสู่การปรับกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.3 แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1.1 สำนักโรคติดต่อกำหนดตัวชี้วัด (HI H2 CI BI)1.1.1.2 สำนักงานป้องกันและควบคุมโรค (สคร.)ถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่กลุ่มเป้าหมาย1.1.1.3. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)สำรวจประเมินตามตัวชี้วัด1.1.1.4.  สาธารณสุขอำเภอ( สสอ.) ประเมินผลและถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่หน่วยงานอื่น1.1.2.1 สำนักโรคติดต่อจัดทำคู่มือ แนวทางการประเมิน1.1.2.2 . สำนักงานป้องกันและควบคุมโรค (สคร.)อบรมกลุ่มเป้าหมาย1.1.2.3 อพจ. ประเมินผลกระบวนการ1.1.3.1 อบต. สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้1.1.3.2 อบต.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกและสร้างความตระหนักในการดูแลชุมชน1.1.3.3 อบต.สนับสนุนให้มีการนำข้อมูลไปใช้การวางแผนแก้ไข    ปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน1.1.3.4 อบต. ถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน2.ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน2.1 ปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่นให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.2. สร้างแผนงาน/โครงการใหม่ที่ริเริ่มและดำเนินการโดยชุมชน2.1.1 สร้างโครงการชุมชนด้วยรายละเอียดจากตาราง 11 ช่อง2.1.2 ยืนยันว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับผลประโยชน์จากโครงการชุมชนที่สนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม2.2.1 สร้างโครงการชุมชนใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน2.1.1.1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล  (รพ.สต.)สนับสนุนให้มีการเปิดเวทีเพื่อรวบรวมข้อมูล สภาพปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 2.1.1.2 . รพ.สต./ สอ.ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง SLM โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม2.1.1.3 รพ.สต.จัดทำแผนงาน โครงการโดยชุมชน2.1.2.1 อบต.มีการตรวจสอบแผนยืนยันกลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์จากโครงการ2.1.2.2 . อบต.มีการประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ2.2.1.1 อบต.ส่งเสริมให้ชุมชนประดิษฐ์ค้นคว้า นวัตกรรมใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหา2.2.1.2 อบต.บูรณาการและสร้างความเชื่อมโยงโครงการกำจัด    ขยะในชุมชนหรือโครงการอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก2.2.1.3 อบต.ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนโรคไข้เลือดออก ในโรงเรียน3. ชุมชนมีมาตรการทางสังคม3.1 พัฒนาบทบาทการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยท้องถิ่น/ชุมชน3.1.1 ท้องถิ่น/รพ.สต.มอบอำนาจและสนับสนุนให้ท้องที่สร้างและดำเนินมาตรการทางสังคม3.1.2 สร้างระบบการควบคุม ติดตาม ประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.1.1 อบต. ผลักดัน ส่งเสริม บทบาทของท้องถิ่นในการสร้างข้อตกลงร่วมกัน3.1.1.2 . อบต. สนับสนุนการจัดทำข้อบังคับระดับหมู่บ้าน 3.1.1.3 อบต. สนับสนุนการจัดทำข้อบัญญัติระดับชุมชนหรือ ตำบล3.1.2.1 อบต. ส่งเสริมแรงจูงใจให้ใช้ข้อบังคับ/ข้อบัญญัติของชุมชน3.1.2.2 . อบต. แต่งตั้งคณะทำงานติดตามประเมินผลการใช้ข้อบังคับ/ข้อบัญญัติ3.1.2.3 อบต. สนับสนุนเครื่องมือ/คู่มือติดตามประเมินผลให้สอดคล้องกับ มาตรการทางสังคม3.1.2.4 อบต.กำหนดวิธีการใช้เครื่องมือ ความถี่ในการประเมินและ สรุปผล4. ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองที่มีประสิทธิภาพ4.1 พัฒนาคณะอสม./แกนนำให้สามารถคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาทางสุขภาพและสภาวะแวดล้อม4.1.1 ท้องถิ่นมอบภารกิจให้คณะอสม./แกนนำสร้างโครงการและดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง4.1.2 คณะอสม./แกนนำรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคัดกรอง/เฝ้าระวังที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน4.1.3 สร้างระบบการประเมิน สนับสนุนบทบาทของคณะอสม.ในการดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง4.1.1.1 อบต. สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน เช่น ระบบรายงานโรค , การแจ้งการเกิด ,การคัดกรองผู้ป่วย ระบบส่งต่อ การเปิด war room เมื่อมีการะบาด4.1.1.2 อบต.สนับสนุนให้มีระบบการสอบสวนโรคเฝ้าระวังควบคุมโรคในชุมชน ทีม SRRT ภาคประชาชนทั้งในระยะปกติและเมื่อมีสถานการณ์ระบาด4.1.1.3 รพ.สต.พัฒนาองค์ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคในชุมชน4.1.2.1 อบต.สนับสนุนส่งเสริมให้มีการศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน นอกสถานที่ Best Practiceเรื่อง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก4.1.3.1 อบต./รพ.สต.สนับสนุนเครื่องมือ/คู่มือ/แนวทางการประเมินการคัดกรองการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก5. มีระบบสื่อสารสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ5.1 สร้างระบบการสื่อสารสุขภาพ/สภาวะแวดล้อมและการจัดการนวัตกรรม5.1.1 ใช้ประโยชน์จากสื่อสาธารณะและสื่อบุคคลเพื่อการสื่อสารเชิงการจัดการสุขภาพ/นวัตกรรม5.1.2 ปรับปรุงกระบวนการ/เทคนิค/อุปกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ5.1.3 สร้างนวัตกรรมด้านการสื่อสารสู่กลุ่มเป้าหมาย5.1.1.1 สคร.พัฒนาทักษะการสื่อสารสาธารณะ/ ภาวะผู้นำ5.1.1.2  สคร. พัฒนาระบบการสื่อสารให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชุมชน5.1.2.1 อบต. สนับสนุนการจัดทำสื่อท้องถิ่นให้สอดคล้องกับพื้นที่5.1.2.2  อบต. สนับสนุนช่องทางสื่อสารในชุมชนที่หลากหลายและมีความเหมาะสม5.1.3.1 อบต. สนับสนุนหลักสูตรการจัดทำสื่อต้นแบบสำหรับชุมชน5.1.3.2  อบต. สนับสนุนการนำระบบ GIS มาใช้บริหารจัดการข้อมูลโรคไข้เลือดออกและค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายระดับชุมชน6. บุคลากร/แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม6.1 สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2 เปิดการถ่ายทอดวิชาและประสบการณ์ในงานสร้างสุขภาพและป้องกันโรคระหว่างพื้นที่6.1.1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2 1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดการเรียนการสอนระหว่างพื้นที่6.1.1.1 อบต./รพ.สต.สนับสนุนให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.1.2อบต.สนับสนุนการจัดทำแผนงานโครงการจัดตั้ง โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.1.3 รพ.สต.สนับสนุนองค์ความรู้/สื่อในการจัดการโรคไข้เลือดออก6.1.1.4. อบต.ส่งเสริมให้มีการจัดทำปฏิทิน การจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโรงเรียน6.1.1.5 นิเทศ ติดตามประเมินผลโดยวิทยากร กรรมการ ระดับเขต6.2.1.1อบต. ส่งเสริมการจัดทำแผนเตรียมพร้อมรับการเรียน    การสอนและศึกษาดูงาน6.2.1.2. อบต. สนับสนุนการจัดทำเกณฑ์และประเมินผล มาตรฐานของโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง7.1 สร้างบันทึกข้อตกลงระหว่างสาขา7.1.1 ประชุมตกลงความร่วมมือระหว่าง รพ.สต./ท้องถิ่น/ผู้นำชุมชน/อสม.7.1.2 กำหนดประเด็นสุขภาพและสภาวะแวดล้อมที่จะพัฒนาร่วมกัน7.1.1.1 อบต. สนับสนุนการจัดตั้งคณะกรรมการ โดยผู้มีอำนาจระดับอำเภอ 7.1.1.2 อบต. สนับสนุนการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน (MOU)7.1.1.3 อบต. สนับสนุน/ส่งเสริม ให้มีการจัดทำแผนของท้องถิ่นโดยใช้ SLM แบบมีส่วนร่วม7.1.2.1 อบต./รพ.สต.สนับสนุนและส่งเสริมข้อมูล/คุณลักษณะของเครื่องมือ อุปกรณ์ สารเคมีที่ได้ มาตรฐาน ที่ใช้ในการ    ควบคุมโรคไข้เลือดออก7.1.2.2 หน่วยงานส่วนกลางสนับสนุนความรู้ วิชาการ เกี่ยวกับเทคนิคการพ่นสารเคมี ที่ใช้ในการควบคุมพาหะ7.1.2.3 หน่วยงานส่วนกลางเสนอข้อมูล ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก    ให้คณะกรรมการรับทราบ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ7.1.2.4  ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ7.1.2.5. อบต. ส่งเสริมให้มีการทำวิจัยที่เป็นประเด็นโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่<br /> <br />การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่สำคัญ<br />ของแผนปฏิบัติการพื้นฐาน (Road Map) พ.ศ. 2553 - 2554 <br />(สำหรับฝ่ายวิชาการ) <br />ประเด็นโรคเอดส์<br />08890000<br />ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย :  ตามแผนเอดส์ชาติ<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1 พัฒนาระบบติดตาม ประเมิน และจัดการนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1 ติดตามพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายด้วยตัวชี้วัดที่เหมาะสมประกอบด้วย1.อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในกลุ่มเยาวชน 2. ความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ที่ถูกต้อง 3. อัตราการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน 4. อัตราการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นที่อายุน้อยกว่า20 ปี1.1.2 ติดตาม ประเมินกระบวนการที่นำไปสู่การปรับกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.3 แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1.1 สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต/พื้นที่ร่วมจัดทำระบบติดตามประเมินผล แผนงาน/โครงการ แก้ปัญหาเอดส์  อื่น ๆ1.1.1.2 สำนักวิชาการระดับเขตร่วมกับสถานศึกษา/หน่วยงานในพื้นที่ จัดอบรมเรื่องเอดส์/การให้การปรึกษาเรื่องเพศ   ให้กับครู บุคลากรสาธารณสุข /อปท./ อสม. / ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และผู้เกี่ยวข้อง1.1.1.3 สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุน รูปแบบ/ แนวทาง /มาตรฐาน/ มาตรการ/ คู่มือ และ แบบประเมินสุขภาพจิต1.1.2.1 สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุนเครื่องมือในการติดตามประเมินผลการดำเนิน1.1.2.2 สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต ร่วมติดตามประเมินผล แผนงาน/โครงการ กับหน่วยงานในพื้นที่1.1.2.3 สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต ประสานสถานการณ์ไปยังพื้นที่ระดับจังหวัดเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา1.1.3.1 สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขตร่วมกับท้องถิ่น จัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์/ศึกษาดูงาน/ประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม1.1.3.2 สำนักวิชาการส่วนกลางจัดทำคลังความรู้เพื่อเผยแพร่สถานการณ์โรคเอดส์  สภาวะสุขภาพทางเพศของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและกิจกรรมเพื่อให้เยาวชนเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายหรือผ่านระบบ Internet1.1.3.3 อปท.จัดจุดบริการ คู่มือ แนวทาง / รูปแบบ / มาตรฐาน/ Condom point ติดตั้งตู้ถุงยางอนามัยในชุมชนเพื่อแจกถุงยางอนามัยฟรีที่ศูนย์ ศสมช. หรืออื่น ๆตามที่ชุมชนกำหนด2. ชุมชนมีโครงการแก้ปัญหาเอดส์ของชุมชนโดยชุมชน2.1 ปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่นให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.2. สร้างแผนงาน/โครงการใหม่ที่ริเริ่มและดำเนินการโดยชุมชน2.1.1 สนับสนุนปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่น โดยใช้  แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.1.2 ติดตาม ประเมินผล โครงการป้องกันและแก้ปัญหาเอดส์ในชุมชนเพื่อยืนยันว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับผลประโยชน์จากโครงการชุมชนที่สนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม2.2.1 สร้างโครงการชุมชนใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน2.1.1.1 สำนักวิชาการระดับเขตร่วมกับ อปท. สนับสนุนให้แกนนำจัดทำเวทีประชาคม /เวทีสาธารณะเพื่อวิเคราะห์ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพทางเพศและจัดทำแผนชุมชนป้องกัน และแก้ปัญหาพฤติกรรมทางเพศ/เอดส์ในชุมชน และ ด้านเอดส์ เพศศึกษาใน เยาวชน โดยใช้กระบวนการ SLM. ให้ครอบคลุมมิติทางกายและจิตใจ2.1.1.2 ท้องถิ่น /รพ.สต. ควรมีแผนงาน/โครงการป้องกันแก้ปัญหาเอดส์ร่วมกัน2.1.1.3 สำนักวิชาการระดับเขต ร่วมกับท้องถิ่น สร้าง/พัฒนาเครือข่ายสัมพันธ์ด้านเอดส์ในชุมชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืน2 .1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต สนับสนุนเครื่องมือ / แนวทาง การติดตามประเมินผล แผนงาน/โครงการ กับหน่วยงานในพื้นที่2.1.2.2 สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต ร่วมติดตามประเมินผล แผนงาน/โครงการ กับหน่วยงานในพื้นที่2.2.1.1 สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต ประสาน นโยบาย /สถานการณ์ไปยังพื้นที่ระดับจังหวัดเพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำแผนงาน/โครงการ2.2.1.2 ชุมชน/ อปท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนงาน/โครงการแบบบูรณาการ (เอดส์/สุขภาพจิต)3. ชุมชนมีมาตรการทางสังคม3.1 พัฒนาบทบาทการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยท้องถิ่น/ชุมชน3.1.1 ท้องถิ่น/รพ.สต.มอบอำนาจและสนับสนุนให้ท้องที่สร้างและดำเนินมาตรการทางสังคม3.1.2 สร้างระบบการควบคุม ติดตาม ประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.1.1สำนักวิชาการส่วนกลาง ถ่ายทอดนโยบาย/มาตรการ สนับสนุนข้อมูลด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิให้กับสำนักวิชาการระดับเขต3.1.1.2สำนักวิชาการระดับเขตสนับสนุนถ่ายทอดนโยบาย/มาตรการ สนับสนุนข้อมูลด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิให้กับท้องถิ่น3.1.1.3ท้องถิ่นมีมาตรการทางสังคมในการแก้ปัญหาเอดส์ ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติทางสังคมในกลุ่มผู้ติดเชื้อฯ /ผู้ป่วยและสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกต่อพนักงานบริการ3.1.1.4 ท้องถิ่นและหน่วยงานในพื้นที่ จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์3.1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต ร่วมกับท้องถิ่นสร้างเครื่องมือและใช้เครื่องมือติดตามประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.2.2 สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุนเครื่องติดตามประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย4. ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองที่มีประสิทธิภาพ4.1 พัฒนาคณะ อสม./ แกนนำ ให้สามารถคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศ / เอดส์ / สุขภาพและสภาวะแวดล้อม4.1.1 ท้องถิ่นมอบสนับสนุนภารกิจให้คณะ อสม./แกนนำสร้างโครงการและดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์4.1.2 คณะ อสม. /แกนนำรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคัดกรอง/เฝ้าระวังที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ4.1.3 สร้างระบบการประเมิน สนับสนุนบทบาทของคณะ อสม.ในการดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง4.1.1.1สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุนแบบการคัดกรอง เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ /แบบประเมินสุขภาพจิต4.1.1.2สำนักวิชาการระดับเขตร่วมกับท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพอสม./แกนนำในการใช้เครื่องมือคัดกรอง เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ /แบบประเมินสุขภาพจิต4.1.1.3 อสม./แกนนำ มีการนำเครื่องมือคัดกรอง เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ /แบบประเมินสุขภาพจิตไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย4.1.1.4สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต ประสานผลการคัดกรอง เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ /แบบประเมินสุขภาพจิตให้กับท้องถิ่นเพื่อนำไปใช้ประโยชน์4.1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลางพัฒนาวิทยากรกระบวนการที่เกี่ยวข้อง จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนให้กับสำนักวิชาการระดับเขต4.1.2.2 สำนักวิชาการระดับเขต พัฒนา วิทยากร/ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง และ จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนให้กับ รพ.สต. /ท้องถิ่น4.1.2.3 ท้องถิ่นพัฒนาให้ ครู /อสม./แกนนำเยาวชน เป็นวิทยากรจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ4.1.3.1สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุนแบบประเมินสุขภาพจิต4.1.3.2สำนักวิชาการระดับเขตร่วมกับท้องถิ่น อบรม  อสม./แกนนำ ในการใช้ แบบประเมินสุขภาพจิต4.1.3.3 อสม./แกนนำ  ที่ผ่านการอบรม นำแบบประเมินสุขภาพจิตไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายและส่งข้อมูลให้กับสำนักวิชาการระดับเขต4.1.3.4 สำนักวิชาการระดับเขต ร่วมกับท้องถิ่น ติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยง5. มีระบบสื่อสารสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ5.1 สร้างระบบการสื่อสารสุขภาพ/สภาวะแวดล้อมและการจัดการนวัตกรรมพฤติกรรมทางเพศและ เอดส์5.1.1 ใช้ประโยชน์จากสื่อสาธารณะและสื่อบุคคลเพื่อการสื่อสารเชิงการจัดการสุขภาพ/นวัตกรรม5.1.2 ปรับปรุงกระบวนการ/เทคนิค/อุปกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ5.1.3 สร้างนวัตกรรมด้านการสื่อสารสู่กลุ่มเป้าหมาย5.1.1.1 สำนักวิชาการส่วนกลางจัดทำสื่อต้นแบบและสนับสนุนสื่อสารสุขภาพ/พฤติกรรมทางเพศ และเอดส์โดยให้ เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายโดยผ่านระบบ Internet/TV/DVD5.1.1.2 ท้องถิ่นนำสื่อต้นแบบพฤติกรรมทางเพศและเอดส์  จัดพิมพ์และเผยแพร่5.1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลางส่งข้อมูลความรู้ด้านการป้องกันเอดส์ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น SMS , Internet & Social Network5.1.3.1สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต ร่วมกับท้องถิ่นจัดเวทีประกวดสื่อสร้างสรรค์ด้านเอดส์5.1.3.2ท้องถิ่นนำสื่อต้นแบบพฤติกรรมทางเพศและเอดส์  จัดพิมพ์และเผยแพร่6. บุคลากร/แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม6.1 สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2 เปิดการถ่ายทอดวิชาการ และประสบการณ์ในงานสร้างสุขภาพและป้องกันโรคระหว่างพื้นที่6.1.1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2.1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดการเรียนการสอนระหว่างพื้นที่6.1.1.1ท้องถิ่น/รพ.สต.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่อบรม ความรู้ ความเข้าใจเรื่อง การป้องกันเอดส์ให้ผู้นำชุมชน / แกนนำอสม. / นักเรียนแกนนำ เพื่อขยายงานป้องกันเอดส์สู่ชุมชน6.1.1.2 ท้องถิ่น/รพ.สต. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่อบรม ความรู้ ความเข้าใจเรื่อง โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนแก่ผู้บริหารโรงเรียน6.2.1.1สำนักวิชาการระดับเขต/ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อหาโรงเรียนนวัตกรรมต้นแบบ หรือ Best Practice  ที่มีศักยภาพโดดเด่นในเรื่อง การป้องกันเอดส์เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงานระหว่างกันภายในเครือข่ายและระหว่างเครือข่าย6.2.1.2สำนักวิชาการระดับเขต/ท้องถิ่น อบรม อสม/แกนนำ เรื่องเอดส์และทักษะการถ่ายทอดความรู้6.2.1.3 ท้องถิ่น จัดให้มีระบบจิตอาสา ในการรณรงค์ประเด็นโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.)ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง7.1 สร้างบันทึกข้อตกลงระหว่างสาขา7.1.1 ประชุมตกลงความร่วมมือระหว่างรพ.สต./ท้องถิ่น/ผู้นำชุมชน/อสม.7.1.2 กำหนดประเด็นการป้องกันและแก้ปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์7.1.1.1 สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต ติดตามระดับความสำเร็จ การดำเนินงานตาม มาตรฐานงานเอดส์ของ อปท.7.1.1.2 ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ชี้แจง นโยบาย พรบ./ภารกิจป้องกันเอดส์ของ อปท.7.1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลางและเขต อบรม ท้องถิ่น เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ต่อการสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ของแกนนำ ภาคี และองค์กรในชุมชน7.1.2.2 ท้องถิ่นบรรจุเรื่อง เอดส์อยู่ในแผนยุทธศาสตร์ตำบลและมีการผลักดันให้เป็นนโยบายอย่างต่อเนื่อง<br />การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่สำคัญของ<br />แผนปฏิบัติการพื้นฐาน (Road Map) พ.ศ. 2553 - 2554<br />(สำหรับฝ่ายวิชาการ) <br />ประเด็นเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง<br />015557500<br />ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย : คือ ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ซึ่งประกอบด้วย 1) กลุ่มปกติ อายุ 15 ปีขึ้นไป 2) กลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป 3) กลุ่มป่วย ด้วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง<br />กระบวนทัศน์/พฤติกรรมที่จะเปลี่ยน : คือ 1) การออกกำลังกาย อย่างน้อยวันละ 30 นาที/วัน จำนวน 5 วันต่อสัปดาห์   2)การรับประทานอาหาร เพิ่มการรับประทานผัก และผลไม้ ให้ได้ 5 ส่วน หรือ ทัพพี/วัน และลดการรับประทานอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม)    3)การจัดการภาวะเครียด / ซึมเคร้า โดยการฝึกหายใจช้า 10 ครั้ง / นาที หรือการฝึกสมาธิ หรือขอคำปรึกษาจากนักจิตวิทยา 4)การงดสูบบุหรี่ หรือหลีกเลี่ยงควันบุหรี่  5) การงดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ <br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1 พัฒนาระบบติดตาม ประเมิน และจัดการเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/นวัตกรรมพฤติกรรม1.1.1 ติดตามพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายด้วยตัวชี้วัดที่เหมาะสม ประกอบด้วย- กลุ่มปกติอายุ 15 ปีขึ้นไป- กลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป- กลุ่มผู้ป่วย1.1.2 ติดตามประเมินกระบวนการที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม1.1.3  แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1.1 กรมวิชาการสนับสนุนคู่มือแนวทางการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ1.1.1.2 รพ.สต. ร่วมกับชุมชนติดตามพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายด้วยตัวชี้วัดที่เหมาะสมในกลุ่มปกติอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง1.1.1.3 รพ.สต. ร่วมกับชุมชนติดตามพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 1.1.1.4 รพ.สต. ร่วมกับชุมชนติดตามพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มผู้ป่วยตามแผนการรักษา 1.1.1.5 รพ.สต. ใช้คู่มือ/แนวทางปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้าน             3 อ. 2 ส. / การให้การปรึกษา1.1.1.6  กรมวิชาการร่วมกับจังหวัด จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ1.1.1.7   กรมวิชาการร่วมกับพื้นที่ติดตามการดำเนินงานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน2.1 ปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.2 พัฒนาแผนงาน/โครงการใหม่ที่ริเริ่มและดำเนินการโดยชุมชน2.1.1 สร้างโครงการชุมชนด้วยรายละเอียดจากแผนปฏิบัติการ           (Micro-SLM)/ ตาราง 11 ช่อง2.1.2 ยืนยันว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับผล (อานิสงค์)จากโครงการชุมชนที่สนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรมสร้างโครงการของชุมชนใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่องสัมพันธ์กัน2.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนให้ท้องถิ่น/ตำบล ใช้ SLM ในการจัดทำแผนงานชุมชน2.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนให้รพ.สต./ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนพัฒนาศักยภาพแกนนำให้ใช้ข้อมูลเฝ้าระวังในการวางแผนงานโครงการชุมชน และปรับแผนงานทุกครึ่งปี2.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต/ จังหวัด สนับสนุนรพ.สต./ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดทำโครงการในพื้นที่3. ชุมชนมีมาตรการทางสังคม3.1 พัฒนาบทบาทการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยท้องถิ่น/ชุมชน3.1.1 อปท. ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ3.1.2 สร้างระบบกาควบคุมติดตามและประเมินผลการใช้มาตรการสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนให้ท้องถิ่น/รพ.สต. วิเคราะห์ข้อมูล/นำเสนอข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพให้ อปท. / ชุมชน3.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัดสนับสนุนให้ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์สร้างมาตรการทางสังคม3.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัดสนับสนุนสื่อเพื่อการรณรงค์เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม 3.1.1.4 รพ.สต. ให้มีข้อตกลงร่วมกันกับประชาชนในชุมชนในเรื่องการดูแลสุขภาพด้าน 3 อ.  2 ส.4. ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองที่มีประสิทธิภาพ4.1 พัฒนาคณะ อสม. / แกนนำ ให้สามารถคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาทางสุขภาพและสภาวะแวดล้อม4.1.1 ท้องถิ่นมอบอำนาจให้คณะอสม./แกนนำสร้างและดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง4.1.2 คณะ อสม./แกนนำ รับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคัดกรอง/เฝ้าระวังที่ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน4.1.3 สร้างระบบการประเมิน/สนับสนุนบทบาทของ อสม. ในการดำเนินการคัดกรอง4.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนแนวทางและเครื่องมือการคัดกรอง/เฝ้าระวังตามแบบVerbal Screening /แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม และ 9 คำถาม 4.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพอสม./แกนนำในการดูแลเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง  อ้วนลงพุง โรคซึมเศร้า4.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนแนวทาง / วิชาการในการจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพของประชาชน5. มีระบบสื่อสารสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ5.1 สร้างระบบการสื่อสารเกี่ยวกับสุขภาพ/สภาวะแวดล้อมและการจัดการนวัตกรรม5.1.1 ใช้ประโยชน์จากสื่อสาธารณะและสื่อบุคคลเพื่อการสื่อสารเชิงการจัดการสุขภาพ/นวัตกรรม5.1.2 ปรับปรุงกระบวนการเทคนิค สร้างอุปกรณ์/ที่มีประสิทธิภาพ5.1.3 สร้างนวัตกรรมด้านการสื่อสารสู่กลุ่มเป้าหมาย5.1.1.1  ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนเอกสารความรู้และสื่อ (แผ่นพับ ซีดี) ด้าน 3 อ. 2ส. และสุขภาพจิตให้ท้องถิ่น / รพ.สต. 5.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพอสม. / แกนนำด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์5.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนให้มีเวทีประกวดนวัตกรรมสื่อสารด้านสุขภาพชุมชน6. บุคลากร/แกนนำนำ มีสมรรถนะที่เหมาะสม6.1 สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2 เปิดการถ่ายทอดวิชาการและประสบการณ์ในงานสร้างสุขภาพและป้องกันโรคระหว่างพื้นที่6.1.1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.2 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดการเรียน การสอนระหว่างพื้นที่6.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนการสร้างวิทยากรระดับอำเภอและทีมงานเพื่อการดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนหลักสูตรและคู่มือในการเรียนการสอนของโรงเรียน นวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดเป็นที่ปรึกษา และสนับสนุนวิทยากรระดับจังหวัดให้โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.) ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง7.1 สร้างบันทึกข้อตกลงระหว่างสาขา7.1.1 ประชุมตกลงความร่วมมือระหว่าง รพ.สต./ท้องถิ่น/ผู้นำชุมชน/ สมอ.7.1.2 กำหนดประเด็นสุขภาพและสภาวะแวดล้อมบันทึกข้อตกลง7.1.1.1 กรมวิชาการเสนอเครื่องมือคัดกรองสุขภาพให้ อปท.7.1.1.2 กรมวิชาการเสนอแผนงานด้านสุขภาพ ระดับชาติ / ระดับภาคให้อปท.7.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนให้มีการจัดทำแผนงาน/โครงการ (P&P) <br />การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่สำคัญของ<br />แผนปฏิบัติการพื้นฐาน (Road Map) พ.ศ. 2553 - 2554<br />(สำหรับฝ่ายวิชาการ) <br />ประเด็นอาหารปลอดภัย<br />08890000<br />ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย :  คือ กลุ่มผู้บริโภค  กลุ่มผู้ประกอบการ<br />กระบวนทัศน์/พฤติกรรมที่จะเปลี่ยน : คือ 1) กลุ่มผู้บริโภค :มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ  2) กลุ่มผู้ประกอบการ  :  ผลิต จำหน่ายอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการแก่ผู้บริโภค<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ1.1.2 ติดตาม ประเมิน กระบวนการที่นำไปสู่การปรับกระบวนทัศน์และพฤติกรรม1.1.3 แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์พฤติกรรมบริโภคอาหาร และการผลิตจำหน่ายอาหารที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพแก่ชุมชน1.1.2.1 หน่วยงานส่วนกลางจัดทำคู่มือ แนวทางการดำเนินงาน และสื่อ ในการดำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารแก่ชุมชน  1.1.2.2  หน่วยงานส่วนกลางจัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงาน และสื่อ ในการวัดผลกระบวนการ การจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารแก่ชุมชน และวิธีการสรุปบทเรียน1.1.3.1 หน่วยงานส่วนกลางจัดทำเกณฑ์พื้นฐานในการค้นหาบุคคลต้นแบบเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้1.1.3.2  ศูนย์วิชาการระดับเขต  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริมการสร้างแกนนำชุมชนให้มีศักยภาพในการชักชวนให้คนในชุมชนสนใจการ<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรมเพิ่มขึ้น1.1.3.3  ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริมให้ชุมชนจัดเวทีสาธารณะเพื่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลความปลอดภัยด้านอาหาร และพฤติกรรมการบริโภคและสุขภาพชุมชน1.1.3.4  ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้  และศึกษาดูงานกับชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรมเพิ่มขึ้น2.ชุมชนมีโครงการ   ของชุมชนโดย   ชุมชน2.1 ปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่นให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.1.1 สร้างโครงการชุมชนด้วยรายละเอียดจากตาราง 11 ช่อง2.1.1.1  ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสร้างความรู้ ความเข้าใจการจัดทำแผนชุมชนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชนและบูรณาการโดยใช้ (Micro-SLM) ตาราง 11 ช่อง(เพื่อให้ชุมชนเข้ามาร่วมจัดทำแผนวิเคราะห์ปัญหาตั้งแต่แหล่งผลิตถึงโต๊ะอาหารคือตลอดห่วงโซ่อาหาร)<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ2.2. สร้างแผนงาน/โครงการใหม่ที่ริเริ่มและดำเนินการโดยชุมชน2.1.2  ยืนยันว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับผลประโยชน์จากโครงการชุมชนที่สนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม2.2.1 สร้างโครงการชุมชนใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน*โครงการที่เกี่ยวข้องกับโรคเรื้อรังในชุมชนจาพฤติกรรมการบริโภค* โครงการทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษอาหาร*โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัย*โครงการลดภาวะโลกร้อน*โครงการส่งเสริมการใช้เกลือไอโอดีนในชุมชน*โครงการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยโดยใช้ชุดทดสอบ<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ3. ชุมชนมีมาตรการทางสังคม3.1 พัฒนาบทบาทการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยท้องถิ่น/ชุมชน3.1.1 ท้องถิ่น/รพ.สต.มอบอำนาจและสนับสนุนให้ท้องที่สร้างและดำเนินมาตรการทางสังคม3.1.1.1  สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบอำนาจและสนับสนุนให้ชุมชนสร้างและดำเนินมาตรการทางสังคม  โดยให้ผู้นำชุมชน และ อสม. มีบทบาท ร่วมกันในการสร้างและใช้มาตรการด้านสังคมของชุมชน  3.1.1.2   ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนหลักเกณฑ์มาตรฐาน  ข้อมูลด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัยให้กับชุมชนเพื่อให้สามารถกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานร่วมกัน3.1.1.3   ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ3.1.2  สร้างระบบการควบคุม ติดตาม ประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.1.4  ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูลการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารโดยชุมชน  โดยระบุความเสี่ยงที่ชัดเจน3.1.2.1  ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ชุมชนสร้างเครื่องมือ   และวิธีการในการติดตามประเมินผลการสร้างและใช้มาตรการทางสังคม3.1.2.2   ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ชุมชนติดตามประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคม3.1.2.1  ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ชุมชนสร้างเครื่องมือ   และวิธีการในการติดตามประเมินผลการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ4.  ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองที่มีประสิทธิภาพ4.1 พัฒนาคณะอสม./แกนนำให้สามารถคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาทางสุขภาพและสภาวะแวดล้อม4.1.1 ท้องถิ่นมอบภารกิจให้คณะอสม./แกนนำสร้างโครงการและดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง3.1.2.2   ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ชุมชนติดตามประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคม4.1.1.1  ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ อสม.    เข้าใจบทบาทของตนเองในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมในชุมชน4.1.1.2  ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนความรู้ในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมในชุมชนแก่ อสม.4.1.1.3   ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนองค์ความรู้ความปลอดภัยด้านอาหารและ<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ4.1.2 คณะ อสม./แกนนำรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคัดกรอง/เฝ้าระวังที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนโภชนาการแก่ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค  4.1.1.4   ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการให้ความรู้เรื่องการตรวจสอบการโฆษณาแก่ผู้บริโภค4.1.2.1  หน่วยงานส่วนกลางจัดทำคู่มือการเฝ้าระวังและประเมินความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการ4.1.2.2   ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนวิทยากรและอุปกรณ์ในการอบรมการใช้ชุดทดสอบความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการแก่ อสม. โภชนาการที่เหมาะสมในชุมชนแก่ อสม.4.1.1.3   ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนองค์ความรู้ความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการแก่ผู้ประกอบ�
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...FURD_RSU
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...FURD_RSU
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยFURD_RSU
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...Pattie Pattie
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD_RSU
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)pomswu
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2reraisararat
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...นวพร คำแสนวงษ์
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 

Mais procurados (17)

หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลังหลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
หลักการและเหตุผลแผนอัตรากำลัง
 
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
การประยุกต์แผนที่วัฒนธรรมเพื่องานด้านการพัฒนาเมือง กรณีศึกษา iDiscover City W...
 
KM PULINET Nayika-150654
KM PULINET Nayika-150654KM PULINET Nayika-150654
KM PULINET Nayika-150654
 
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  (เชียงใ...
Policy brief แนวทางการพัฒนาภาคประชาสังคม ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใ...
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
 
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
0003
00030003
0003
 
FURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORTFURD SUMMIT 2016 REPORT
FURD SUMMIT 2016 REPORT
 
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
กรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง(ปรับปรุง)
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
นศ.331
นศ.331นศ.331
นศ.331
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ...
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 

Destaque

Destaque (7)

Dba ppd-fusion-sept-4-2012-5 b
Dba ppd-fusion-sept-4-2012-5 bDba ppd-fusion-sept-4-2012-5 b
Dba ppd-fusion-sept-4-2012-5 b
 
Lorenzo lanno toninelli
Lorenzo lanno toninelliLorenzo lanno toninelli
Lorenzo lanno toninelli
 
Sagd project courses
Sagd project courses Sagd project courses
Sagd project courses
 
Marfuri metalice
Marfuri metaliceMarfuri metalice
Marfuri metalice
 
Cmssupport247
Cmssupport247Cmssupport247
Cmssupport247
 
Urangua85 mongol orni an amitad hicheel
Urangua85 mongol orni an amitad hicheelUrangua85 mongol orni an amitad hicheel
Urangua85 mongol orni an amitad hicheel
 
Tarea 3.1
Tarea 3.1Tarea 3.1
Tarea 3.1
 

Semelhante a แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป

ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558pakpoom khangtomnium
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)Kanjana thong
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50Makin Puttaisong
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวTananya Jangouksom
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICTPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2กันย์ สมรักษ์
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักpromboon09
 

Semelhante a แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป (20)

ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
 
การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
 
strategy PR
 strategy PR strategy PR
strategy PR
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (พ.ศ.2560 - 2563)
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
News
NewsNews
News
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนา พ.ศ. 2560 - 2563
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
 
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชนคําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลักPmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
Pmt ผลการประชุม ร่างเป้าหมายและยุทธศาสตร์หลัก
 

Mais de สปสช นครสวรรค์

คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวสปสช นครสวรรค์
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จสปสช นครสวรรค์
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์สปสช นครสวรรค์
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56สปสช นครสวรรค์
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)สปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทสปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทสปสช นครสวรรค์
 

Mais de สปสช นครสวรรค์ (20)

3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
 
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
 
Ad
AdAd
Ad
 
Ad
AdAd
Ad
 
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
 
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
 
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
 
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
 
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
 
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอกประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
 
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
 

แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สำเร็จรูป

  • 1. แผนที่ทางเดินสำเร็จรูปจากส่วนกลาง เรียนท่านผู้อ่านทุกท่าน<br />เอกสารฉบับนี้เป็นฉบับดิจิตอลซึ่งผมได้รับจากกรมอนามัยผู้กรุณารวบรวม เอกสารนี้กำลังจัดพิมพ์เป็นเล่ม ซึ่งคาดว่าจะแล้วเสร็จ และส่งให้จังหวัดได้หลังปีใหม่ 2544 นี้<br />เอกสารจึงอาจมีบางส่วนที่ขาดหาย หากท่านมีความสงสัยประการใด กรุณาติดต่อกับคณะผู้เขียนโดยตรง<br />อย่างไรก็ดี เห็นว่าเอกสารจะเป็นประโยชน์ต่อท่านผู้กำลังปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ จึงขอส่งมาให้อ่านก่อนที่ฉบับจริงจะออกมา<br />โปรดสังเกตุว่า ช่องต่างๆโดยเฉพาะ ช่องที่ 1 ถึง 3 ควรยึดตามที่เอกสารได้กำหนดไว้ สำหรับมาตรการ(งาน)ทางวิชาการ (ช่อง 4 ) ควรใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงาน แต่จังหวัดรวมทั้งพื้นที่อาจจะขยายความ เพิ่มเติม รวมทั้งปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับบริบทได้<br /> อมร นนทสุต<br /> 12 ธันวาคม 2553<br />คำนำ<br />หนังสือเล่มนี้ ได้รวบรวมผลงานของกรมต่าง ๆ ในกระทรวงสาธารณสุขที่ได้ร่วมมือกันพิจารณาองค์ประกอบที่สำคัญของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ 4 ประการ ได้แก่<br />1. จุดหมายปลายทาง สำหรับระดับต่าง ๆ ของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ได้แก่ ระดับประชาชน ภาคี กระบวนการ และรากฐาน ทั้งหมดนี้ประกอบกันขึ้นเป็นจุดหมายปลายทางสุดท้าย คือ การที่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ<br />2. แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ฉบับบูรณาการ ซึ่งได้ยุบย่อ และบูรณาการมาจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับหลักของกรมวิชาการต่างๆ <br />3. ตารางนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ (ตาราง 11 ช่อง) ซึ่งให้รายละเอียดของแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ จนถึงรายการมาตรการทางวิชาการ (ช่องที่ 4)<br />4. แผนปฏิบัติการฉบับพื้นฐาน ซึ่งแสดง 7 กิจกรรมสำคัญในระดับประชาชน และภาคี ซึ่งได้มีการพิสูจน์แล้วว่าสามารถทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้จริง<br />ทั้ง 4 รายการนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะช่วยให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติในระดับท้องถิ่น ตำบลสามารถเปิดงานโครงการสุขภาพต่าง ๆ ตามความจำเป็นและบริบทของพื้นที่ได้โดยเร็ว เพียงแต่ทำงานต่อไปเกี่ยวกับรายละเอียดของตาราง 11 ช่องตั้งแต่ช่องที่ 5 มาตรการทางสังคมเป็นต้นไปจนครบทั้ง 11 ช่อง ท้องถิ่น ตำบล จะไม่ต้องกังวลกับเทคนิคของการสร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เพราะขั้นตอนเกี่ยวกับการสร้างแผนที่ฯได้ดำเนินการโดยระดับต่างๆขององค์กรสาธารณสุขมาแล้ว อีกประการหนึ่ง วัตถุประสงค์ของการสร้าง และใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ก็เพื่อให้หน่วยงานท้องถิ่น ตำบล และชุมชนสามารถผลิตโครงการและผลงานที่มีความสมบูรณ์ สามารถบรรลุสู่จุดหมายปลายทางคือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย มากกว่าการมีเครื่องมือบริหารจัดการที่สวยหรูคือ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์<br />อย่างไรก็ดี หากท้องถิ่น/ตำบลเห็นว่าควรปรับแก้เอกสารเหล่านี้ให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ก็อาจจะกระทำได้ แต่ควรยกเว้นไม่แก้จุดหมายปลายทาง หรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ซึ่งจะใช้ร่วมกันทั้งประเทศ วิธีการที่แนะนำคือ ให้ลดระดับจุดหมายปลายทางหรือเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ลงเป็นกลยุทธ์หรือกิจกรรม แล้วไปกำหนดไว้ในตาราง 11 ช่อง ช่องที่ 3 หรือ 4 ตามลำดับ<br />เมื่อเปิดงานตามแผนงานโครงการแล้ว ควรบันทึกข้อสังเกตต่าง ๆ ทั้งบวกและลบ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงระบบต่อไปในอนาคต<br /> ผู้เขียนขอถือโอกาสนี้ขอบคุณคณะผู้จัดทำเอกสารทั้งสี่ฉบับ รวมทั้งท่านผู้บริหารของกระทรวงสาธารณสุข ตลอดจนองค์กร หน่วยงานต่าง ๆ และชุมชน ที่มีส่วนทำให้งานชิ้นนี้เป็นรูปร่าง มีความสมบูรณ์ในระดับที่น่าพอใจ<br /> อมร นนทสุต<br /> 9 /8/2553<br />คำบรรยายในพิธีเปิดการประชุมการพัฒนามาตรการทางวิชาการในแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์<br />ของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในกองทุนสุขภาพตำบล<br />กรมอนามัยและกรมควบคุมโรค ได้เรียนรู้การจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM) และแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (Strategic linkage model : SLM) เพื่อเป็นเครื่องมือบริหารจัดการของการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน และพัฒนาบทบาทประชาชนให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างยั่งยืน และได้นำร่องศึกษาในพื้นที่โดยการบูรณาการร่วมกันของทั้ง 2 กรม ร่วมกับศูนย์วิชาการเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแกนนำชุมชนบังเกิดกระบวนการพัฒนาชุมชนอย่างมีส่วนร่วม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จนได้แนวทางการพัฒนาของการกำหนดบทบาทบุคลากรรัฐ บทบาทท้องถิ่น และบทบาทชุมชนได้อย่างชัดเจน<br />ในพื้นที่นำร่องภาคีที่ได้ร่วมกันพัฒนา ได้กำหนดประเด็นของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอันเป็นสาเหตุหลักของปัญหาสุขภาพ 9 ประเด็น คือ 1. ไข้เลือดออก 2. เอดส์ 3. เบาหวานและความดันโลหิตสูง 4. อาหารปลอดภัยและโภชนาการ 5. ขยะชุมชน 6. อนามัยแม่และเด็ก 7. สุขภาพวัยเรียนและวัยรุ่น 8. สุขภาพผู้สูงอายุ 9. ภาวะซึมเศร้าและฆ่าตัวตาย ประเด็นดังกล่าวได้ถ่ายระดับสู่เขตสาธารณสุขและจังหวัด/เพื่อเริ่มขยายผลในกองทุนสุขภาพตำบลบ้างแล้ว อนาคตจะเพิ่มประเด็นการควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน เพื่อพัฒนาสติปัญญาคนไทย ซึ่งเป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล<br />การจัดทำแผนสุขภาพชุมชนให้บรรลุวัตถุประสงค์ ด้วยการทำตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์ของแผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (ตาราง 11 ช่อง) ให้สมบูรณ์ ซึ่งตารางช่องที่ 1 – 3 ได้แก่ 1. เป้าประสงค์ 2. กลยุทธ์สำคัญ 3. กิจกรรมสำคัญ ได้จัดทำเป็นแนวทางเดียวกันแล้วโดยกรมวิชาการ นักวิชาการสาธารณสุขและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย จะมาร่วมแรง ร่วมใจกันจัดทำมาตรการทางวิชาการในวันนี้ เพื่อส่งมอบให้ท้องถิ่น แกนนำชุมชน และประชาชน ได้ร่วมกันเติมเต็มตารางช่องที่ 5 คือ มาตรการทางสังคม และกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ ปัจจัยความสำเร็จ งบประมาณ และผู้รับผิดชอบในตารางช่องที่ 6 – 11 ให้สมบูรณ์<br />ประเด็นทั้ง 10 ของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างยั่งยืน ในส่วนของมาตรการของวิชาการที่กระทรวงสาธารณสุขได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องนั้น มีภาพรวมที่ได้ดำเนินการไว้ ดังนี้<br />1) การพัฒนาเครือข่ายและทีมงาน ปัจจัยสำคัญแห่งการรวมพลัง ทำงานให้เกิดผลด้วยจุดประสงค์ร่วม เปิดใจ ให้เกียรติกัน รับฟังความคิดเห็นอย่างตั้งใจ และสร้างความไว้วางใจกันและกัน<br />2) การพัฒนาศักยภาพ เป็นการเสริมสร้างสมรรถนะตามความต้องการของผู้รับการพัฒนาเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องร่วมกัน และพึ่งพากันและกันเป็นเครือข่าย<br />3) การสร้างกระแสสังคม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมควรใช้ยุทธศาสตร์ทั้ง 2 ส่วน คือ การสร้างกระแสผ่านสื่อสาธารณะ (Air campaign) และการสร้างกระแสในแนวราบในพื้นที่ (Ground campaign) <br />4) การสนับสนุนองค์ความรู้และสื่อให้พื้นที่และชุมชน ควรจัดทำเพื่อใช้ประโยชน์ได้อย่างครบถ้วน ถูกต้อง และทันเวลา ด้วยหลัก 4 C คือ ชัดเจน (clear) กระชับ (Concise) เข้าใจง่าย (Concrete) และสมบูรณ์ (Complete) <br />5) การนิเทศติดตาม คือ การสร้างแรงจูงใจอย่างกัลยาณมิตรเพื่อการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ด้วยบุคลิกน่ารัก น่าเคารพ น่าเจริญใจ พูดจาให้ได้ผล อดทนต่อถ้อยคำ แถลงเรื่องล้ำลึกได้ พูดจาแยบคาย และไม่ชักนำทางอบาย<br />6) การค้นหาการปฏิบัติที่ดี ด้วยการเรียนรู้ความดีงามที่ได้ปฏิบัติจนสำเร็จและนำความรู้ที่ได้รับมาปรับปรุงในสอดคล้องกันแต่ละพื้นที่ ด้วยหัวใจแห่งนักปราชญ์ทั้ง สุตะ จินตนะ ปุจฉา และลิขิต <br />7) การเสริมสร้างพลังชุมชน ซึ่งมิใช่เรื่องยากเพียงแต่เข้าใจคน เข้าใจชุมชนแล้วค้นหาความดีงามในชุมชน กำหนดทิศทางที่ชุมชนคาดหวัง ออกแบบการทำงานร่วมกันและกระตุ้นให้ชุมชนจัดทำมาตรการทางสังคมร่วมกัน<br />มาตรการทางวิชาการทั้ง 7 ประการข้างต้น เป็นต้นทางแห่งการขับเคลื่อนสังคม ผนวกกับพลังชุมชนที่จะวางทิศทางมาตรการทางสังคม จึงจะส่งผลต่อความสำเร็จของการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ซึ่งพวกเราควรจะช่วยกันจัดทำคู่มือปฏิบัติงานของการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ด้วยแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์<br />วันนี้พวกเราจะร่วมมือกัน ออกแบบ (Design) ตัดสินใจ (Decide) ทุ่มเท (Devote) และปิติร่วมกัน (Delight) ให้ชุมชนและประชาชนได้ใช้ศักยภาพแห่งชุมชน เพื่อสุขภาพที่ดีและคุณภาพชีวิตแห่งมวลหมู่คนไทย <br /> สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์<br /> รองอธิบดีกรมอนามัย<br /> 16 กรกฎาคม 2553<br /> <br />การกำหนดมาตรการทางวิชาการเพื่อสนับสนุนการขยายงาน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM) สู่การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ปี 2553<br />01079500<br />ในการสร้างและใช้แผนปฏิบัติการนั้น ได้ปรับปรุงโดยลดส่วนของแผนปฏิบัติการที่ไม่จำเป็นลง (แต่ไม่ได้ตัดออกทั้งหมด) ได้แก่ แผนปฏิบัติการของระดับกระบวนการและพื้นฐาน เหตุผลคือ ในระดับทั้งสองนั้น องค์กรต่าง ๆ โดยเฉพาะของกระทรวงสาธารณสุขได้ทำการพัฒนาตลอดเวลาอยู่แล้ว แผนปฏิบัติการยุคใหม่จึงไม่เน้นที่การพัฒนาระดับทั้งสอง แต่จะเน้นไปที่การพัฒนาที่จำเป็นในระดับประชาชนและภาคี (ที่อยู่นอกกระทรวงสาธารณสุข) เพื่อให้บรรลุจุดหมายปลายทางที่ต้องการ ซึ่งจุดหมายปลายทางที่ได้ตัดสินใจ และกำหนดร่วมกัน ดังนี้<br />นอกจากนี้ได้พัฒนาแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ขึ้นมาใหม่ โดยในภาพแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ (SLM) จะแสดง Road Map ไว้ด้วย คือเส้นหนา ซึ่งแนะนำให้ใช้ก่อนเพื่อให้สามารถทำงานไปจนถึงขั้นการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์และพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นจุดหมายปลายทางอย่างเร็วที่สุด อย่างไรก็ดี เมื่อสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้แล้ว ต้องย้อนกลับมาสร้างแผนปฏิบัติการให้กับกล่องเป้าประสงค์ที่เหลืออยู่ให้เต็มทั้งภาพแผนที่ ฯ เพื่อป้องกันการล้มเหลวหรือคืนกลับสู่สถานะเดิมในภายหลัง <br />หลังจากที่มีแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการร่วม (SLM) แล้ว ก็ได้พัฒนาแผนปฏิบัติการพื้นฐาน(ตาม Road map) โดยได้กำหนดกิจกรรมสำคัญของเป้าประสงค์ต่างๆ ในระดับประชาชนและภาคี (เฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานสาธารณสุขกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) กิจกรรมสำคัญดังกล่าวมี 7 ประการ<br />3604260-7620(Micro SLM)00(Micro SLM)<br />ตารางนิยาม(ตาราง 11 ช่อง)<br />ได้มีการปรับปรุงวิธีสร้างตาราง 11 ช่องใหม่ สำหรับใช้โดยผู้ปฏิบัติระดับท้องถิ่น/ตำบล เพื่อความสะดวกรวดเร็วสำหรับผู้ปฏิบัติในระดับปลายซึ่งช่องที่ 1 – 4 ได้ทำเสร็จรูปไว้แล้ว โดยศูนย์ฯ / สำนัก / กอง / ในระดับส่วนกลาง/เขต / ภาค ของกรมวิชาการต่าง ๆ เพื่อส่งต่อไปยังจังหวัดผ่านไปยังอำเภอถึงท้องถิ่น / ตำบลได้เติมเต็ม<br />- ช่องที่ 5 จำเป็นต้องไปทำในพื้นที่ เพราะต้องผ่านการพิจารณารวมทั้งให้ความเห็นชอบของผู้บริหารและผู้นำในระดับนั้น อย่างไรก็ดี ฝ่ายบริหารสามารถแนะนำได้ เพราะงานทางสังคมต้องมีพื้นฐานทางวิชาการกำกับด้วย<br />- ช่องที่ 6 ตัวชี้วัดผลงาน งานในระดับประชาชนจะเป็นตัวกำหนดว่าจะใช้ตัวชี้วัดผลงานอะไร ดังนั้น งานที่จะนำมาสร้างตัวชี้วัดจะมาจากช่องที่ 5 ซึ่งเป็นงานทางสังคม<br />- ช่องที่ 7 ตัวชี้วัดผลสำเร็จ เนื่องจากเป็นงานระดับประชาชน ตัวชี้วัดนี้จะได้มาจากงานทางสังคม (ช่องที่ 5) เป็นสำคัญ<br />- ช่องที่ 8 - 11 ผู้ปฏิบัติจะเติมเต็มได้ จนครบถ้วน<br /> <br />ต่อไปนี้เป็นการนิยมเป้าประสงค์ของแผนที่ SLM (ตาราง 11 ช่อง) ที่ได้ทำเสร็จรูปไว้แล้วใน 8 ประเด็น โดยมีนิยามเป้าประสงค์ประชาชนกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ / พฤติกรรมว่าแต่ละประเด็น ประชาชนกลุ่มเป้าหมายคือใคร และ กระบวนทัศน์ / พฤติกรรมที่จะเปลี่ยนคืออะไร ? ดังนี้<br />1. โรคไข้เลือดออก<br /> 2. โรคเอดส์<br />3. เบาหวาน / ความดันโลหิตสูง<br />4. อาหารปลอดภัย/โภชนาการ<br />5. ขยะชุมชน<br />6. อนามัยแม่และเด็ก<br />7. วัยเรียน/วัยรุ่น<br />8. สุขภาพผู้สูงอายุ <br />125730023304500<br />การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่สำคัญของแผน<br />ปฏิบัติการพื้นฐาน (Road Map) 2553-2554<br />(สำหรับฝ่ายวิชาการ) ประเด็นโรคไข้เลือดออก<br />012382500<br />ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย : คือ ประชาชน แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว ,แกนนำชุมชน(แต่งตั้งเป็นทางการไม่เป็นทางการ) แกนนำนักเรียนระดับ ประถม มัธยม<br />กระบวนทัศน์/พฤติกรรมที่จะเปลี่ยน : คือ 1) ป้องกันยุงกัด 2) กำจัดลูกน้ำ 3) ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุง 4)ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1 พัฒนาระบบติดตาม ประเมิน และจัดการนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1 ติดตามพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายด้วยตัวชี้วัดที่เหมาะสม1.1.2 ติดตาม ประเมินกระบวนการที่นำไปสู่การปรับกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.3 แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1.1 สำนักโรคติดต่อกำหนดตัวชี้วัด (HI H2 CI BI)1.1.1.2 สำนักงานป้องกันและควบคุมโรค (สคร.)ถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่กลุ่มเป้าหมาย1.1.1.3. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)สำรวจประเมินตามตัวชี้วัด1.1.1.4. สาธารณสุขอำเภอ( สสอ.) ประเมินผลและถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่หน่วยงานอื่น1.1.2.1 สำนักโรคติดต่อจัดทำคู่มือ แนวทางการประเมิน1.1.2.2 . สำนักงานป้องกันและควบคุมโรค (สคร.)อบรมกลุ่มเป้าหมาย1.1.2.3 อพจ. ประเมินผลกระบวนการ1.1.3.1 อบต. สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้1.1.3.2 อบต.ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออกและสร้างความตระหนักในการดูแลชุมชน1.1.3.3 อบต.สนับสนุนให้มีการนำข้อมูลไปใช้การวางแผนแก้ไข ปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน1.1.3.4 อบต. ถอดบทเรียนผลการดำเนินงาน2.ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน2.1 ปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่นให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.2. สร้างแผนงาน/โครงการใหม่ที่ริเริ่มและดำเนินการโดยชุมชน2.1.1 สร้างโครงการชุมชนด้วยรายละเอียดจากตาราง 11 ช่อง2.1.2 ยืนยันว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับผลประโยชน์จากโครงการชุมชนที่สนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม2.2.1 สร้างโครงการชุมชนใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน2.1.1.1 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.)สนับสนุนให้มีการเปิดเวทีเพื่อรวบรวมข้อมูล สภาพปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ 2.1.1.2 . รพ.สต./ สอ.ถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ โดยใช้ตาราง 11 ช่อง SLM โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม2.1.1.3 รพ.สต.จัดทำแผนงาน โครงการโดยชุมชน2.1.2.1 อบต.มีการตรวจสอบแผนยืนยันกลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์จากโครงการ2.1.2.2 . อบต.มีการประเมินผลการดำเนินงานตามโครงการ2.2.1.1 อบต.ส่งเสริมให้ชุมชนประดิษฐ์ค้นคว้า นวัตกรรมใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการแก้ไขปัญหา2.2.1.2 อบต.บูรณาการและสร้างความเชื่อมโยงโครงการกำจัด ขยะในชุมชนหรือโครงการอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก2.2.1.3 อบต.ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนโรคไข้เลือดออก ในโรงเรียน3. ชุมชนมีมาตรการทางสังคม3.1 พัฒนาบทบาทการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยท้องถิ่น/ชุมชน3.1.1 ท้องถิ่น/รพ.สต.มอบอำนาจและสนับสนุนให้ท้องที่สร้างและดำเนินมาตรการทางสังคม3.1.2 สร้างระบบการควบคุม ติดตาม ประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.1.1 อบต. ผลักดัน ส่งเสริม บทบาทของท้องถิ่นในการสร้างข้อตกลงร่วมกัน3.1.1.2 . อบต. สนับสนุนการจัดทำข้อบังคับระดับหมู่บ้าน 3.1.1.3 อบต. สนับสนุนการจัดทำข้อบัญญัติระดับชุมชนหรือ ตำบล3.1.2.1 อบต. ส่งเสริมแรงจูงใจให้ใช้ข้อบังคับ/ข้อบัญญัติของชุมชน3.1.2.2 . อบต. แต่งตั้งคณะทำงานติดตามประเมินผลการใช้ข้อบังคับ/ข้อบัญญัติ3.1.2.3 อบต. สนับสนุนเครื่องมือ/คู่มือติดตามประเมินผลให้สอดคล้องกับ มาตรการทางสังคม3.1.2.4 อบต.กำหนดวิธีการใช้เครื่องมือ ความถี่ในการประเมินและ สรุปผล4. ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองที่มีประสิทธิภาพ4.1 พัฒนาคณะอสม./แกนนำให้สามารถคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาทางสุขภาพและสภาวะแวดล้อม4.1.1 ท้องถิ่นมอบภารกิจให้คณะอสม./แกนนำสร้างโครงการและดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง4.1.2 คณะอสม./แกนนำรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคัดกรอง/เฝ้าระวังที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน4.1.3 สร้างระบบการประเมิน สนับสนุนบทบาทของคณะอสม.ในการดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง4.1.1.1 อบต. สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์เฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกในชุมชน เช่น ระบบรายงานโรค , การแจ้งการเกิด ,การคัดกรองผู้ป่วย ระบบส่งต่อ การเปิด war room เมื่อมีการะบาด4.1.1.2 อบต.สนับสนุนให้มีระบบการสอบสวนโรคเฝ้าระวังควบคุมโรคในชุมชน ทีม SRRT ภาคประชาชนทั้งในระยะปกติและเมื่อมีสถานการณ์ระบาด4.1.1.3 รพ.สต.พัฒนาองค์ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคในชุมชน4.1.2.1 อบต.สนับสนุนส่งเสริมให้มีการศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน นอกสถานที่ Best Practiceเรื่อง การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก4.1.3.1 อบต./รพ.สต.สนับสนุนเครื่องมือ/คู่มือ/แนวทางการประเมินการคัดกรองการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก5. มีระบบสื่อสารสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ5.1 สร้างระบบการสื่อสารสุขภาพ/สภาวะแวดล้อมและการจัดการนวัตกรรม5.1.1 ใช้ประโยชน์จากสื่อสาธารณะและสื่อบุคคลเพื่อการสื่อสารเชิงการจัดการสุขภาพ/นวัตกรรม5.1.2 ปรับปรุงกระบวนการ/เทคนิค/อุปกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ5.1.3 สร้างนวัตกรรมด้านการสื่อสารสู่กลุ่มเป้าหมาย5.1.1.1 สคร.พัฒนาทักษะการสื่อสารสาธารณะ/ ภาวะผู้นำ5.1.1.2 สคร. พัฒนาระบบการสื่อสารให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชุมชน5.1.2.1 อบต. สนับสนุนการจัดทำสื่อท้องถิ่นให้สอดคล้องกับพื้นที่5.1.2.2 อบต. สนับสนุนช่องทางสื่อสารในชุมชนที่หลากหลายและมีความเหมาะสม5.1.3.1 อบต. สนับสนุนหลักสูตรการจัดทำสื่อต้นแบบสำหรับชุมชน5.1.3.2 อบต. สนับสนุนการนำระบบ GIS มาใช้บริหารจัดการข้อมูลโรคไข้เลือดออกและค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายระดับชุมชน6. บุคลากร/แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม6.1 สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2 เปิดการถ่ายทอดวิชาและประสบการณ์ในงานสร้างสุขภาพและป้องกันโรคระหว่างพื้นที่6.1.1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2 1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดการเรียนการสอนระหว่างพื้นที่6.1.1.1 อบต./รพ.สต.สนับสนุนให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.1.2อบต.สนับสนุนการจัดทำแผนงานโครงการจัดตั้ง โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.1.3 รพ.สต.สนับสนุนองค์ความรู้/สื่อในการจัดการโรคไข้เลือดออก6.1.1.4. อบต.ส่งเสริมให้มีการจัดทำปฏิทิน การจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโรงเรียน6.1.1.5 นิเทศ ติดตามประเมินผลโดยวิทยากร กรรมการ ระดับเขต6.2.1.1อบต. ส่งเสริมการจัดทำแผนเตรียมพร้อมรับการเรียน การสอนและศึกษาดูงาน6.2.1.2. อบต. สนับสนุนการจัดทำเกณฑ์และประเมินผล มาตรฐานของโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง7.1 สร้างบันทึกข้อตกลงระหว่างสาขา7.1.1 ประชุมตกลงความร่วมมือระหว่าง รพ.สต./ท้องถิ่น/ผู้นำชุมชน/อสม.7.1.2 กำหนดประเด็นสุขภาพและสภาวะแวดล้อมที่จะพัฒนาร่วมกัน7.1.1.1 อบต. สนับสนุนการจัดตั้งคณะกรรมการ โดยผู้มีอำนาจระดับอำเภอ 7.1.1.2 อบต. สนับสนุนการจัดทำข้อตกลงร่วมกัน (MOU)7.1.1.3 อบต. สนับสนุน/ส่งเสริม ให้มีการจัดทำแผนของท้องถิ่นโดยใช้ SLM แบบมีส่วนร่วม7.1.2.1 อบต./รพ.สต.สนับสนุนและส่งเสริมข้อมูล/คุณลักษณะของเครื่องมือ อุปกรณ์ สารเคมีที่ได้ มาตรฐาน ที่ใช้ในการ ควบคุมโรคไข้เลือดออก7.1.2.2 หน่วยงานส่วนกลางสนับสนุนความรู้ วิชาการ เกี่ยวกับเทคนิคการพ่นสารเคมี ที่ใช้ในการควบคุมพาหะ7.1.2.3 หน่วยงานส่วนกลางเสนอข้อมูล ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก ให้คณะกรรมการรับทราบ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ7.1.2.4 ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ7.1.2.5. อบต. ส่งเสริมให้มีการทำวิจัยที่เป็นประเด็นโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่<br /> <br />การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่สำคัญ<br />ของแผนปฏิบัติการพื้นฐาน (Road Map) พ.ศ. 2553 - 2554 <br />(สำหรับฝ่ายวิชาการ) <br />ประเด็นโรคเอดส์<br />08890000<br />ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย : ตามแผนเอดส์ชาติ<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1 พัฒนาระบบติดตาม ประเมิน และจัดการนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1 ติดตามพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายด้วยตัวชี้วัดที่เหมาะสมประกอบด้วย1.อัตราการใช้ถุงยางอนามัยในกลุ่มเยาวชน 2. ความรู้ ความเข้าใจเรื่องเอดส์ที่ถูกต้อง 3. อัตราการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน 4. อัตราการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นที่อายุน้อยกว่า20 ปี1.1.2 ติดตาม ประเมินกระบวนการที่นำไปสู่การปรับกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.3 แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1.1 สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต/พื้นที่ร่วมจัดทำระบบติดตามประเมินผล แผนงาน/โครงการ แก้ปัญหาเอดส์ อื่น ๆ1.1.1.2 สำนักวิชาการระดับเขตร่วมกับสถานศึกษา/หน่วยงานในพื้นที่ จัดอบรมเรื่องเอดส์/การให้การปรึกษาเรื่องเพศ ให้กับครู บุคลากรสาธารณสุข /อปท./ อสม. / ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย และผู้เกี่ยวข้อง1.1.1.3 สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุน รูปแบบ/ แนวทาง /มาตรฐาน/ มาตรการ/ คู่มือ และ แบบประเมินสุขภาพจิต1.1.2.1 สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุนเครื่องมือในการติดตามประเมินผลการดำเนิน1.1.2.2 สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต ร่วมติดตามประเมินผล แผนงาน/โครงการ กับหน่วยงานในพื้นที่1.1.2.3 สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต ประสานสถานการณ์ไปยังพื้นที่ระดับจังหวัดเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา1.1.3.1 สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขตร่วมกับท้องถิ่น จัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์/ศึกษาดูงาน/ประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม1.1.3.2 สำนักวิชาการส่วนกลางจัดทำคลังความรู้เพื่อเผยแพร่สถานการณ์โรคเอดส์ สภาวะสุขภาพทางเพศของเยาวชนกลุ่มเสี่ยงและกิจกรรมเพื่อให้เยาวชนเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายหรือผ่านระบบ Internet1.1.3.3 อปท.จัดจุดบริการ คู่มือ แนวทาง / รูปแบบ / มาตรฐาน/ Condom point ติดตั้งตู้ถุงยางอนามัยในชุมชนเพื่อแจกถุงยางอนามัยฟรีที่ศูนย์ ศสมช. หรืออื่น ๆตามที่ชุมชนกำหนด2. ชุมชนมีโครงการแก้ปัญหาเอดส์ของชุมชนโดยชุมชน2.1 ปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่นให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.2. สร้างแผนงาน/โครงการใหม่ที่ริเริ่มและดำเนินการโดยชุมชน2.1.1 สนับสนุนปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่น โดยใช้ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.1.2 ติดตาม ประเมินผล โครงการป้องกันและแก้ปัญหาเอดส์ในชุมชนเพื่อยืนยันว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับผลประโยชน์จากโครงการชุมชนที่สนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม2.2.1 สร้างโครงการชุมชนใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน2.1.1.1 สำนักวิชาการระดับเขตร่วมกับ อปท. สนับสนุนให้แกนนำจัดทำเวทีประชาคม /เวทีสาธารณะเพื่อวิเคราะห์ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพทางเพศและจัดทำแผนชุมชนป้องกัน และแก้ปัญหาพฤติกรรมทางเพศ/เอดส์ในชุมชน และ ด้านเอดส์ เพศศึกษาใน เยาวชน โดยใช้กระบวนการ SLM. ให้ครอบคลุมมิติทางกายและจิตใจ2.1.1.2 ท้องถิ่น /รพ.สต. ควรมีแผนงาน/โครงการป้องกันแก้ปัญหาเอดส์ร่วมกัน2.1.1.3 สำนักวิชาการระดับเขต ร่วมกับท้องถิ่น สร้าง/พัฒนาเครือข่ายสัมพันธ์ด้านเอดส์ในชุมชนเพื่อให้เกิดความยั่งยืน2 .1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต สนับสนุนเครื่องมือ / แนวทาง การติดตามประเมินผล แผนงาน/โครงการ กับหน่วยงานในพื้นที่2.1.2.2 สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต ร่วมติดตามประเมินผล แผนงาน/โครงการ กับหน่วยงานในพื้นที่2.2.1.1 สำนักวิชาการส่วนกลาง /เขต ประสาน นโยบาย /สถานการณ์ไปยังพื้นที่ระดับจังหวัดเพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำแผนงาน/โครงการ2.2.1.2 ชุมชน/ อปท. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแผนงาน/โครงการแบบบูรณาการ (เอดส์/สุขภาพจิต)3. ชุมชนมีมาตรการทางสังคม3.1 พัฒนาบทบาทการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยท้องถิ่น/ชุมชน3.1.1 ท้องถิ่น/รพ.สต.มอบอำนาจและสนับสนุนให้ท้องที่สร้างและดำเนินมาตรการทางสังคม3.1.2 สร้างระบบการควบคุม ติดตาม ประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.1.1สำนักวิชาการส่วนกลาง ถ่ายทอดนโยบาย/มาตรการ สนับสนุนข้อมูลด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิให้กับสำนักวิชาการระดับเขต3.1.1.2สำนักวิชาการระดับเขตสนับสนุนถ่ายทอดนโยบาย/มาตรการ สนับสนุนข้อมูลด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิให้กับท้องถิ่น3.1.1.3ท้องถิ่นมีมาตรการทางสังคมในการแก้ปัญหาเอดส์ ลดการตีตราและเลือกปฏิบัติทางสังคมในกลุ่มผู้ติดเชื้อฯ /ผู้ป่วยและสร้างภาพลักษณ์เชิงบวกต่อพนักงานบริการ3.1.1.4 ท้องถิ่นและหน่วยงานในพื้นที่ จัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์3.1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต ร่วมกับท้องถิ่นสร้างเครื่องมือและใช้เครื่องมือติดตามประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.2.2 สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุนเครื่องติดตามประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย4. ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองที่มีประสิทธิภาพ4.1 พัฒนาคณะ อสม./ แกนนำ ให้สามารถคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศ / เอดส์ / สุขภาพและสภาวะแวดล้อม4.1.1 ท้องถิ่นมอบสนับสนุนภารกิจให้คณะ อสม./แกนนำสร้างโครงการและดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์4.1.2 คณะ อสม. /แกนนำรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคัดกรอง/เฝ้าระวังที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ4.1.3 สร้างระบบการประเมิน สนับสนุนบทบาทของคณะ อสม.ในการดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง4.1.1.1สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุนแบบการคัดกรอง เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ /แบบประเมินสุขภาพจิต4.1.1.2สำนักวิชาการระดับเขตร่วมกับท้องถิ่น พัฒนาศักยภาพอสม./แกนนำในการใช้เครื่องมือคัดกรอง เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ /แบบประเมินสุขภาพจิต4.1.1.3 อสม./แกนนำ มีการนำเครื่องมือคัดกรอง เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ /แบบประเมินสุขภาพจิตไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย4.1.1.4สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต ประสานผลการคัดกรอง เฝ้าระวังปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ /แบบประเมินสุขภาพจิตให้กับท้องถิ่นเพื่อนำไปใช้ประโยชน์4.1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลางพัฒนาวิทยากรกระบวนการที่เกี่ยวข้อง จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนให้กับสำนักวิชาการระดับเขต4.1.2.2 สำนักวิชาการระดับเขต พัฒนา วิทยากร/ กระบวนการที่เกี่ยวข้อง และ จัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนให้กับ รพ.สต. /ท้องถิ่น4.1.2.3 ท้องถิ่นพัฒนาให้ ครู /อสม./แกนนำเยาวชน เป็นวิทยากรจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ4.1.3.1สำนักวิชาการส่วนกลางสนับสนุนแบบประเมินสุขภาพจิต4.1.3.2สำนักวิชาการระดับเขตร่วมกับท้องถิ่น อบรม อสม./แกนนำ ในการใช้ แบบประเมินสุขภาพจิต4.1.3.3 อสม./แกนนำ ที่ผ่านการอบรม นำแบบประเมินสุขภาพจิตไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายและส่งข้อมูลให้กับสำนักวิชาการระดับเขต4.1.3.4 สำนักวิชาการระดับเขต ร่วมกับท้องถิ่น ติดตามประชาชนกลุ่มเสี่ยง5. มีระบบสื่อสารสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ5.1 สร้างระบบการสื่อสารสุขภาพ/สภาวะแวดล้อมและการจัดการนวัตกรรมพฤติกรรมทางเพศและ เอดส์5.1.1 ใช้ประโยชน์จากสื่อสาธารณะและสื่อบุคคลเพื่อการสื่อสารเชิงการจัดการสุขภาพ/นวัตกรรม5.1.2 ปรับปรุงกระบวนการ/เทคนิค/อุปกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ5.1.3 สร้างนวัตกรรมด้านการสื่อสารสู่กลุ่มเป้าหมาย5.1.1.1 สำนักวิชาการส่วนกลางจัดทำสื่อต้นแบบและสนับสนุนสื่อสารสุขภาพ/พฤติกรรมทางเพศ และเอดส์โดยให้ เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายโดยผ่านระบบ Internet/TV/DVD5.1.1.2 ท้องถิ่นนำสื่อต้นแบบพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ จัดพิมพ์และเผยแพร่5.1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลางส่งข้อมูลความรู้ด้านการป้องกันเอดส์ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น SMS , Internet & Social Network5.1.3.1สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต ร่วมกับท้องถิ่นจัดเวทีประกวดสื่อสร้างสรรค์ด้านเอดส์5.1.3.2ท้องถิ่นนำสื่อต้นแบบพฤติกรรมทางเพศและเอดส์ จัดพิมพ์และเผยแพร่6. บุคลากร/แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม6.1 สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2 เปิดการถ่ายทอดวิชาการ และประสบการณ์ในงานสร้างสุขภาพและป้องกันโรคระหว่างพื้นที่6.1.1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2.1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดการเรียนการสอนระหว่างพื้นที่6.1.1.1ท้องถิ่น/รพ.สต.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่อบรม ความรู้ ความเข้าใจเรื่อง การป้องกันเอดส์ให้ผู้นำชุมชน / แกนนำอสม. / นักเรียนแกนนำ เพื่อขยายงานป้องกันเอดส์สู่ชุมชน6.1.1.2 ท้องถิ่น/รพ.สต. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่อบรม ความรู้ ความเข้าใจเรื่อง โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนแก่ผู้บริหารโรงเรียน6.2.1.1สำนักวิชาการระดับเขต/ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อหาโรงเรียนนวัตกรรมต้นแบบ หรือ Best Practice ที่มีศักยภาพโดดเด่นในเรื่อง การป้องกันเอดส์เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษาดูงานระหว่างกันภายในเครือข่ายและระหว่างเครือข่าย6.2.1.2สำนักวิชาการระดับเขต/ท้องถิ่น อบรม อสม/แกนนำ เรื่องเอดส์และทักษะการถ่ายทอดความรู้6.2.1.3 ท้องถิ่น จัดให้มีระบบจิตอาสา ในการรณรงค์ประเด็นโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.)ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง7.1 สร้างบันทึกข้อตกลงระหว่างสาขา7.1.1 ประชุมตกลงความร่วมมือระหว่างรพ.สต./ท้องถิ่น/ผู้นำชุมชน/อสม.7.1.2 กำหนดประเด็นการป้องกันและแก้ปัญหาพฤติกรรมทางเพศและเอดส์7.1.1.1 สำนักวิชาการส่วนกลาง/เขต ติดตามระดับความสำเร็จ การดำเนินงานตาม มาตรฐานงานเอดส์ของ อปท.7.1.1.2 ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ชี้แจง นโยบาย พรบ./ภารกิจป้องกันเอดส์ของ อปท.7.1.2.1สำนักวิชาการส่วนกลางและเขต อบรม ท้องถิ่น เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ต่อการสนับสนุนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ของแกนนำ ภาคี และองค์กรในชุมชน7.1.2.2 ท้องถิ่นบรรจุเรื่อง เอดส์อยู่ในแผนยุทธศาสตร์ตำบลและมีการผลักดันให้เป็นนโยบายอย่างต่อเนื่อง<br />การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่สำคัญของ<br />แผนปฏิบัติการพื้นฐาน (Road Map) พ.ศ. 2553 - 2554<br />(สำหรับฝ่ายวิชาการ) <br />ประเด็นเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง<br />015557500<br />ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย : คือ ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ซึ่งประกอบด้วย 1) กลุ่มปกติ อายุ 15 ปีขึ้นไป 2) กลุ่มเสี่ยง อายุ 35 ปีขึ้นไป 3) กลุ่มป่วย ด้วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง<br />กระบวนทัศน์/พฤติกรรมที่จะเปลี่ยน : คือ 1) การออกกำลังกาย อย่างน้อยวันละ 30 นาที/วัน จำนวน 5 วันต่อสัปดาห์ 2)การรับประทานอาหาร เพิ่มการรับประทานผัก และผลไม้ ให้ได้ 5 ส่วน หรือ ทัพพี/วัน และลดการรับประทานอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม) 3)การจัดการภาวะเครียด / ซึมเคร้า โดยการฝึกหายใจช้า 10 ครั้ง / นาที หรือการฝึกสมาธิ หรือขอคำปรึกษาจากนักจิตวิทยา 4)การงดสูบบุหรี่ หรือหลีกเลี่ยงควันบุหรี่ 5) การงดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ <br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1 พัฒนาระบบติดตาม ประเมิน และจัดการเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/นวัตกรรมพฤติกรรม1.1.1 ติดตามพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายด้วยตัวชี้วัดที่เหมาะสม ประกอบด้วย- กลุ่มปกติอายุ 15 ปีขึ้นไป- กลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป- กลุ่มผู้ป่วย1.1.2 ติดตามประเมินกระบวนการที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม1.1.3 แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม1.1.1.1 กรมวิชาการสนับสนุนคู่มือแนวทางการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ1.1.1.2 รพ.สต. ร่วมกับชุมชนติดตามพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายด้วยตัวชี้วัดที่เหมาะสมในกลุ่มปกติอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง1.1.1.3 รพ.สต. ร่วมกับชุมชนติดตามพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไปอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 1.1.1.4 รพ.สต. ร่วมกับชุมชนติดตามพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มผู้ป่วยตามแผนการรักษา 1.1.1.5 รพ.สต. ใช้คู่มือ/แนวทางปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้าน 3 อ. 2 ส. / การให้การปรึกษา1.1.1.6 กรมวิชาการร่วมกับจังหวัด จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ1.1.1.7 กรมวิชาการร่วมกับพื้นที่ติดตามการดำเนินงานเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน2.1 ปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่น ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.2 พัฒนาแผนงาน/โครงการใหม่ที่ริเริ่มและดำเนินการโดยชุมชน2.1.1 สร้างโครงการชุมชนด้วยรายละเอียดจากแผนปฏิบัติการ (Micro-SLM)/ ตาราง 11 ช่อง2.1.2 ยืนยันว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับผล (อานิสงค์)จากโครงการชุมชนที่สนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรมสร้างโครงการของชุมชนใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่องสัมพันธ์กัน2.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนให้ท้องถิ่น/ตำบล ใช้ SLM ในการจัดทำแผนงานชุมชน2.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนให้รพ.สต./ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนพัฒนาศักยภาพแกนนำให้ใช้ข้อมูลเฝ้าระวังในการวางแผนงานโครงการชุมชน และปรับแผนงานทุกครึ่งปี2.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต/ จังหวัด สนับสนุนรพ.สต./ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนให้เกิดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานจัดทำโครงการในพื้นที่3. ชุมชนมีมาตรการทางสังคม3.1 พัฒนาบทบาทการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยท้องถิ่น/ชุมชน3.1.1 อปท. ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ3.1.2 สร้างระบบกาควบคุมติดตามและประเมินผลการใช้มาตรการสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนให้ท้องถิ่น/รพ.สต. วิเคราะห์ข้อมูล/นำเสนอข้อมูลพฤติกรรมสุขภาพให้ อปท. / ชุมชน3.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัดสนับสนุนให้ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์สร้างมาตรการทางสังคม3.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัดสนับสนุนสื่อเพื่อการรณรงค์เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม 3.1.1.4 รพ.สต. ให้มีข้อตกลงร่วมกันกับประชาชนในชุมชนในเรื่องการดูแลสุขภาพด้าน 3 อ. 2 ส.4. ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองที่มีประสิทธิภาพ4.1 พัฒนาคณะ อสม. / แกนนำ ให้สามารถคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาทางสุขภาพและสภาวะแวดล้อม4.1.1 ท้องถิ่นมอบอำนาจให้คณะอสม./แกนนำสร้างและดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง4.1.2 คณะ อสม./แกนนำ รับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคัดกรอง/เฝ้าระวังที่ โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน4.1.3 สร้างระบบการประเมิน/สนับสนุนบทบาทของ อสม. ในการดำเนินการคัดกรอง4.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนแนวทางและเครื่องมือการคัดกรอง/เฝ้าระวังตามแบบVerbal Screening /แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม และ 9 คำถาม 4.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพอสม./แกนนำในการดูแลเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อ้วนลงพุง โรคซึมเศร้า4.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต/จังหวัด สนับสนุนแนวทาง / วิชาการในการจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพของประชาชน5. มีระบบสื่อสารสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ5.1 สร้างระบบการสื่อสารเกี่ยวกับสุขภาพ/สภาวะแวดล้อมและการจัดการนวัตกรรม5.1.1 ใช้ประโยชน์จากสื่อสาธารณะและสื่อบุคคลเพื่อการสื่อสารเชิงการจัดการสุขภาพ/นวัตกรรม5.1.2 ปรับปรุงกระบวนการเทคนิค สร้างอุปกรณ์/ที่มีประสิทธิภาพ5.1.3 สร้างนวัตกรรมด้านการสื่อสารสู่กลุ่มเป้าหมาย5.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนเอกสารความรู้และสื่อ (แผ่นพับ ซีดี) ด้าน 3 อ. 2ส. และสุขภาพจิตให้ท้องถิ่น / รพ.สต. 5.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพอสม. / แกนนำด้านการสื่อสารและประชาสัมพันธ์5.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนให้มีเวทีประกวดนวัตกรรมสื่อสารด้านสุขภาพชุมชน6. บุคลากร/แกนนำนำ มีสมรรถนะที่เหมาะสม6.1 สร้างโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.2 เปิดการถ่ายทอดวิชาการและประสบการณ์ในงานสร้างสุขภาพและป้องกันโรคระหว่างพื้นที่6.1.1 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.2 บริหารจัดการเพื่อให้เกิดการเรียน การสอนระหว่างพื้นที่6.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนการสร้างวิทยากรระดับอำเภอและทีมงานเพื่อการดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนหลักสูตรและคู่มือในการเรียนการสอนของโรงเรียน นวัตกรรมสุขภาพชุมชน6.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดเป็นที่ปรึกษา และสนับสนุนวิทยากรระดับจังหวัดให้โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(อปท.) ร่วมตัดสินใจขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง7.1 สร้างบันทึกข้อตกลงระหว่างสาขา7.1.1 ประชุมตกลงความร่วมมือระหว่าง รพ.สต./ท้องถิ่น/ผู้นำชุมชน/ สมอ.7.1.2 กำหนดประเด็นสุขภาพและสภาวะแวดล้อมบันทึกข้อตกลง7.1.1.1 กรมวิชาการเสนอเครื่องมือคัดกรองสุขภาพให้ อปท.7.1.1.2 กรมวิชาการเสนอแผนงานด้านสุขภาพ ระดับชาติ / ระดับภาคให้อปท.7.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต / จังหวัดสนับสนุนให้มีการจัดทำแผนงาน/โครงการ (P&P) <br />การนิยามเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ที่สำคัญของ<br />แผนปฏิบัติการพื้นฐาน (Road Map) พ.ศ. 2553 - 2554<br />(สำหรับฝ่ายวิชาการ) <br />ประเด็นอาหารปลอดภัย<br />08890000<br />ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย : คือ กลุ่มผู้บริโภค กลุ่มผู้ประกอบการ<br />กระบวนทัศน์/พฤติกรรมที่จะเปลี่ยน : คือ 1) กลุ่มผู้บริโภค :มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการ 2) กลุ่มผู้ประกอบการ : ผลิต จำหน่ายอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าทางโภชนาการแก่ผู้บริโภค<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ1.1.2 ติดตาม ประเมิน กระบวนการที่นำไปสู่การปรับกระบวนทัศน์และพฤติกรรม1.1.3 แลกเปลี่ยนประสบการณ์การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์พฤติกรรมบริโภคอาหาร และการผลิตจำหน่ายอาหารที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพแก่ชุมชน1.1.2.1 หน่วยงานส่วนกลางจัดทำคู่มือ แนวทางการดำเนินงาน และสื่อ ในการดำเนินงานโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารแก่ชุมชน 1.1.2.2 หน่วยงานส่วนกลางจัดทำคู่มือแนวทางการดำเนินงาน และสื่อ ในการวัดผลกระบวนการ การจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารแก่ชุมชน และวิธีการสรุปบทเรียน1.1.3.1 หน่วยงานส่วนกลางจัดทำเกณฑ์พื้นฐานในการค้นหาบุคคลต้นแบบเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้1.1.3.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริมการสร้างแกนนำชุมชนให้มีศักยภาพในการชักชวนให้คนในชุมชนสนใจการ<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรมเพิ่มขึ้น1.1.3.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริมให้ชุมชนจัดเวทีสาธารณะเพื่อสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูลความปลอดภัยด้านอาหาร และพฤติกรรมการบริโภคและสุขภาพชุมชน1.1.3.4 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และศึกษาดูงานกับชุมชนที่ประสบความสำเร็จในการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรมเพิ่มขึ้น2.ชุมชนมีโครงการ ของชุมชนโดย ชุมชน2.1 ปรับกระบวนการสร้างแผนตำบล/ท้องถิ่นให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ2.1.1 สร้างโครงการชุมชนด้วยรายละเอียดจากตาราง 11 ช่อง2.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสร้างความรู้ ความเข้าใจการจัดทำแผนชุมชนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของชุมชนและบูรณาการโดยใช้ (Micro-SLM) ตาราง 11 ช่อง(เพื่อให้ชุมชนเข้ามาร่วมจัดทำแผนวิเคราะห์ปัญหาตั้งแต่แหล่งผลิตถึงโต๊ะอาหารคือตลอดห่วงโซ่อาหาร)<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ2.2. สร้างแผนงาน/โครงการใหม่ที่ริเริ่มและดำเนินการโดยชุมชน2.1.2 ยืนยันว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับผลประโยชน์จากโครงการชุมชนที่สนับสนุนการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์/พฤติกรรม2.2.1 สร้างโครงการชุมชนใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง สัมพันธ์กัน*โครงการที่เกี่ยวข้องกับโรคเรื้อรังในชุมชนจาพฤติกรรมการบริโภค* โครงการทำปุ๋ยอินทรีย์จากเศษอาหาร*โครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัย*โครงการลดภาวะโลกร้อน*โครงการส่งเสริมการใช้เกลือไอโอดีนในชุมชน*โครงการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยโดยใช้ชุดทดสอบ<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ3. ชุมชนมีมาตรการทางสังคม3.1 พัฒนาบทบาทการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมโดยท้องถิ่น/ชุมชน3.1.1 ท้องถิ่น/รพ.สต.มอบอำนาจและสนับสนุนให้ท้องที่สร้างและดำเนินมาตรการทางสังคม3.1.1.1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบอำนาจและสนับสนุนให้ชุมชนสร้างและดำเนินมาตรการทางสังคม โดยให้ผู้นำชุมชน และ อสม. มีบทบาท ร่วมกันในการสร้างและใช้มาตรการด้านสังคมของชุมชน 3.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนหลักเกณฑ์มาตรฐาน ข้อมูลด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอาหารปลอดภัยให้กับชุมชนเพื่อให้สามารถกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานร่วมกัน3.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหาร<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ3.1.2 สร้างระบบการควบคุม ติดตาม ประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคมสำหรับกลุ่มเป้าหมาย3.1.1.4 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมวิเคราะห์และสรุปผลข้อมูลการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารโดยชุมชน โดยระบุความเสี่ยงที่ชัดเจน3.1.2.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ชุมชนสร้างเครื่องมือ และวิธีการในการติดตามประเมินผลการสร้างและใช้มาตรการทางสังคม3.1.2.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ชุมชนติดตามประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคม3.1.2.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ชุมชนสร้างเครื่องมือ และวิธีการในการติดตามประเมินผลการสร้างและใช้มาตรการทางสังคมเป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ4. ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง/คัดกรองที่มีประสิทธิภาพ4.1 พัฒนาคณะอสม./แกนนำให้สามารถคัดกรอง/เฝ้าระวังปัญหาทางสุขภาพและสภาวะแวดล้อม4.1.1 ท้องถิ่นมอบภารกิจให้คณะอสม./แกนนำสร้างโครงการและดำเนินงานคัดกรอง/เฝ้าระวัง3.1.2.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ชุมชนติดตามประเมินผลการใช้มาตรการทางสังคม4.1.1.1 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนให้ อสม. เข้าใจบทบาทของตนเองในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมในชุมชน4.1.1.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนความรู้ในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารและคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมในชุมชนแก่ อสม.4.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนองค์ความรู้ความปลอดภัยด้านอาหารและ<br />เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์กลยุทธ์สำคัญกิจกรรมสำคัญ(เปลี่ยนไปตามเวลา)มาตรการทางวิชาการ4.1.2 คณะ อสม./แกนนำรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาระบบคัดกรอง/เฝ้าระวังที่โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชนโภชนาการแก่ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค 4.1.1.4 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการให้ความรู้เรื่องการตรวจสอบการโฆษณาแก่ผู้บริโภค4.1.2.1 หน่วยงานส่วนกลางจัดทำคู่มือการเฝ้าระวังและประเมินความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการ4.1.2.2 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนวิทยากรและอุปกรณ์ในการอบรมการใช้ชุดทดสอบความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการแก่ อสม. โภชนาการที่เหมาะสมในชุมชนแก่ อสม.4.1.1.3 ศูนย์วิชาการระดับเขต สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนองค์ความรู้ความปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการแก่ผู้ประกอบ�